เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ที่เค้าบรรยายไว้ใต้รูปคือ

    Coronal holes are places where the sun's magnetic field opens up and allows the solar wind to escape. A stream of solar wind flowing from this coronal hole is expected to reach Earth on April 30th-May 1st. NOAA forecasters estimate a 35% chance of geomagnetic activity at that time.


    มันจะทำให้เกิด พายุสุริยะ, อากาศแปรปรวน หรือ ถ้ามีมวลก็แผ่นดินไหวอ่ะจ้า
    แต่ดูๆ ช่องมันใหญ่มากเลย แล้วมันอยู่ตรงกลาง คือว่า มันตรงๆ กับแถบๆ เส้นศูนย์สูตร ก็คาดว่า มันจะทำให้บ้านเราอากาศแปรปรวน อาจมีพายุ ฝน หรืออะไรต่างๆ หรือ แผ่นดินไหวอ่ะ

    แต่มันค่อนข้างใหญ่ เกรงว่าจะเกิดอะไรใหญ่ๆ (ความเห็นของ Falkman) เลยคาดว่า 30 เมษา - ประมาณ 3-4 พค น่าจะมีการเตรียมตัวเป็นพิเศษจ้า :cool:
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    April 29, 2011

    Diagram of the solar flare activity

    X-ray emission of the Sun from 28.04.2011 to 29.04.2011 (GOES-15)
    [​IMG]

    Solar flares today

    Today, 1 solar flare was observed:

    <table class="table_4" width="750" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th width="1%" align="left"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C3.8</td> <td class="center">0</td> <td class="center">00:17:00</td> <td class="center">00:26:00</td> <td class="center">00:33:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height: 8px;">
    </td> </tr> </tbody></table>
    Solar flares yesterday

    Yesterday, 3 solar flares were observed:

    <table class="table_4" width="750" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th width="1%" align="left"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.0</td> <td class="center">1196</td> <td class="center">02:32:00</td> <td class="center">02:40:00</td> <td class="center">02:46:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height: 8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.4</td> <td class="center">1199</td> <td class="center">11:51:00</td> <td class="center">11:58:00</td> <td class="center">12:03:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height: 8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.1</td> <td class="center">0</td> <td class="center">12:39:00</td> <td class="center">12:47:00</td> <td class="center">12:51:00</td></tr></tbody></table>
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    27 เมษายน


    มีพลังงาน X-ray ระดับ C-2 ในเวลา 2:33 UTC และในเวลา 4 UTC เกิดเหตุระเบิดระดับปานกลาง ในด้านเดียวกับโลก นอกจากนั้นยัง


    เกิดเหตุระเบิดขนาด กลาง-ใหญ่ที่ดวงอาทิตย์ เวลา 10:09 UTC ทิศทางไปทางด้านหลังไม่โดนโลก คาดว่าโลกจะได้รับผลกระทบระดับปานกลาง ในวันที่ 30 เมษายน - 1 พฤษภาคม ในรูปแบบของแผ่นดินไหว หรือสภาพอากาศแปรปรวน
    เหตุการณ์ครั้งนี้ อยู่ในช่วงที่มีดาวเคราะห์เรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ Elenin และดาวยูเรนัส เพื่อพิสูจน์ในเรื่องนี้คงต้องติดตามต่อไปว่าเหตุการณ์รูปแบบนี้จะเกิดซ้ำ อีกหรือไม่ในอนาคต


    [​IMG]
    นอกจากนั้นยังมีจุดดับเกิดใหม่ 1199 ที่กำลังขยายตัวมากขึ้น บ่งบอกถึงพายุสุริยะที่มีทิศทางมาที่โลก Spaceweather.com Time Machine


    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 21 เมษายน - 2 พฤษภาคม คศ 2011 : update 29 เมษายน 2:41 UTC | Truth4Thai.org




    [​IMG]
     
  4. ไทยคนหนึ่ง

    ไทยคนหนึ่ง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2011
    โพสต์:
    237
    ค่าพลัง:
    +50
    น้องสาวจะไปเกาะสมุยพรุ่งนี้พอดี เลือกวันได้ดีเจงๆ :(
     
  5. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ส่งท้ายเดือนเมษา..ด้วยข่าวนี้ค่ะ

    พัทลุง 29 เม.ย.- ผู้สื่อข่าวรายงานสภาพอากาศในพื้นที่จังหวัดพัทลุงว่า ช่วงบ่ายวันนี้ (29 เม.ย.) เกิดพายุงวงช้างก่อตัวขึ้นกลางทะเลสาบสงขลาตอนใน เขตพื้นที่ทะเลน้อย หมู่ 4 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน ส่งผลให้น้ำหมุนกระจายเป็นบริเวณกว้าง และพายุเคลื่อนตัวเข้าฝั่งอย่างช้า ๆ ขณะที่ชาวประมงล่องเรือหาปลาอยู่ในทะเลสาบและกลุ่มนักท่องเที่ยวที่พายเรือคยัคอยู่ริมทะเลบริเวณคลองปากประรีบกลับเข้าฝั่งอย่างรวดเร็ว เพราะเกรงว่าจะได้รับอันตราย โดยพายุงวงช้างที่เคลื่อนตัวเข้าฝั่งใช้เวลาประมาณ 15 นาที และสลายตัวไปในระยะ 1 กิโลเมตร ก่อนถึงฝั่ง เบื้องต้นยังไม่มีรายงานความเสียหาย จากการสอบถามนายสุภเศรษฐ โอภิชากรณ์ เจ้าของธุรกิจในพื้นที่ดังกล่าว และเป็นผู้บันภาพพายุไว้ได้ กล่าวว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ชาวบ้านวิตก เพราะกลัวจะพัดถึงบ้านเรือนชายฝั่ง เพราะก่อนหน้านี้เกิดพายุพัดบ้านเรือนเสียหายมาแล้ว และพายุงวงช้างในทะเลสาบก็ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน. -สำนักข่าวไทย


    http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/202605.html
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. vichai2500

    vichai2500 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    600
    ค่าพลัง:
    +2,877
    มาแล้ว
    GEOMAGNETIC STORM: A solar wind stream hit Earth's magnetic field during the early hours of April 30th, sparking a high-latitude geomagnetic storm (slowly subsiding). In the United States, auroras descended as far south as Marquette, Michigan. Earth is inside a solar wind stream flowing from the indicated coronal hole. The solar wind speed is high and gusty, and NOAA forecasters estimate a 40% chance of more geomagnetic activity during the next 24 hours. –Space Weather
     
  7. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    เมษาที่จบไปหลายภาคโดนพายุเล่นงานสะบักสะบอมกันหลายจังหวัด
    โดยเฉพาะอิสานบ้านเรือนพังเสียหายไปหลายจังหวัด ภาคใต้ก็โดนน้ำเข้าไปตอนต้นเดือน
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 3-15 พฤษภาคม คศ 2011 : update 4 พฤษภาคม

    ระดับความรุนแรง: ปานกลาง-มาก
    ช่วงเวลา:Tue, 2011-05-03 - Sun, 2011-05-15


    คำเตือน บทความนี้เขียนขึ้นมาเพื่อทดลองระบบแจ้งเตือนภัยพิบัติ อีกครั้ง แม้ผลการทดลองในปี 2011 ได้ผลเป็นตามที่ได้ตั้งสมมติฐาน และคำนวณไว้ แต่มีความจำเป็นต้องทดลองอย่างต่อเนื่องเพื่อเก็บสถิติในใช้ในการยืนยันความ ถูกต้องและแก้ไขข้อผิดพลาดอีกที ในช่วงเวลาคาดการณ์นี้ เราอาจจะเห็นปฏิกริยาดวงอาทิตย์เพิ่มสูงขึ้น และผลกระทบต่อโลกน่าจะเห็นได้ชัดในช่วงวันที่ 9-14 พฤษภาคม


    วันที่ 3 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 180 องศา ในเวลาประมาณ 9 UTC
    [​IMG]


    3 พฤษภาคม เวลา 9 UTC
    นอกจากนั้นยังมีการเรียงตัวระหว่าง ดาวพุธ ดวงอาทิตย์ และ ทางช้างเผือก ในแนวเดียวกัน เวลาประมาณ 21 UTC ซึ่งคาดว่า ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาระดับปานกลางในช่วงนี้ และอาจจะส่งผลกระทบต่อโลกประมาณวันที่ 6-8 พฤษภาคม ขึ้นอยู่กับทิศทางและขนาดของพายุสุริยะ วันที่ 3-4 พฤษภาคม อาจจะมีผลกระทบเกี่ยวกับแผ่นดินไหวซึ่งคงต้องติดตามสถานการณ์ในช่วงนั้นอีกที

    วันที่ 6 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ทางช้างเผือก ในแนว 45 องศา ซึ่งอาจจะต้องจับตาดูปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นพิเศษ

    วันที่ 9 พฤษภาคม เวลาประมาณ 14 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดาวพุธ และ ดาววีนัส
    [​IMG]
    วันที่ 10 พฤษภาคม เวลา 16 UTC มีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวพฤหัส ในแนว 90 องศา และ ยังมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดวงอาทิตย์ ในแนว 90 องศา ซึ่งคาดว่าจะเป็นช่วงวันที่เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่ และ อาจเป็นช่วงที่โลกจะมีแผ่นดินไหวขนาด เกิน 6.4 ริตเตอร์ เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 9-11 พฤษภาคม ด้วยความน่าจะเป็น 90%

    [​IMG]


    [​IMG]
    10 พฤษภาคม เวลา 19 UTC

    หลังจากนั้นประมาณ 3-4 วัน พายุสุริยะจากการระเบิดที่ดวงอาทิตย์ในวันที่ 8-9 พฤษภาคมจะมาที่โลก ซึ่งอาจจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวนในระหว่างวันที่ 12-14 พฤษภาคม ด้วยความน่าจะเป็น 85%
    เหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์

    วันที่ 1 พฤษภาคม เวลา ประมาณ 19 UTC เกิด เหตุระเบิดระดับปานกลางทิศทางฝั่งเดียวกับโลก คาดว่าจะส่งผลในระดับปานกลางในวันที่ 3-5 พฤษภาคม ในรูปแบบของแผ่นดินไหว และสภาพอากาศแปรปรวนในระดับปานกลาง
    [​IMG]
    วันที่ 2 พฤษภาคม เวลาประมาณ 21 UTC เกิดการระเบิดระดับปานกลาง ทิศทางมาทางโลกขนาดว่าจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับปานกลาง ในวันที่ 6-8 พฤษภาคม ขนาดระหว่าง 6.2-7.2 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 90% นอกจากนั้นยังเริ่มสังเกตุเห็นแนวปฏิกริยาสูงขนาดใหญ่เคลื่อนตัวมาเรียงกับ โลก คาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 4-11 พฤษภาคม
    [​IMG]
    วันที่ 3 พฤษภาคม เกิดเหตุระเบิดที่ดวงอาทิตย์ขนาดปานกลางทิศทางมาทางโลก ซึ่งจะส่งผลกระทบระหว่างวันที่ 6-8 พฤษภาคม
    [​IMG]

    <TABLE style="WIDTH: 375pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500><COLGROUP><COL style="WIDTH: 128pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 6087" width=171><COL style="WIDTH: 89pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 4209" width=118><COL style="WIDTH: 91pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 4323" width=122><COL style="WIDTH: 67pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 3157" width=89><TBODY><TR style="HEIGHT: 15.6pt" height=21><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 217pt; HEIGHT: 15.6pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0; mso-ignore: colspan" class=xl65 height=21 width=289 colSpan=2>สรุปเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 91pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0" width=122></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 67pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0" width=89></TD></TR><TR style="HEIGHT: 13.8pt" height=18><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 13.8pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0" class=xl66 height=18></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0"></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0"></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0"></TD></TR><TR style="HEIGHT: 37.2pt; mso-height-source: userset" height=50><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #dddddd 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 128pt; HEIGHT: 37.2pt; BORDER-TOP: #dddddd 1pt solid; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl68 height=50 width=171 align=left>เหตุการณ์</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 89pt; BORDER-TOP: #dddddd 1pt solid; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=118 align=left>ระดับความรุนแรงที่ดวงอาทิตย์</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 91pt; BORDER-TOP: #dddddd 1pt solid; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=122 align=left>ผลกระทบต่อโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 67pt; BORDER-TOP: #dddddd 1pt solid; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=89 align=left>ระดับความรุนแรงที่โลก</TD></TR><TR style="HEIGHT: 31.2pt; mso-height-source: userset" height=42><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #dddddd 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 128pt; HEIGHT: 31.2pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl70 height=42 width=171 align=left>พายุสุริยะ 1/5/11 19 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 89pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl67 width=118 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 91pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl67 width=122 align=left>4-5 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 67pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl67 width=89 align=left>ปานกลาง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 40.2pt; mso-height-source: userset" height=54><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #dddddd 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 128pt; HEIGHT: 40.2pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl68 height=54 width=171 align=left>พายุุสุริยะ 2/5/11 21UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 89pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=118 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 91pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=122 align=left>6-7 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 67pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=89 align=left>ปานกลาง-มาก</TD></TR><TR style="HEIGHT: 30.6pt; mso-height-source: userset" height=41><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #dddddd 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 128pt; HEIGHT: 30.6pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl71 height=41 width=171 align=left>พายุสุริยะ 3/5/11 19 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 89pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=118 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 91pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=122 align=left>6-8 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #dddddd 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 67pt; BORDER-TOP: #dddddd; BORDER-RIGHT: #dddddd 1pt solid" class=xl69 width=89 align=left>ปานกลาง-มาก</TD></TR></TBODY></TABLE>

    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 3-15 พฤษภาคม คศ 2011 : update 4 พฤษภาคม | Truth4Thai.org
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤษภาคม 2011
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 16-31 พฤษภาคม คศ 2011

    ระดับความรุนแรง: มาก ช่วงเวลา: Sun, 2011-05-15 - Thu, 2011-06-02



    คำเตือน บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถประสงค์ในการแจ้งเตือนภัยพิบัติที่มีสาเหตุมา จากนอกโลก ซึ่งยังอยู่ในช่วงของการทดลองเก็บสถิติเพิ่มความเที่ยงตรงในการคาดการณ์ นอกจากนั้นแล้วเรายังนำวิธีของ ดร Mensur Omerbashich มาใช้เสริมในการคาดการณ์อีกด้วย ผู้ที่มีหน้าทีรับผิดชอบด้านการเตือนภัย โปรดติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติในช่วงนี้มากเป็นพิเศษ สถานการณ์อาจจะมีความต่อเนื่องจนถึงต้นเดือน มิถุนายน ซึ่งจะนำมาเสนอในครั้งต่อไป ถ้าการคาดการณ์มีการผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


    เหตุการณ์ในช่วงจะเริ่มจากวันที่ 17 พฤษภาคม ซึ่งมีการเรียงตัวระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ในแนว 0 องศา นอกจากนั้นแล้ว โลก ดาวศุกร์ และ ดาวพุธ ยังมีการเรียงตัวอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม จนถึง 18 พฤษภาคม คาดว่าจะเป็นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูง อย่างต่อเนื่อง และจะมีผลกระทบต่อโลกในรูปแบบของแผ่นดินไหวขนาด 6.2-7.5 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 85%


    [​IMG]
    ในวันที่ 19 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ทางช้างเผือก ในแนว 135 องศา เช่นเดียวกับ ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ และ ดาวพุธ ในแนว 90 องศา คาดว่าจะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูงสุด และจะส่งพลังงานที่จะมีผลต่อโลกในวันที่ 21-23 พฤษภาคม โดยเฉพาะในรูปแบบของแผ่นดินไหวขนาด ระหว่าง 6.3 - 8 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 95%
    [​IMG]
    19 พฤษภาคม

    วันที่ 21 พฤษภาคม มีจะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวหาง Elenin และ ดาวศุกร์ คาดว่าจะเกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่อีกเช่นกัน และอาจส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 23-25 พฤษภาคม ซึ่งอาจจะมีทั้งรูปแบบแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวน
    [​IMG]


    วันที่ 23 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดาวพุธ ซึ่งในช่วงนี้อาจจะมีโอกาสสูงที่จะเกิดแผ่นดินไหวระหว่าง 6.5 - 8.5 ริตเตอร์ และปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ ที่อาจจะส่งผลต่อโลกในวันที่ 26-28 พฤษภาคม ขึ้นอยู่กับทิศทางของพลังงาน


    [​IMG]
    23 พฤษภาคม




    วันที่ 24 พฤษภาคม เวลาประมาณ 18 UTC จะมีเหตุการณ์ดาวเคราะห์เรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 90 องศา
    [​IMG]
    หลังจากนั้นคาดว่าปฏิกริยาดวงอาทิตย์จะลดลงบ้างและอาจจะ มีปฏิกริยาสูงขึ้นอีกในวันที่ 29 พฤษภาคม ซึ่งจะมีการเรียงตัวระหว่างดวงอาทิตย์ ดาวเสาร์ และ ดาววีนัส ซึ่งคาดว่า ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาระดับสูง ซึ่งอาจจะส่งพลังงานมาที่โลกในวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน
    [​IMG]
    29 พฤษภาคม
    สถานการณ์ที่ดวงอาทิตย์

    วันที่ 2 พฤษภาคม เราเริ่มสังเกตุเห็นแนวปฏิกริยาสูงที่ดวงอาทิตย์ ซึ่งจะโคจรมาเรียงตัวกับโลกประมาณวันที่ 15-17 พฤษภาคม
    [​IMG]
    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 16-31 พฤษภาคม คศ 2011 | Truth4Thai.org
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    สรุปเรื่องดาวเรียงตัวเดือนพฤษภาคม

    <TABLE style="WIDTH: 753pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=1004><COLGROUP><COL style="WIDTH: 157pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 8384" width=210><COL style="WIDTH: 596pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 31776" width=794><TBODY><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 157pt; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl65 height=31 width=210 align=left>วันที่ 9 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 596pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl66 width=794 align=left>เวลาประมาณ 14 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดาวพุธ และ ดาววีนัส</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl67 height=31 align=left>วันที่ 10 พฤษภาคม </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl68 align=left>เวลา 16 UTC มีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวพฤหัส ในแนว 90 องศา </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl69 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left>และ ยังมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดวงอาทิตย์ ในแนว 90 องศา</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl71 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl72 align=left> ซึ่งคาดว่าจะเป็นช่วงวันที่เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl73 height=31 align=left>9-11 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl74 align=left> และ อาจเป็นช่วงที่โลกจะมีแผ่นดินไหวขนาด เกิน 6.4 ริตเตอร์ เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 9-11 พฤษภาคม ด้วยความน่าจะเป็น 90%</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl67 height=31 align=left>ในวันที่ 19 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl68 align=left>จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ทางช้างเผือก ในแนว 135 องศา</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl69 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left> เช่นเดียวกับ ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ และ ดาวพุธ ในแนว 90 องศา คาดว่าจะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูงสุด </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl75 height=31 align=left> 21-23 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left>และจะส่งพลังงานที่จะมีผลต่อโลกในวันที่21-23 พฤษภาคม โดยเฉพาะในรูปแบบของแผ่นดินไหวขนาด ระหว่าง 6.3 - 8 ริตเตอร์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl71 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl72 align=left>ด้วยความน่าจะเป็น 95%</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl67 height=31 align=left>วันที่ 21 พฤษภาคม </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl68 align=left>มีจะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวหาง Elenin และ ดาวศุกร์ คาดว่าจะเกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่อีกเช่นกัน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl71 height=31 align=left> 23-25 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl72 align=left> และอาจส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 23-25 พฤษภาคม ซึ่งอาจจะมีทั้งรูปแบบแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl67 height=31 align=left>วันที่ 23 พฤษภาคม </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl76 align=left> จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดาวพุธ </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl71 height=31 align=left> 26-28 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 0.5pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl72 align=left> และปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ ที่อาจจะส่งผลต่อโลกในวันที่ 26-28 พฤษภาคม ขึ้นอยู่กับทิศทางของพลังงาน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl67 height=31 align=left>วันที่ 24 พฤษภาคม </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl68 align=left>เวลาประมาณ 18 UTC จะมีเหตุการณ์ดาวเคราะห์เรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 90 องศา</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl69 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left>หลังจากนั้นคาดว่าปฏิกริยาดวงอาทิตย์จะลดลงบ้างและอาจจะ </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl69 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left>มีปฏิกริยาสูงขึ้นอีกในวันที่ 29 พฤษภาคม ซึ่งจะมีการเรียงตัวระหว่างดวงอาทิตย์ ดาวเสาร์ และ ดาววีนัส</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl69 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl70 align=left> ซึ่งคาดว่า ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาระดับสูง ซึ่งอาจจะส่งพลังงานมาที่โลกในวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.4pt" height=31><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; HEIGHT: 23.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 0.5pt solid" class=xl77 height=31> </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BORDER-LEFT: windowtext; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid" class=xl78> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สรุปจาก
    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 16-31 พฤษภาคม คศ 2011 | Truth4Thai.org

    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 3-15 พฤษภาคม คศ 2011 : update 4 พฤษภาคม | Truth4Thai.org

    ข้อสังเกต
    21-23 พฤษภา มีความน่าจะเป็นที่จะเกิดแผ่นดินไหวขนาดระหว่าง6.3-8 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 95%
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์

    วันที่ 1 พฤษภาคม เวลา ประมาณ 19 UTC เกิด เหตุระเบิดระดับปานกลางทิศทางฝั่งเดียวกับโลก คาดว่าจะส่งผลในระดับปานกลางในวันที่ 3-5 พฤษภาคม ในรูปแบบของแผ่นดินไหว และสภาพอากาศแปรปรวนในระดับปานกลาง


    [​IMG]

    วันที่ 2 พฤษภาคม เวลาประมาณ 21 UTC เกิดการระเบิดระดับปานกลาง ทิศทางมาทางโลกขนาดว่าจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับปานกลาง ในวันที่ 6-8 พฤษภาคม ขนาดระหว่าง 6.2-7.2 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 90% นอกจากนั้นยังเริ่มสังเกตุเห็นแนวปฏิกริยาสูงขนาดใหญ่เคลื่อนตัวมาเรียงกับ โลก คาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 4-11 พฤษภาคม


    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 3-15 พฤษภาคม คศ 2011 : update 5 พฤษภาคม | Truth4Thai.org
     
  12. Nat_usp

    Nat_usp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    676
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +2,394
    นาซ่าเตือน ดาวเคราะห์ 2005 YU55 เข้าใกล้โลกมากที่สุด พฤศจิกายนนี้
    [​IMG]
    นาซ่าเตือน ดาวเคราะห์ 2005 YU55 เข้าใกล้โลกมากที่สุด พฤศจิกายนนี้
    Mthai news: สำนักข่าวเดอะซัีน ดยอ้างรายงานขององค์การนาซ่าว่า มีดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ลูกหนึ่งกำลังมุ่งหน้าเข้าใกล้โลก และจะใกล้สู่โลกมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน เป็นที่น่าจับตาว่า จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเราหรือไม่
    ทั้งนี้ รายงานระบุว่าดาวเคราะห์ ลูกดังกล่าวมีชื่อว่า 2005 YU55 มีขนาดความกว้าง 1,300 ฟุต น้ำหนักถึง 55 ล้านตัน โดยนับว่าเป็นวัตถุขนาดใหญ่ที่มุ่งหน้าเข้าใกล้กับโลกมากที่สุด ซึ่งนักดาราศาสตร์กล่าว่า มันจะโคจรผ่านเข้าใกล้โลกในระยะเพียง 201,700 ไมล์ เข้าใกล้ยิ่งกว่าดวงจันทร์ที่เคยโคจรเข้ามาในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ที่โคจรใกล้โลกด้วยระยะทาง 238,857 ไมล์
    [​IMG]
    ภาพเปรียบเทียบระยะห่างระหว่างโลก และดาวเคราะห์ 2005 YU55

    อย่างไรก็ตาม นักดาราศาสตร์ส่วนหนึ่งกล่าวว่า มีความเสี่ยงที่มันจะเกิดการชนโลก เพราะด้วยระยะทางที่ใกล้โลกมากกว่าที่เคยมีมา จะเกิดแรงระเบิด ถึง 65,000 อะตอม อาจทำโลกให้เกิดร่องรอยความเสียหายกว้าง 6 ไมล์ และมีความลึก2 พันฟุต
    [​IMG]

    นายโรบิน สแกเจลล หนึ่งในกลุ่มนักดาราศาสตร์ กล่าวว่า โอกาสเช่นนี้หายากมากที่เราจะเห็นอุกกาบาตโคจรใกล้เข้าโลกมากที่สุด หากไม่เกิดความผิดพลาดที่มันโคจรมาชนโลก จะได้เห็นและสังเกตพื้นผิวขอดาวเคราะห์ว่าเป็นอย่างไร มนุษย์สามารถมองเห็นได้โดยเครื่องส่องทางไกล ประมาณวันที่ 8 พฤศจิกายนนี้

    นาซ่าเตือน ดาวเคราะห์ 2005 YU55 เข้าใกล้โลกมากที่สุด พฤศจิกายนนี้ - ข่าวต่างประเทศ, ข่าวเด่นประ
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จับตาดูพระจันทร์ 6-8 พฤษภาคม:cool:

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 พฤษภาคม 2011
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]METEORS FROM HALLEY'S COMET: [/FONT] Earth is entering a streaam of debris from Halley's Comet, source of the annual eta Aquarid meteor shower. People who wake up before sunrise on Friday morning, May 6th--that's tomorrow morning--could see between 10 and 40 meteors per hour as bits of Halley's comet disintegrate in the atmosphere. [full story] [[ame="http://www.youtube.com/watch?v=4nH_mAObnZc"]video[/ame]] [meteor radar] [NASA chat]

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    โลกโคจรไปอยู่ในพื้นที่ของหางดาวหางฮัลเลย์ ดาวตกจากหางของดาวหางฮัลเลย์ ถ้าคุณตื่นขึ้นมาดูตอนเช้าวันที่ 6 พค จะเห็นฝนดาวตกประมาณ 10-40 ลูกต่อช่วโมงเลยทีเดียว
     
  15. Nat_usp

    Nat_usp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    676
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +2,394
    65,000 อะตอม

    อะตอม ในที่นี้หมายถึง อะตอมมิคบอมบ์ ( ระเบิดปรมณู ) ครับ

    แรงระเบิดของปรมาณู 1 ลูกเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 13,000 ตัน

    ฉะนั้นแรงระเบิด 65,000 อะตอมฯ คือ


    แรงระเบิดเทียบเท่าระเบิดปรมณู65,000 ลูก

    หรือเทียบเท่าระเบิดทีเอ็นที 845,000,000 ตัน
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]A FIREBALL THE SIZE OF EARTH: [/FONT] "When the sun rose on May 2nd, I was surprised to see a fully detached fireball prominence at the southwestern edge of the solar disk," reports amateur astronomer Jan Timmermans of Valkenswaard, The Netherlands. "Just imagine, a ball of fire with the size of the Earth thrown high in the solar skies!"
    [​IMG]
    "I was stunned," he continues. "The prominence was rather faint, so I had to use a lot of gain to capture it, hence the noise: 'more gain = more grain.' But I am pleased that I captured it!"
     
  17. sug552

    sug552 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    563
    ค่าพลัง:
    +250



    เรากลัวว่ามันจะพุ่งมาชนโลก หรือเฉียดโลก แล้วถ้ามันไม่ชนโลก เกิดหักหลบเลี้ยวไปหาดวงจันทร์แทนล่ะ ? จะเกิดอะไรขึ้น ?

    - เศษดวงจันทร์
    - ระบบน้ำขึ้นลงหายไป
    - ข้างขึ้นข้างแรมหายไป กลางคืนจะมีแต่ความมืด

    นอกนั้นยังนึกไม่ออกครับ
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมื่อกี้พระอาทิตย์ระเบิดค่อนข้างรุนแรง ดูไปอีกสามวัน

    [​IMG]
    <table class="table_4" width="750" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><th width="1%" align="left"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.4</td> <td class="center">1210</td> <td class="center">05:11:00</td> <td class="center">05:16:00</td> <td class="center">05:18:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1210</td> <td class="center">17:31:00</td> <td class="center">17:41:00</td> <td class="center">17:48:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C5.4</td> <td class="center">0</td> <td class="center">20:42:00</td> <td class="center">20:59:00</td> <td class="center">21:19:00</td></tr></tbody></table>
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <TABLE style="WIDTH: 629pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=840><COLGROUP><COL style="WIDTH: 251pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 11918" width=335><COL style="WIDTH: 148pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 6997" width=197><COL style="WIDTH: 115pt" span=2 width=154><TBODY><TR style="HEIGHT: 15pt" height=20><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #e6b9b8; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 15pt; BORDER-TOP: black 1pt solid; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl76 height=20 width=335>เหตุการณ์</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: #e6b9b8; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black 1pt solid; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl77 width=197>ระดับความรุนแรงที่ดวงอาทิตย์</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: #e6b9b8; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black 1pt solid; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl77 width=154>ผลกระทบต่อโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: #e6b9b8; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black 1pt solid; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl78 width=154>ระดับความรุนแรงที่โลก</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl72 height=19 width=335 align=left>พายุสุริยะ 1/5/11 19 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl73 width=197 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl74 width=154 align=left>5-8 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl75 width=154 align=left>ปานกลาง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl69 height=19 width=335 align=left>พายุุสุริยะ 2/5/11 21UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl67 width=154 align=left>7-9 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>ปานกลาง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl65 height=19 width=335 align=left>พายุสุริยะ 3/5/11 19 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>6-8 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl65 height=19 width=335 align=left>พายุสุริยะ 4/5/11 22 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>7-9 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 28.8pt" height=38><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 28.8pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl65 height=38 width=335 align=left>พายุสุริยะ 6/5/11 11 UTC ระเบิดรอบด้าน-ด้านหลัง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ใหญ่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>9-11 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl69 height=19 width=335 align=left>พายุุสรุิยะ 7/5/11 15 UTC ด้านหลังไม่โดนโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>-</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>-</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl65 height=19 width=335 align=left>9/5/11 จุดดับเกิดใหม่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>10-11พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.4pt" height=19><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 14.4pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl65 height=19 width=335 align=left>9/5/11 X-ray ระดับ C5</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=197 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl66 width=154 align=left>9 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 0.5pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl68 width=154 align=left>-</TD></TR><TR style="HEIGHT: 15pt" height=20><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 251pt; HEIGHT: 15pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl70 height=20 width=335 align=left>พายุสรุิยะ 9/5/11 23 UTC ด้านเดียวกับโลก</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 148pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl71 width=197 align=left>ปานกลาง-ใหญ่</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: #c00000; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 0.5pt solid" class=xl79 width=154 align=left>12-14 พฤษภาคม</TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1pt solid; BORDER-LEFT: black; BACKGROUND-COLOR: #c00000; WIDTH: 115pt; BORDER-TOP: black; BORDER-RIGHT: black 1pt solid" class=xl80 width=154 align=left>ใหญ่</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. Lauthira

    Lauthira สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +4
    Science - Manager Online - จับตา "การชุมนุม" ของเหล่า "ดาวเคราะห์"

    “การชุมนุม” ตามท้องถนน บนผืนดิน เพื่อรณรงค์แสดงพลังในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คงเป็นที่คุ้นเคยสำหรับเราๆ ในยุคยามนี้ ส่วน “การชุมนุม” บนท้องฟ้าของ “ดาวเคราะห์” ก็กลายเป็นเรื่องที่มนุษย์เราจับตามอง อย่างหวั่นวิตก เพราะกระแสความเชื่อที่เชื่อมโยงกับหายนะโลก

    ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์ ได้รับแจ้งจาก วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต ปราชญ์ดาราศาสตร์ชาวบ้านแห่ง จ.ฉะเชิงเทราว่า จะเกิดปรากฏการณ์ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดีในเช้ามืดวันที่ 12 พ.ค. 54 นี้ และในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน เรายังจะได้เห็นดาวเคราะห์อีก 3 ดวงเกาะกลุ่มขึ้นจากขอบฟ้าใกล้เคียงกัน

    เหล่านี้เป็นเหตุการณ์ที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนัก นับเป็นส่วนหนึ่งของ “ดาวเคราะห์ชุมนุม” (Conjunction) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่มีดาวเคราะห์ตั้งแต่ 3 ดวง มาแสดงตัวให้เห็นใกล้กันบนท้องฟ้า ในเวลาและในมุมเดียวกัน เมื่อสังเกตจากพื้นโลก


    10-13 พ.ค. กำหนดนัด 5 ดาวชุมนุม

    ข้อมูลจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) ได้ระบุว่า ในช่วงระหว่างวันที่ 10 -13 พ.ค.54 นี้ ถ้าเราใช้กล้องสองตา หรือกล้องโทรทรรศน์ ที่มีกำลังขยายประมาณ 10 เท่า ก็จะส่องเห็น ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี และดาวศุกร์ ปรากฏอยู่ในเลนส์ใกล้ตาพร้อมๆ กัน ในระยะเชิงมุมห่างกันเพียง 2 องศา ตั้งแต่เวลา 5.00 น. - 5.45 น. โดยประมาณ

    ทางด้าน วรวิทย์ ให้ข้อมูลว่า ในช่วงเช้ามืดของวันที่ 12 พ.ค. หากมองไปทางขอบฟ้าทิศตะวันออก จะเห็นดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดีในระยะใกล้มาก ซึ่งห่างเพียง 37 ลิปดา 51 ฟิลิปดา และยังมีดาวพุธอยู่ในกลุ่มด้วย โดยดาวพุธอยู่ใกล้ดาวศุกร์ในระยะ 1 องศา 30 ลิปดา 08 ฟิลิปดา และอยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีในระยะ 2 องศา 3 ลิปดา 13 ฟิลิปดา

    ดาวเคราะห์ 3 ดวงนี้จะเกาะกลุ่มขึ้นจากขอบฟ้าใกล้เคียงกัน ที่กลุ่มดาวปลา โดยดาวพฤหัสบดีขึ้นจากขอบฟ้าก่อนเวลา 04.21 น. ด้วยความสว่าง -2.07 ตามมาด้วยดาวศุกร์ซึ่งขึ้นพ้นขอบฟ้าเป็นดวงที่ 2 เวลา 04.24 น.ด้วยความสว่าง -3.89 ส่วนดาวพุธขึ้นพ้นขอบฟ้าเป็นดวงที่ 3 ในเวลา 04.26 น. ด้วยความสว่าง 0.30

    ต่อมาเวลา 04.40 น. ดาวเคราะห์ดวงที่ 4 ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าคือดาวอังคารก็ขึ้นตามมา ด้วยความสว่าง 1.27 อยู่ในกลุ่มดาวแกะ ช่วงนั้นดาวอังคารอยู่ห่างดาวศุกร์ 5 องศา 25 ลิปดา 10 ฟิลิปดา, ห่างดาวพฤหัส 5 องศา 38 ลิปดา 49 ฟิลิปดา และห่างดาวพุธ 6 องศา 5 ลิปดา 36 ฟิลิปดา

    นอกจากดาวเคราะห์ทั้ง 4 ดวงที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าแล้ว ยังมีดาวเคราะห์ดวงที่ 5 ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ในกลุ่มดาวปลาด้วย นั่นคือดาวยูเรนัส ซึ่งขึ้นจากขอบฟ้ามาก่อนแล้ว โดยอยู่สูงเหนือดาวพฤหัสบดี 21 องศา 55 ลิปดา 2 ฟิลิปดา

    “เช้าวันที่ 12 พ.ค.2554 ดวงอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้า เวลา 05.51 น. ขณะที่ดวงอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้า ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดาวพุธ อยู่สูงจากขอบฟ้าทิศตะวันออก 21 องศา ปรากฏการณ์ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดีไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก แต่สามารถสังเกตได้เช้ามืดของ 3 วัน คือ วันที่ 11, 12 และ 13 พ.ค. แต่วันที่ 12 พ.ค. ดาวศุกร์ใกล้ดาวพฤหัสมากที่สุด จึงน่าติดตามชมเป็นอย่างยิ่ง” วรวิทย์ให้ข้อมูล

    ปราชญ์ชาวบ้านจากฉะเชิงเทรายังได้แนะนำวิธีสังเกตว่า แม้จะเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่ก็ต้องหาที่โล่ง หรือที่สูงไม่มีอาคารบัง เนื่องจากปรากฏการณ์นี้ เกิดขึ้นที่สุดขอบฟ้าทิศตะวันออก อยู่ต่ำมาก อีกทั้งอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ไม่สามารถสังเกตได้ก็คือฟ้าหลัวและเมฆฝนที่มีมากในฤดูนี้


    27-30 พ.ค. จัดประชุม 5 ดวงเรียงตัว

    นอกจากนี้ ในช่วงปลายเดือน พ.ค. คือระหว่างวันที่ 27-30 พ.ค. เราก็ยังจะสามารถสังเกตปรากฏการณ์ ดาวเคราะห์เรียงตัวกันจนเกือบจะเป็นเส้นตรงบนท้องฟ้าทางทิศตะวันออก เรียงลำดับลงมาจากด้านบนสุด คือดาวยูเรนัส (มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า) ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร ดาวศุกร์ และดาวพุธ ซึ่งอยู่ต่ำสุด

    ทั้งนี้ สดร.ได้ให้ข้อมูลว่า ตลอด 4 วันสุดท้ายของเดือน จะมีดวงจันทร์ข้างแรม ซึ่งเป็นเสี้ยวเล็กๆ ปรากฏอยู่ในแนวการเรียงตัวกันของดาวเคราะห์ โดยเฉพาะวันที่ 29-30 พ.ค. ดวงจันทร์จะเป็นเสี้ยวบางๆ ใกล้กับดาวพฤหัสบดี หากท้องฟ้าปลอดโปร่งจะสามารถมองเห็น “เอิร์ธไชน์”(Earthshine) หรือแสงโลกบนพื้นผิวด้านมืดของดวงจันทร์ด้วย

    ต่างดาวต่างโคจร ยากนักจะเจอกัน

    อย่างไรก็ดี ปรากฎการณ์ “ดาวเคราะห์ชุมนุม” ถือเป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย ซึ่งข้อมูลจากสมาคมดาราศาสตร์ไทยอธิบายว่า เพราะดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ มีวงโคจรและระนาบต่างกัน ดังนั้นโอกาสที่ดาวเคราะห์ 3 ดวง จะมาเรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยไม่เบี่ยงเบนออกจากแนวเส้นตรงที่เชื่อมกันเลยนั้น แทบจะเป็นไปไม่ได้ หรือเกิดขึ้นนานๆ ครั้ง

    ทั้งนี้ โดยทั่วไป ผู้คนอาจเรียกปรากฏการณ์ “ดาวเคราะห์ชุมนุม” ว่า เป็นส่วนหนึ่งของปรากฏการณ์ดาวเคราะห์เรียงอยู่ในแนวเดียวกันนอกจากนี้ “ดาวเคราะห์เรียงตัว” ก็อาจใช้กับกรณีที่ดาวเคราะห์หลายดวงปรากฏบนท้องฟ้าในเวลาเดียวกัน ไม่คำนึงว่ามันทำมุมห่างกันกี่องศา เพียงแต่สามารถมองเห็นได้พร้อมกันบนท้องฟ้าก็เป็นอันใช้ได้

    ข้อมูลจากสมาคมดาราศาสตร์ยังระบุอีกว่า โดยปกติดาวเคราะห์ชุมนุม จะใช้กับดาวเคราะห์ที่เห็นได้ด้วยตาเปล่า และอาจเป็น 3 กรณี คือประกอบด้วยดาวเคราะห์ 3 ดวง, 4 ดวง และ 5 ดวง โดยดาวเคราะห์ชุมนุม 3 ดวงนั้นเกิดขึ้นบ่อยที่สุด

    เมื่อเปิดดูข้อมูลช่วงปี พ.ศ.2523-2593 พบว่า มีดาวเคราะห์ชุมนุมแบบ 3 ดวงในระยะห่างกัน 5 องศา เกิดขึ้น 41 ครั้ง ส่วนการชุมนุมแบบ 4 ดวงในช่วง พ.ศ. 544-4043 นั้นเกิดขึ้น 40 ครั้ง

    ขณะที่ดาวเคราะห์ชุมนุม 5 ดวงแบบมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แม้ห่างกันภายในระยะ 10 องศาก็เกิดขึ้นยากมาก โดยนับตั้งแต่ พ.ศ.544-5543 มีเพียง 5 ครั้ง

    อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุมและดาวเคราะห์เรียงตัวกันนี้ เป็นเพียงมุมปรากฏบนท้องฟ้า ส่วนในมุมที่มองจากอวกาศ จะพบว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เรียงกันเป็นเส้นตรงแต่อย่างใด ตามคำอธิบายของ สดร. ซึ่งดาวเคราะห์แต่ละดวงก็จะกระจายอยู่ตามวงโคจรของดาวดวงนั้นๆ

    ถึงแม้จะไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย แต่เหตุการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุมนี้ ก็ถือเป็นเรื่องปกติในทางดาราศาสตร์.

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 พฤษภาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...