เจตสิก ๕๒ เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต รู้อารมณ์เดียวกับจิต อาศัยวัตถุเดียวกับจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 14 กรกฎาคม 2012.

  1. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=702><TBODY><TR><TD>มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]






    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 align=center><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 bgColor=#ffece3><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 vAlign=top width=119>๑. ปฐวีธาตุ</TD><TD width=561>คือ ธาตุดิน เป็นธรรมชาติที่มีลักษณะ แข็ง หรือ อ่อน ถ้ามีธาตุดินอยู่มากก็จะแข็งมาก เช่น เหล็ก หิน ถ้ามีธาตุดินอยู่น้อยก็จะอ่อน เช่น ยาง ฟองน้ำ เป็นต้น ธาตุดินมี ๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๑. ดินแท(ปรมัตถปฐวี หรือ ลักขณปฐวี)</TD></TR><TR><TD width=87></TD><TD vAlign=top width=105>หมายถึง </TD><TD width=457>ลักษณะที่ แข็ง หรือ อ่อน ของวัตถุต่าง ๆ ที่เราสามารถสัมผัส ถูกต้องได้ด้วยกาย เช่น เหล็ก หรือ ยาง ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๒. ดินสมมุติ (สมมุติปฐวี หรือ ปกติปฐวี)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=107>หมายถึง </TD><TD width=457>ดินที่เรียกกันทั่วไป เช่น ที่ดิน แผ่นดิน พื้นดิน ดินเหนียว ดินที่ใช้ในการทำไร่ไถนา เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๓. ดินที่มีอยู่ในร่างกาย (ตามนัยแห่งพระสูตร) เรียกว่า สสัมภารปฐวี</TD></TR><TR><TD width=84></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=458>ส่วนที่แข็งที่มีอยู่ภายในร่างกายของคน และสัตว์ทั้งหลาย เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน เป็นต้น รวมทั้งของแข็งที่อยู่ภายนอกด้วย เช่น เหล็กทองแดง ศิลา ดิน เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๔. ดินที่ใช้เพ่งทำให้เกิดสมาธิ (กสินปฐวี)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=456>ดินที่นำมาทำเป็นแผ่นวงกลมเท่าฝาบาตร เพื่อนำมาเพ่งให้เกิดสมาธ ิใช้เป็นอารมณ์ในการ เจริญสมถกรรมฐาน </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=*><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 align=center><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 bgColor=#ffece3><TBODY><TR><TD width=119>๒. อาโปธาตุ</TD><TD height=60 width=561>คือ ธาตุน้ำ มี ๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๑. น้ำแท้ (ปรมัตถอาโป หรือ ลักขณอาโป)</TD></TR><TR><TD width=87></TD><TD vAlign=top width=105>หมายถึง </TD><TD width=458>ลักษณะที่ไหล หรือ เกาะกุมของวัตถุต่าง ๆ จะรู้ได้ด้วยใจเท่านั้น ไม่ใช่รู้ได้โดยการเห็นด้วยตา หรือ สัมผัสด้วยกาย </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD height=*><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๒. น้ำสมมุติ (สมมุติอาโป หรือ ปกติอาโป)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=107>หมายถึง </TD><TD width=457>น้ำที่เรียกกันทั่วไป เช่น น้ำที่ดื่ม น้ำในแม่น้ำลำคลอง น้ำในทะเล น้ำในมหาสมุทร เป็นต้น </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๓. น้ำที่มีอยู่ในร่างกาย (ตามนัยแห่งพระสูตร) เรียกว่า สสัมภารอาโป</TD></TR><TR><TD width=88></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=454>ส่วนที่เป็นของเหลวที่อยู่ในร่างกายของคน และสัตว์ทั้งหลาย เช่น ดี เลือด เสมหะ เหงื่อ เป็นต้น รวมทั้งของเหลวที่อยู่ภายนอกด้วย เช่น น้ำจากรากต้นไม้ น้ำจากใบไม้ น้ำจากดอกไม้ น้ำจากผลไม้ เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD height=*><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๔. น้ำที่ใช้เพ่งทำให้เกิดสมาธิ (กสิณอาโป)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=456>น้ำที่นำมาใส่ในขัน อ่าง หรือ ในบ่อ ใช้เพ่งดูเพื่อให้เกิดสมาธิ ซึ่ง ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญสมถกรรมฐาน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=693 align=center><TBODY><TR><TD width=679><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 bgColor=#ffece3 height=60><TBODY><TR><TD width=119>๓. เตโชธาตุ </TD><TD width=561>คือ ธาตุไฟ มี ๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๑. ไฟแท้ (ปรมัตถเตโช หรือ ลักขณเตโช)</TD></TR><TR><TD height=* width=87></TD><TD vAlign=top width=105>หมายถึง </TD><TD width=458>ลักษณะที่ร้อนหรือเย็น ที่มากระทบทางกาย สิ่งต่างๆ จะสุกงอม ละเอียด นุ่มนวลได้ ก็เพราะเตโชธาตุนี้เอง ทำให้สุก อ่อน หรือ นุ่มนวล ละเอียด นุ่มนวลได้ก็เพราะเตโชธาตุนี้เอง ทำให้สุก อ่อน หรือ นุ่มนวล เช่น อาหารที่เรารับประทาน เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๒. ไฟสมมุติ (สมมุติเตโช หรือ ปกติเตโช)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=107>หมายถึง </TD><TD width=457>ลักษณะของไฟที่เรียกกันทั่วไป เช่น ไฟฟ้า ไฟถ่าน ไฟฟืน หรือไฟแก๊สหุงต้ม เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๓. ไฟที่มีอยู่ในร่างกาย (ตามนัยแห่งพระสูตร) เรียกว่า สสัมภารเตโช</TD></TR><TR><TD width=84></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=458>ไฟที่มีอยู่ในตัวคนและสัตว์ทั้งหมายซึ่งมีลักษณะต่าง ๆ คือ ทำให้ร่างกายอบอุ่น ทำให้ร่างกายแก่ชรา ทำให้เป็นไข้ รวมทั้งไฟธาตุที่ย่อยอาหาร ด้วย ส่วนไฟที่อยู่ภายนอกตัวเราก็มี เช่น ไฟที่เราเห็นโดยทั่ว ๆ ไป</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๔. ไฟที่ใช้เพ่งทำให้เกิดสมาธิ (กสิณเตโช)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=456>ไฟที่ทำขึ้นเพื่อใช้เพ่ง ทำให้เกิดสมาธิ หรือใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญสมถกรรมฐาน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 align=center><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 bgColor=#ffece3><TBODY><TR><TD width=119>๔. วาโยธาตุ</TD><TD height=60 width=561>คือ ธาตุลม มี ๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๑. ลมแท้ (ปรมัตถวาโย หรือ ลักขณวาโย)</TD></TR><TR><TD width=87></TD><TD vAlign=top width=105>หมายถึง </TD><TD width=458>ลักษณะที่ ไหว หรือ เคร่งตึง เช่น การไหวของใบไม้ การไหวร่างกาย การกระพริบตา การตึงของลมในยางรถยนต์ หรือลมในท้องที่จะทำให้ท้องตึงจุกเสียด เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๒. ลมสมมุติ (สมมุติวาโย หรือ ปกติวาโย)</TD></TR><TR><TD width=86></TD><TD vAlign=top width=107>หมายถึง </TD><TD width=457>ลมที่เรียกกันทั่ว ๆ ไป เช่น ลมบก ลมทะเล ลมพายุ ลมที่พัดไปมาตามปกติ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>๓. ลมที่มีอยู่ในร่างกาย (ตามนัยแห่งพระสูตร) เรียกว่า สสัมภารวาโย</TD></TR><TR><TD height=* width=84></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=458>ลมต่าง ๆ ที่พัดอยู่ในร่างกาย คือ ลมที่พัดขึ้นเบื้องบน เช่น การหาว เรอ ลมที่พัดลงเบื้องต่ำ เช่น การผายลม ลมที่อยู่ในช่องท้อง ทำให้ปวด เสียดท้อง ลมที่พัดอยู่ทั่วร่างกายทำให้ไหวกายไปมาได้ และลมหายใจเข้า-ออก นอกจากนี้ยังหมายถึง ลมภายนอกทั่ว ๆ ไป คือ ลมพัดอยู่ตามทิศต่าง ๆ ด้วย



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 bgColor=#f6f6f6><TBODY><TR><TD colSpan=3>๔. ลมที่ใช้เพ่งทำให้เกิดสมาธิ (กสิณวาโย หรือ อารัมมณวาโย)</TD></TR><TR><TD height=* width=86></TD><TD vAlign=top width=108>หมายถึง </TD><TD width=456>ลมที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเพ่งกสิณ เพื่อให้เกิดสมาธิ หรือเกิดฌาน โดยการกำหนดเพ่งเอาธาตุลม ที่ทำให้เกิดการไหวของใบไม้ ยอดหญ้า เป็นต้น</TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>มหาภูตรูปทั้ง ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ และ ธาตุลม บางธาตุก็เข้ากันได้คือเป็นมิตรกัน บางธาตุก็เข้ากันไม่ได้ไม่เกื้อกูลกัน คือ เป็นศัตรูซึ่งกันและกัน</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=500><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    ธาตุดิน กับ ธาตุน้ำ เป็นมิตรต่อกัน



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>าตุดิน และธาตุน้ำ ต่างก็เป็นธาตุที่มีน้ำหนักด้วยกันทั้งสองธาตุ เกื้อกูลเข้ากันได้ไม่เป็นศัตรูต่อกัน น้ำจะช่วยประสานเกาะกุมให้ดินเกาะติดกัน เช่น เวลาสร้างบ้านเรือนน้ำจะเป็นตัวประสานทำให้หิน ทราย ปูน ซึ่งเป็นธาตุดิน ที่เกาะติดกันสร้างเป็นอาคารบ้านเรือนขึ้นมาได้ แม้แต่พืชพันธุ์ธัญญาหารต่าง ๆ ที่ปลูกไว้บนดิน ก็ต้องอาศัยน้ำเกื้อกูล ทำให้เจริญงอกกงามขึ้นมา</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=500><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    ธาตุไฟ กับ ธาตุลม เป็นมิตรต่อกัน



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>ธาตุไฟ และธาตุลม เป็นธาตุที่เบาเหมือนกัน จะเป็นมิตรเกื้อกูลกันไม่เป็นศัตรูต่อกัน เวลาจุดไฟถ่านหุงข้าว ก็ต้องใช้พัดโบกลมช่วยให้ถ่านติดเร็ว เวลาไฟไหม้ลมจะทำให้ไฟลุกขยายไปด้วยความรวดเร็ว</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=500><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    ธาตุที่เป็นศัตรูกัน คือ ดิน กับ ไฟ และ น้ำ กับ ลม



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD>เพราะเป็นธาตุที่มีความหนักเบาต่างกันจึงไม่เกื้อกูลกัน นอกจากนั้น แม้ในธาตุเดียวกันก็เป็นศัตรูซึ่งกันและกันด้วย เพราะในธาตุเดียวกันนั้นมี ๒ ลักษณะ คือ</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=167>ปฐวีธาตุ (ธาตุดิน) </TD><TD vAlign=top width=73>มีลักษณะ </TD><TD vAlign=top width=142>แข็ง หรือ อ่อน </TD><TD vAlign=top width=272>ความแข็งทำลายความอ่อน และความอ่อน ก็ทำลายความแข็ง เช่นเดียวกัน</TD></TR><TR><TD vAlign=top>อาโปธาตุ (ธาตุน้ำ) </TD><TD vAlign=top>มีลักษณะ </TD><TD vAlign=top>ไหล หรือ เกาะกุม </TD><TD vAlign=top>ความไหลเป็นตัวทำลาย การเกาะกุม</TD></TR><TR><TD vAlign=top>เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) </TD><TD vAlign=top>มีลักษณะ </TD><TD vAlign=top>ร้อน หรือ เย็น </TD><TD vAlign=top>ความร้อนและความเย็น ก็ทำลายกัน</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วาโยธาตุ (ธาตุลม) </TD><TD vAlign=top>มีลักษณะ </TD><TD vAlign=top>ไหว หรือ เคร่งตึง </TD><TD vAlign=top>ซึ่งเป็นภาวะที่ทำลายกันและกัน</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    รวบรวมเรียบเรียงโดย นาย ทวี สุขสมโภชน์


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012
  2. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] ปสาทรูป คือ รูปที่มีความใส สามารถรับอารมณ์ได้ คล้ายกระจกเงาที่รับภาพต่าง ๆ ภายนอกได้ คำว่า ปสาท แปลว่า ความใส [/FONT]</TD></TR><TR><TD> รูปที่มีความใสนี้มี ๕ รูป คือ </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๑. จักขุปสาทรูป (คือ ปสาทตา) เป็นรูปที่มีความใสดุจกระจกเงา ตั้งอยู่กลางตาดำ โตเท่าหัวเหา มีเยื่อตาบาง ๆ เจ็ดชั้นรองรับอยู่ สามารถที่จะรับภาพ (รูปารมณ์) ต่าง ๆ ทั้งที่พอใจและไม่พอใจได้ ภาพที่มาปรากฏให้เห็นนั้น ปสาทตาเป็นที่ปรากฏของภาพ และจิตที่เห็นภาพล้วนแต่เกิดมาจากผลของกรรมทั้งสิ้น เมื่อเห็นภาพที่ดีก็ทำให้เราสบายใจ (เป็นผลของกรรมดี คือบุญที่ได้กระทำไว้แล้วในอดีตชาติ ส่งผลมาในชาตินี้) เมื่อเราเห็นภาพที่ไม่ดีก็ทำให้ไม่สบายใจ (เป็นผลของกรรมไม่ดี คือบาปที่ได้กระทำไว้แล้วในอดีตชาติ ส่งผลมาในชาตินี้)
    จักขุปสาทรูปนี้ มีหน้าที่ ๒ อย่าง คือ เป็นวัตถุที่ตั้งแห่งจักขุวิญญาณจิต และ จักขุทวารวิถี
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๒. โสตปสาทรูป (คือ ปสาทหู) เป็นรูปที่มีความใสสามารถรับเสียง (สัททารมณ์) ได้ มีลักษณะเหมือนวงแหวน มีขนสีแดงเส้นละเอียดอยู่โดยรอบ เกิดมาจากกรรม ดังนั้น หูจึงต้องรับเสียงทั้งที่พอใจและไม่พอใจ (เสียงชมเสียงด่า) ซึ่งเป็นผลของกรรมที่ได้กระทำไว้แล้วในชาติก่อน ๆ
    หน้าที่ของโสตปสาทรูปมี ๒ อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งโสตวิญญาณจิต (สถานที่ที่จักขุวิญญาณจิตรับรู้เสียง) และ โสตทวารวิถี (ขบวนการของจิตที่เกิดดับติดต่อกันเป็นชุด ๆ ทางหู)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๓. ฆานปสาทรูป (คือ ปสาทจมูก) เป็นรูปที่มีความใส สามารถรับกลิ่นต่าง ๆ (คันธารมณ์) ได้ มีลักษณะคล้ายเท้าแพะ ซึ่งเกิดมาจากกรรม ดังนั้น จมูกจะต้องรับกลิ่นทั้งที่พอใจและไม่พอใจ เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นผลกรรมที่ได้ กระทำไว้ในชาติก่อน ๆ ซึ่งในชีวิตประจำวันของคนเราจะเห็นได้ชัดว่า บางครั้งก็ได้รับกลิ่นดี บางครั้งก็ได้รับกลิ่นไม่ดี เช่น ขณะที่มีรถขนขยะแล่นผ่านไป
    ฆานปสาทรูปนี้มีหน้าที่ ๒ อย่างเช่นเดียวกัน คือ เป็นที่ตั้งแห่งฆานวิญญาณจิต เพื่อรับกลิ่น และเป็นที่เกิดของฆานทวารวิถี ด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๔. ชิวหาปสาทรูป (คือ ปสาทลิ้น) เป็นรูปที่มีความใสสามารถรับรสต่าง ๆ (รสารมณ์) ได้ ซึ่งมีลักษณะเหมือนกลีบดอกบัว เกิดมาจากกรรม ดังนั้น ในชีวิตประจำวันของคนสัตว์ทั้งหลาย จึงได้รับรสต่าง ๆ กันไปไม่เหมือนกัน เพราะในชาติก่อน ๆ ทำกรรมมาต่าง ๆ กัน
    ชิวหาปสาทรูปนี้ก็มีหนัาที่ ๒ อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งชิวหาวิญญาณจิต เพื่อรับรสต่าง ๆ และเป็นที่เกิดของชิวหาทวารวิถีด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=*>๕. กายปสาทรูป (คือ ปสาทกาย) เป็นความใสของกายปสาทที่สามารถรับสัมผัสต่าง ๆ (โผฏ ฐัพพารมณ์ คือ ธาตุดิน ธาตุไฟ และ ธาตุลม) ได้ มีลักษณะเป็นความใสที่มีทั่วไปตามร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะถึงเท้า เว้นแต่เส้นผม เล็บ หรือหนังหนา ๆ จะไม่มีกายปสาท (ความรู้สึก) เวลาตัดผมตัดเล็บจึงไม่รู้สึกเจ็บ กายปสาทรูปนี้ก็เกิดจาก ผลของกรรม เหมือนกัน การได้รับความสุขความทุกข์ทางกายของคนและสัตว์ จึงแตกต่างกันไปตามกรรมที่ได้ทำมา ซึ่งจะเห็นว่า บางคนมีความเป็นอยู่ อย่างสุขสบาย ไม่ต้องตากแดดตากลมตรากตรำทำงานหนัก
    กายปสาทรูปทำหน้าที่ ๒ อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งกายวิญญาณจิต และเป็นที่เกิดของกายทวารวิถี
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>วิสยรูป หรือ โคจรรูป หมายถึง รูปต่าง ๆ ที่มากระทบทางตา คือ ภาพ (สี) ที่มากระทบทางหู คือ เสียง ที่มากระทบทางจมูก คือ กลิ่น ที่มากระทบทางลิ้น คือ รส ที่มากระทบทางกาย คือ เย็น-ร้อน อ่อน-แข็ง หย่อน-ตึง รูปเหล่านี้ชื่อว่าเป็นอารมณ์ให้แก่จิตและเจตสิก ได้เกิดขึ้นมารับรูปนั้น ๆ ทำให้เกิดความพอ ใจ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ดี น่ารื่นรมณ์ และทำให้เกิดความไม่พอใจ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ไม่ดี ไม่น่ารื่นรมณ์ รวม ๔ รูป หรือ ๗ รูป ดังต่อไปนี้ </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=30>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD height=32>๑. รูปารมณ์ ได้แก่ สีต่าง ๆ ที่เห็นได้ด้วยตา เช่น สีแดง เหลือง เขียว ขาว เป็นต้น เมื่อเห็นสีแล้วก็จะส่งความรู้สึกไปทางใจ ให้รู้ถึงรูปร่างลักษณะผิวพรรณสัณฐานต่าง ๆ เช่น คนอ้วนคนผอมเดินมา ก็มองเห็นรูปร่างสัณฐานว่า อ้วนหรือผอม ผิวขาวหรือผิวดำ การวินิจฉัยโรคบางอย่างของแพทย์ เขาจะฉีดสีเข้าไปในร่างกาย สีก็จะเข้าไปเกาะที่ตัวเชื้อโรค เมื่อเอกซเรย์แล้วตรวจดูฟิลม์ จะทำให้มองเห็นตัวเชื้อโรคได้ชัดเจนว่า อยู่ตรงส่วนไหนของร่างกาย สีจึงเป็นสิ่งที่ทำให้วัตถุต่าง ๆ ปรากฏตัวให้เห็นได้ดังกล่าว หรือแม้แต่เวลาดีใจ เสียใจ หวาดกลัว สีของหน้าตาเรา ก็มองออกถึงความรู้สึกได้ว่า ขณะนั้นเขามีความรู้สึกอย่างไร สีจึงเป็นสิ่งที่ฉาบทาวัตถุหรือสิ่งของนั้น ๆ ให้เราได้มองเห็นกัน ถ้าไม่มีสีต่าง ๆ ฉาบทาแล้ว เราก็จะไม่สามารถเห็นวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ได้เลย</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>๒. สัททารมณ์ ได้แก่ เสียง ที่มากระทบทางหู (โสตปสาท) ทำให้เกิดการได้ยิน ความพอใจหรือไม่พอใจก็จะตามมา ถ้าเสียงดีเสียงไพเราะก็เกิดความพอใจ ถ้าเสียงไม่ดีไม่ไพเราะ เช่น เสียงด่าเสียงกระทบกระเทียบ เปรียบเปรย ก็เกิดความไม่พอใจ เสียงที่ปรากฏเกิดขึ้นอาจมาจากสิ่งที่มีชีวิต เช่น คนหรือสัตว์ก็ได้ หรือจากธรรมชาติ เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงน้ำไหลก็ได้</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD width=684>๓. คันธารมณ์ ได้แก่ กลิ่น ซึ่งเป็นไอระเหยของวัตถุสิ่งของที่มีกลิ่น ที่มากระทบกับจมูก (ฆานปสาท) ทำให้รู้กลิ่น (ฆานวิญญาณ) เช่น กลิ่นหอมของดอกไม้ หรือน้ำหอมเป็นต้น
    ใคำว่า กลิ่น (คันธ) ยังมีความหมายถึง ศีล สมาธิ และปัญญาได้อีก เพราะเป็นคุณธรรมความดี ที่ตกแต่งให้บุคคลหอมไปได้ทั่วทิศ ทั้งทวนลมและตามลม
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD>๔. รสารมณได้แก่ รสต่าง ๆ เช่น รสเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด ขม ฝาด ที่ปรากฏที่ลิ้น(ชิวหาปสาท) ชิวหาวิญญาณก็จะทำหน้าที่รู้รสต่าง ๆ ได้</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=5 width=650><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    คำว่า รส ยังใช้ในความหมายต่าง ๆ ได้อีก ๔ ประการ
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=620 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD vAlign=top width=32 align=right>๑.</TD><TD vAlign=top width=108>ธรรมรส</TD><TD width=460>หมายถึง การทำบุญ-ทำบาป ที่เรียกว่า กุศลกรรม อกุศลกรรม</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๒.</TD><TD vAlign=top>อรรถรส </TD><TD>หมายถึง ผลของบุญ-บาป ที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว จะทำให้เกิดรสชาติของความทุกข์ความระทมขมขื่น หรือความสุขความสำราญใจตามมา</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>๓.</TD><TD vAlign=top>วิมุตติรส </TD><TD>เป็นรสของการเข้าถึงนิพพาน พ้นจากกิเลสซึ่งทำให้เศร้าหมอง</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๔.</TD><TD vAlign=top>อายตนรส </TD><TD>หมายถึงรสต่าง ๆ ข้างต้น ที่มากระทบกับลิ้น</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=670><TBODY><TR><TD>๕. โผฏฐัพพารมณ์ ได้แก่ สิ่งที่มากระทบกับร่างกาย เช่น แข็ง-อ่อน ร้อน-เย็น หย่อน-ตึง ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุไฟ ธาตุลม นั่นเอง ส่วนธาตุน้ำนั้น ความจริงแล้วเราไม่สามารถสัมผัสได้ด้วยทางกาย แต่สัมผัสหรือรู้ได้โดยทางใจ</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=5 width=650><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    โผฏฐัพพารมณ์ มี ๓ อย่าง คือ
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=620 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD vAlign=top width=28 align=right>๑.</TD><TD vAlign=top width=143>ปฐวีโผฏฐัพพารมณ์ </TD><TD width=429>ได้แก่ ความแข็ง หรือ อ่อน</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๒.</TD><TD vAlign=top>เตโชโผฏฐัพพารมณ์ </TD><TD>ได้แก่ ความร้อน หรือ เย็น</TD></TR><TR><TD height=44 vAlign=top align=right>๓.</TD><TD vAlign=top>.วาโยโผฏฐัพพารมณ์ </TD><TD>ได้แก่ ความตึง หรือ หย่อน (ไหว-เคร่งตึง)</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=5 width=650><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    การเรียกว่า วิสยรูป หรือ โคจรรูป
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=620 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>เรียกว่า วิสยรูป ๗ เป็นการเรียกรวมเอา โผฏฐัพพารมณ์ ๓ รวมเข้าใน รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ รวมเป็น ๗ อย่าง เพราะทั้ง ๗ เป็นอารมณ์ ให้แก่ จิตและเจตสิกได้</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=620 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>เรียกว่า โคจรรูป ๔ เพราะ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทั้ง ๔ เป็นที่โคจรท่องเที่ยวไปของจิตและเจตสิก เหมือนกับโคทั้งหลายที่ชอบท่องเที่ยวไปกินหญ้าในที่ ๔ แห่ง</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>ภาวรูป หมายถึง รูปที่แสดงความเป็นหญิงหรือชาย เป็นรูปที่รู้ได้ด้วยใจ (ไม่ใช่เห็นด้วยตา) โดยอาศัย รูปร่าง สัณฐาน เครื่องหมาย นิสัย และกิริยาอาการต่าง ๆ ให้รู้ว่าเป็นหญิงหรือชาย</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>
    ภาวรูป มี ๒ คือ อิตถีภาวรูป และ ปุริสภาวรูป
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650><TBODY><TR><TD width=40 align=right>๑.</TD><TD width=119>อิตถีภาวรูป </TD><TD width=70 align=middle>หมายถึง </TD><TD width=383>รูปที่แสดงความเป็นเพศหญิง</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>๒.</TD><TD>ปุริสภาวรูป </TD><TD align=middle>หมายถึง </TD><TD>รูปที่แสดงความเป็นเพศชาย</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> รูปทั้ง ๒ เป็นสุขุมรูป คือ รูปที่ละเอียดที่เกิดจากกรรมเป็นสมุฏฐาน เป็นรูปที่เกิดครั้งแรกในชีวิต มีอยู่แผ่ซ่านไปทั่วร่างกาย เป็นธรรมที่รู้ได้ด้วยใจเห็นไม่ได้ด้วยตา เพราะตาเห็นได้เฉพาะสีเท่านั้น เห็นรูปที่ละเอียดไม่ได้เลย </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>ที่รู้ว่าเป็นหญิงหรือชายก็ด้วยการแสดงออก ๔ อย่างดังกล่าวข้างต้นเท่านั้น คือ</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=16 align=right>๑.</TD><TD vAlign=top width=201>รูปร่างสัณฐาน (ลิงค) </TD><TD vAlign=top width=78 align=middle>ได้แก่ </TD><TD width=359>รูปร่างหน้าตา แขนขา รวมไปถึงเครื่องหมายเพศด้วย</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๒.</TD><TD vAlign=top>เครื่องหมาย (นิมิตต) </TD><TD vAlign=top align=middle>ได้แก่ </TD><TD>หนวดเครา หน้าอก ซึ่งมีความแตกต่างกันชัดเจน</TD></TR><TR><TD align=right>๓.</TD><TD>นิสัย (กุตต) </TD><TD align=middle>ได้แก่ </TD><TD height=60>นิสัยใจคอ การเล่น การแสดง การกระทำต่าง ๆ</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๔.</TD><TD vAlign=top>กิริยาอาการ (อากปป) </TD><TD vAlign=top align=middle>ได้แก่ </TD><TD>กิริยาอาการต่าง ๆ เช่น การยืน การเดิน การพูด
    ถ้าเป็นหญิงจะเรียบร้อย มีความละอาย
    ถ้าเป็นชายก็จะแข็งกระด้าง กล้าหาญ เป็นต้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>ทำกรรมอะไรจึงต้องเกิดมาเป็น หญิง หรือชาย </TD></TR><TR><TD> ก็เพราะกำลังของการทำบุญทำกุศล นั่นเอง เกิดมาเป็นชาย การทำบุญกุศลในชาติก่อนจะมีกำลังแรง เข้มแข็ง การตัดสินใจและการตั้งใจ เด็ดเดี่ยวไม่หวั่นไหว ตัดสินใจและการตั้งใจไม่เด็ดเดี่ยวเข้มแข็ง เหมือนชาย ดังนั้นการเกิดมาเป็นหญิงหรือชาย ก็ขึ้นอยู่กับกำลังของบุญกุศล ที่เราได้กระทำมาแล้วนั่นเอง</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD> หทยรูป ก็คือหัวใจของคนเรานั่นเอง ซึ่งมีความสำคัญมากเพราะเป็นรูปที่เกิดครั้งแรก เป็นที่ตั้งแห่งความรู้สึก คือจิตและเจตสิกของคนและสัตว์ทั้งหลาย </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>หทยรูปนี้มี ๒ อย่าง คือ</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=660><TBODY><TR><TD width=33 align=right>๑.</TD><TD width=130>มังสหทยรูป </TD><TD width=477>ได้แก่ เนื้อที่เป็นรูปหัวใจ มีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>๒.</TD><TD>วัตถุหทยรูป </TD><TD>เป็นรูปพิเศษที่อยู่ในมังสหทยรูปอีกทีหนึ่ง</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> หทยรูป นี้ เกิดจากกรรมเป็นสมุฏฐาน ตั้งอยู่ในช่องเนื้อหัวใจ มีลักษณะเป็นบ่อ มีโลหิตเป็นน้ำเลี้ยงหัวใจอยู่ประมาณ ๑ ซองมือ โตเท่าเมล็ดบุนนาค เป็นแหล่งที่อาศัยเกิดของมโนธาตุและมโนวิญญาณธาตุ ความดีความชั่วที่ผลักดันให้ต้องทำบุญทำบาปเกิดขึ้นที่หทยรูปนี้เอง</TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680><TBODY><TR><TD>
    ชีวิตรูป คือ รูปที่มีหน้าที่รักษารูปทั้งหลายมิให้เน่าเปื่อยแตกสลาย ทำให้คนเรามีชีวิตอยู่ได้ไม่ตายมาถึงวันนี้ เป็นรูปที่เกิดจากกรรมอย่างหนึ่ง ที่อุปการะให้คนสัตว์ทั้งหลายได้มีชีวิตอยู่ได้เพื่อสร้างกรรม คือ บุญบาปกันต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด คำว่า ชีวิต มี ๒ อย่าง คือ รูปชีวิต และ นามชีวิต รูปชีวิต ได้แก่ ชีวิตรูปนี้เอง ส่วนนามชีวิต ได้แก่ ชีวิตินทรียเจตสิก ที่ได้ศึกษาผ่านมาแล้ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] อาหารรูป คือ อาหารที่เรารับประทานเข้าไปประจำวันนี้เอง เมื่อรับประทานแล้วย่อยแล้วโดยไฟธาตุ (ปาจกเตโชธาตุ) ก็จะมาเป็นเลือดเป็นเนื้อ ชื่อว่า โอชา นำไปบำรุงเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทำให้เจริญเติบโตเป็นหนุ่มเป็นสาวต่อไป อาหารที่รับประทานเป็นคำ ๆ ที่ยังไม่ย่อยเป็นโอชา ชื่อว่า กพฬีการาหาร เมื่อย่อยแล้วจึงชื่อว่า โอชา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> หมายเหตุ</TD></TR><TR><TD height=30> รูปที่กล่าวมาแล้วทั้ง ๗ ประเภท รวมได้ ๑๘ รูปนี้ ชื่อว่า นิปผันนรูป คือ รูปที่มีสภาวะของตนเอง สามารถนำมาเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ให้เกิดปัญญาเห็นไตรลักษณ์ คือไม่เที่ยง เป็นทุกข์และไม่ใช่ตัวใช่ตน ได้ </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> เมื่อพิจารณาที่ตั้งอยู่ของรูปทั้ง ๑๘ รูป แล้ว จะเห็นว่ามีที่อยู่ต่างที่กันไป
    รูปที่อยู่กระจายทั่วร่างกาย นั้นมี ๑๒ รูป คือ มหาภูตรูป ๔ กายปสาทรูป ๑ วัณณรูป ๑ คันธรูป ๑ รสรูป ๑ ภาวรูป ๒ ชีวิตรูป ๑ และอาหารรูป ๑ รูป
    รูปที่เกิดเฉพาะแห่งมี ๖ รูป คือ จักขุปสาทรูป (ปสาทตา) โสตปสาทรูป (ปสาทหู) ฆานปสาทรูป (ปสาทจมูก) ชิวหาปสาทรูป (ปสาทลิ้น) สัททรูป (เสียง) และหทยรูป (หัวใจ)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=30> รูปที่เหลืออีก ๑๐ รูป เรียกว่า อนิปผันนรูป เป็นรูปที่ไม่มีสภาวะของตนเอง ซึ่งใช้ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้ เพราะไม่มีไตรลักษณะทั้ง ๓ ให้ปรากฏ คือ ความเป็นอนิจัง ทุกขัง และอนัตตา</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] อนิปผันนรูป มี ๑๐ รูป เป็นรูปที่อาศัย นิปผันนรูป ถ้าไม่มีนิปผันนรูปแล้ว อนิปผันนรูปก็เกิดขึ้นไม่ได้ เช่น ปริจเฉทรูป คือ ช่องว่าง ตัวอย่างเช่น นิ้วมือ หรือนิ้วเท้า ถ้านิ้วมือหรือนิ้วเท้าติดเป็นแผ่นเดียวกัน เราก็นับไม่ได้ว่านิ้วมือมี ๕ นิ้ว หรือนิ้วเท้ามี ๕ นิ้ว ช่องว่าง จึงจัดเป็น รูป ๆ หนึ่ง ทำหน้าที่คั่นไม่ให้สิ่งทั้งหลายติดกันเท่านั้น ทำให้นับเป็นชิ้นเป็นอันขึ้นมาได้ ดังนั้น ช่องว่าง จึงไม่จัดเป็นรูปที่แท้จริง (อนิปผันนรูปทั้งหมด) ไม่สามารถที่จะนับเป็นชิ้นเป็นอัน อย่างนิปผันนรูปดังกล่าวมาแล้วได้ ดูภาพสมมุติของอนิปผันนรูป ๑๐[/FONT]</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    ความหมายของอนิปผันนรูป
    </TD></TR><TR><TD> อนิปผันนรูป เป็นรูปที่ไม่ใช่รูปแท้เพราะว่า เป็นรูปที่ไม่มีสภาวะประจำตัวโดยเฉพาะ ไม่มีสามัญลักษณะทั้ง ๓ ประจำอยู่ คือ ความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่มีการแตกดับสลายไป ด้วยความเย็นหรือความร้อน เหมือนนิปผันนรูปดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ดังนั้น จึงไม่สามารถที่จะนำมาใช้พิจารณา ให้เกิดวิปัสสนาปัญญาได้</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> (โปรดติดตามรายละเอียดของรูปปรมัตถ์ในชุดต่อไป)</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD> รูปวิภาคนัย เป็นการจำแนกรูป ๒๘ ตามที่ศึกษามาแล้ว โดยพิสดารออกไป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกว้างขวางยิ่งขึ้น ในหมวดนี้ได้แบ่งรูป ๒๘ ออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=660><TBODY><TR><TD width=330>
    [​IMG]
    </TD><TD width=330>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD align=middle><TABLE border=2 cellSpacing=0 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD height=* width=700 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60 width=696>๑. ลักษณะเดี่ยว (เอกมาติกา)</TD></TR><TR><TD height=*>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=2 width=690><TBODY><TR><TD colSpan=5>เป็นการแบ่งรูป ๒๘ ออกเป็นประเภทเดียวหรือความหมายเดียว เรียกได้ ๘ ชื่อ คือ </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width=120>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>ชื่อว่า </TD><TD vAlign=top width=139>อเหตุกะ </TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>เพราะว่ารูป ๒๘ นี้ </TD><TD width=249>เกิดขึ้นโดย ไม่ต้องอาศัยเหตุ ๖ (โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ)</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>สปัจจยะ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>เกิดขึ้นจากกรรม จิต อุตุ อาหาร เป็นเหตุ เป็นปัจจัย</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>สาสวะ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>ก่อให้เกิดอาสวะกิเลส (กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ) </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>สังขตะ </TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>เกิดขึ้นจากกรรม จิต อุตุ อาหาร เป็นผู้ปรุงแต่ง ทำให้เกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>โลกียะ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>เป็นสังขารธรรม เพราะต้องมีการแตกดับ อยู่เสมอ ๆ</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>กามาวจระ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>เป็นเหตุให้เกิดความยินดี ยินร้าย ซึ่งเป็นอารมณ์ ของกามาวจรจิต</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD height=38 vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>อนารัมมณะ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>ไม่มีความรู้สึก (เหมือนคนตาย) คือ ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ใดๆ ได้</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD height=38 vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=56 align=middle>"</TD><TD vAlign=top width=139>อัปปหาตัพพะ</TD><TD vAlign=top width=112 align=middle>"</TD><TD>เป็นสิ่งที่ไม่ควรฆ่า หรือทำลาย แต่สิ่งควรฆ่าทำลายนั้น ได้แก่ กิเลสและตัณหา</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> สรุปได้ว่ารูป ๒๘ นี้จะเรียกชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งใน ๘ ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งก็จะมีความหมาย แตกต่างกันไปตามลักษณะของชื่อนั้น ๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>เป็นการแบ่งรูป ๒๘ ออกเป็นคู่ ๆ ซึ่งมีความหมายตรงกันข้าม จำแนกได้ ๑๑ คู่ คือ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD width=742><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>[​IMG]</TD><TD width=522><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">อัชฌัตติกรูป </TD><TD width="71%"> รูปภายใน ได้แก่ ปสาทรูป ๕ คือ ประสาทตา ประสาทหู..จมูก..ลิ้น..กาย </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD height=61>พาหิรรูป</TD><TD>รูปภายนอก ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๓ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">วัตถุรูป </TD><TD width="71%">รูปที่เป็นที่อาศัยเกิดของจิตและเจตสิก ่ ได้แก่ปสาทรูป ๕ และ หทัยวัตถุ ๑ รูป ที่ไม่เป็นที่อาศัยเกิดของจิตและเจตสิก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>อวัตถุรูป</TD><TD>ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๒</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#000000><TD bgColor=#ffffff width="30%">ทวารรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width="70%">รูปที่เป็นประตูหรือทวารให้ทำบุญทำ
    บาป ได้แก่ ปสาทรูป ๕ วิญญัติรูป ๒
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#f6f6f6>อทวารรูป </TD><TD bgColor=#f6f6f6>รูปที่ไม่เป็นเหตุให้ทำบุญทำบาป
    ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๑
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD rowSpan=2 width="31%">อินทริยรูป </TD><TD height=92 width="69%"><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>รูปที่ทำหน้าที่เป็นใหญ่ในการรับอารมณ์
    ต่าง ๆ มีการเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น เป็นต้น ได้แก่ปสาทรูป ๕ ภาวรูป ๒ และชีวิตรูป ๑
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>อนินทริยรูป</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD>เป็นรูปที่ไม่เป็นใหญ่ในการรับอารมณ์ ต่าง ๆ ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๐</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">โอฬาริกรูป </TD><TD width="71%">รูปหยาบ เห็นได้ง่าย ได้แก่ ปสาทรูป ๕ วิสยรูป ๗</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>สุขุมรูป </TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD>รูปที่ละเอียดไม่สามารถรับรู้ได้ โดยการกระทบ แต่จะรู้ได้ทางใจ เท่านั้นได้แก่ รูปที่เหลือ ๑๖</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">สันติเกรูป</TD><TD width="71%">รูปใกล้ เป็นรูปที่เกิดขึ้นเสมอมิได้ขาด รู้ได้ง่ายได้แก่ ปสาทรูป ๕ วิสยรูป ๗ (เหมือนกับคู่ที่ ๕) </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>ทูเรรูป </TD><TD>รูปไกล เป็นรูปที่รู้ได้ยาก ได้แก่ รูปที่เหลือ ๑๖</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">สัปปฏิฆรูป </TD><TD width="71%">เป็นรูปที่กระทบกันได้ เช่น เสียง มากระทบกับหู ทำให้เกิดการได้ยิน เป็นต้น ได้แก่ ปสาทรูป ๕ วิสยรูป ๗</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>อัปปฏิฆรูป</TD><TD>เป็นรูปที่กระทบซึ่งกันและกันไม่ได้ ได้แก่ รูปที่เหลือ ๑๖ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="29%">อุปาทินนกรูป </TD><TD width="71%">หมายถึง รูปที่เกิดจากผลของบาป
    คือ อกุศลกรรม และรูปที่เกิดจาก ผลของ บุญคือโลกียกุศลกรรม ได้แก่ ปสาทรูป ๕ ภาวรูป ๒ หทยรูป ๑ ชีวิตรูป ๑ ปริจเฉทรูป ๑ และ อวินิพโภครูป ๘ (คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม สี กลิ่น รส โอชา)
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#f6f6f6>อนุปาทินนกรูป </TD><TD bgColor=#f6f6f6>หมายถึง รูปที่ไม่ได้เกิดจากผลของบาป
    คือ อกุศลกรรมและรูปที่ไม่ได้เกิดจาก
    ผลของบุญ คือโลกียกุศลกรรม ได้แก่ รูปที่เหลือ ๑๐ รูป คือ สัททรูป ๑ วิญญัติ รูป ๒ วิการรูป ๓ และ ลักขณรูป ๔
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=120 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" height=120><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="31%">สนิทัสสนรูป</TD><TD width="69%">รูปที่เห็นได้ ซึ่งได้แก่ วัณณรูป รูปเดียวเท่านั้น</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD height=42>อนิทัสสนรูป</TD><TD>รูปที่เห็นไม่ได้ ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๗</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD height=42 width="31%">โคจรคาหิกรูป</TD><TD width="69%">รูปที่เป็นที่โคจร เป็นที่อาศัยเกิดขึ้น ของ
    อารมณ์ต่าง ๆ เช่น จักขุปสาท รูปเป็นที่โคจรของรูปารมณ์ ทำให้เกิด
    การเห็น เป็นต้น ได้แก่ ปสาทรูป ๕
    </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>อโคจรคาหิกรูป </TD><TD>รูป รูปที่ไม่เป็นที่โคจรไม่เป็นที่อาศัยเกิด
    ได้แก่รูปที่เหลือ ๒๓
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=695><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=200>[​IMG]</TD><TD width=495><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD width="31%">อวินิพโภครูป </TD><TD width="69%">รูปที่แยกจากกันไม่ได้ รูปหนึ่ง ๆ ต้องมีรูปเกิดขึ้นอย่างน้อย ๘ รูปเสมอ ได้แก่ ปฐวี อาโป เตโช วัณณะ คันธะ รสะ โอชา </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>วินิพโภครูป </TD><TD>รูปที่แยกจากกันได้ ได้แก่ รูปที่เหลือ ๒๐</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=110>รูปสมุฏฐาน</TD><TD width=530>รูปร่างกายที่ประกอบขึ้นมาเป็นคน สัตว์ เทวดา หรือ พรหม (รูปพรหม) นั้น ย่อมเกิดขึ้น มาได้จากเหตุ ๔ ประการ คือ เกิดขึ้นมาจากกรรมส่วนหนึ่ง เกิดขึ้นมาจากจิตใจส่วนหนึ่ง เกิดขึ้นมาจากอุตุ (ความพอดีของความเย็นร้อน) ส่วนหนึ่ง และเกิดขึ้นมาจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปส่วนหนึ่ง เรียกว่า เกิดขึ้นมาจากสมุฏฐานทั้ง ๔ ทำให้คนสัตว์ทั้งหลาย ดำรงชีวิตอยู่ได้ภพหนึ่งชาติหนึ่ง ดังภาพสมมุติ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=241>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=110>กรรม</TD><TD width=530>การกระทำบุญบาป ทางกาย วาจา และใจ ได้แก่เจตนา ๒๕ ที่เกิดในอกุศลจิต ๑๒ มหากุศลจิต ๘ และรูปาวจรกุศลจิต ๕ ชื่อว่า เป็นกรรม </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=110>จิต</TD><TD width=530>เป็นตัวบงการหรือชักใยทำให้รูป ๒๘ เคลื่อนไหวไปทำกรรม ในส่วนที่เป็นบาปบ้าง ส่วนที่เป็นบุญบ้าง ทั้งทางกาย วาจา และใจ ได้แก่ จิต ๗๕ ดวง ส่วนทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ และ อรูปาวจรวิบากจิต ๔ จิต ๑๔ ดวงนี้ไม่ทำให้เกิดรูป</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=110>อุตุ</TD><TD width=530>หมายถึง อุณหภูมิ คือ ความร้อน ความเย็น ที่มีอยู่ในร่างกาย ของสัตว์ทั้งหลายและในสิ่งไม่มีชีวิต แม้ตอนตาย อุตุก็ยังคงอยู่ในซากศพต่อไป จนกว่าจะสลายหมดไปเองตามธรรมชาติ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=110>อาหาร</TD><TD width=530>หมายถึง อาหารที่เรารับประทานอยู่เป็นประจำวัน เมื่อไฟธาตุย่อยเป็นโอชะ แล้วก็จะนำไปบำรุงเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ถ้าขาดอาหารเสียแล้วชีวิตเราก็คงจะอยู่ไม่ได้</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>ขยายความ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=130>รูปที่เกิดจากกรรม </TD><TD width=530>เป็นรูปที่เกิดจากอำนาจของบุญ หรือ อำนาจของบาป ที่บุคคลได้กระทำไว้ในภพชาตินี้ และภพชาติก่อนๆ ถ้าเป็นรูปร่างกายของมนุษย์ เทวดา พรหม ก็เกิดขึ้นด้วยอำนาจของกรรมดี คือ บุญ ถ้าเป็นรูปร่างกายของสัตร์นรก เปรต อสุรกาย หรือ เดรัจฉาน ก็เกิดขึ้นด้วยอำนาจของกรรมชั่ว คือ บาป รูปที่เกิดจากอำนาจของกรรมดีและกรรมชั่ว (เจตนา ๒๕) นั้น มี ๑๘ รูป เรียกว่า กรรมชรูป ดูภาพสมมุติประกอบ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=130>กรรมชรูป ๑๘</TD><TD width=530>นี้เกิดได้ในภพภูมิต่าง ๆ ถึง ๒๗ ภพภูมิ คือ อบายภูมิ ๔ มนุษยภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ รูปภูมิ ๑๖ (ดูภาพสมมุติ ภูมิ ๓๑ ภูมิ ที่แนบมา) กรรมชรูปนี้เกิดได้ทุกขณะจิตจนถึงใกล้จะตาย กรรมชรูปจะเกิดขึ้นครั้งสุดท้าย โดยนับถอยหลังจากจุติจิตขึ้นไป ๑๗ ขณะ (มีรายละเอียดถ้าศึกษาถึงเรื่องของวิถีจิตตอนใกล้จะตาย) แล้วจะไม่เกิดขึ้นอีก เป็นการจบชีวิตในชาติหนึ่งภพหนึ่ง</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=130>รูปที่เกิดจากจิต </TD><TD width=549>ได้แก่ อาการยืน เดิน นั่ง นอน การเคลื่อนไหวในอิริยาบถต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนเรา รวมทั้งการพูดจาเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งล้วนแต่เป็นไปตามอำนาจความต้องการของจิตทั้งสิ้น จึงเรียกว่า มีจิตเป็นสมุฏฐาน ถ้าคนตายคือไม่มีจิตเสียแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเคลื่อนไหวหรือพูดจาใดๆได้เลย จิตที่เป็นตัวการหรือสั่งการให้มีการเคลื่อนไหวกาย หรือการพูดนั้น ได้แก่ จิต ๗๕ ดวง มีอำนาจทำให้เกิดรูปได้ ๑๕ รูป รูปที่เกิดจากอำนาจของจิตนี้ เรียกว่า จิตตชรูป ดูภาพ สมมุติประกอบ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=110>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=420><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    จิตตชรูป คือ จิตที่ทำให้เกิดรูป แบ่งได้ ๗ อย่าง
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=400><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=380 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=350><TBODY><TR><TD width=345>๑. จิตตชรูปสามัญ</TD></TR><TR><TD>๒. จิตตชรูปหัวเราะ</TD></TR><TR><TD>๓. จิตตชรูปร้องไห้</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=380 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=350><TBODY><TR><TD width=415>๔.จิตตชรูปเคลื่อนไหว</TD></TR><TR><TD>๕. จิตตชรูปในการพูด</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=380 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=350><TBODY><TR><TD height=29>๖. จิตตชรูปที่เป็นอิริยาบถ น้อยใหญ่</TD></TR><TR><TD>๗. จิตตชรูปที่เกี่ยวกับอิริยาบถ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=168>๑. จิตตชรูป สามัญ </TD><TD width=500>หมายถึง รูปที่เกิดจากจิตเป็นสมุฎฐาน คือ การหายใจ หรือการเต้นของหัวใจ คนตายไม่มีจิตจึงไม่มีการหายใจ หรือการเต้นของหัวใจ รูปที่เกิดขึ้นในขณะหายใจ หรือการเต้นของหัวใจ มีเพียง ๑๑ รูปเท่านั้น คือ อวินิพโภครูป ๘ และวิการรูป ๓ ซึ่งเกิดจากจิต ๗๕ ดวง คือ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD rowSpan=5 width=156>
    [​IMG]
    </TD><TD rowSpan=5 width=23>
    [​IMG]
    </TD><TD height=42 width=172>อกุศลจิต </TD><TD width=58>
    ๑๒
    </TD><TD width=241> </TD></TR><TR><TD>อเหตุกจิต </TD><TD>
    </TD><TD>(เว้นทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐)</TD></TR><TR><TD>กามาวจรโสภณจิต </TD><TD>
    ๒๔
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>มหัคคตจิต </TD><TD>
    ๒๓
    </TD><TD>(เว้นอรูปาวจรวิบากจิต ๔)</TD></TR><TR><TD>โลกุตตรจิต </TD><TD>
    </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=261>๒. จิตที่ทำให้รูปเกิดการหัวเราะ </TD><TD width=407>อาการหัวเราะของคนเรา ย่อมเกิดจากจิต ๑๓ ดวง คือ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD rowSpan=4 width=108>
    [​IMG]
    </TD><TD rowSpan=4 width=6>
    [​IMG]
    </TD><TD width=313>๑. การชื่นชมในการทำบาป </TD><TD width=50>
    ได้แก่
    </TD><TD width=173>โสมนัสโลภมูลจิต ๔</TD></TR><TR><TD>๒. การยิ้มแย้มของพระอรหันต์</TD><TD>
    ได้แก่
    </TD><TD>หสิตุปปาทจิต ๑</TD></TR><TR><TD>๓. การชื่นชมยินดีในบุญ </TD><TD>
    ได้แก่
    </TD><TD>โสมนัสมหากุศลจิต ๔</TD></TR><TR><TD>๔. การชื่นชมยินดีของพระอรหันต์ ที่ได้ฌาน </TD><TD>
    ได้แก่
    </TD><TD>โสมนัสมหากุศลจิต ๔</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=261>๓. จิตที่ทำให้รูปเกิดการร้องไห้ </TD><TD width=407>ความเศร้าโศกเสียใจ จนเกิดการร้องไห้ของคนเรานั้น เกิดจากความโกรธนั่นเอง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ดวง</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=262>๔. จิตที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว</TD><TD width=406>โดยทั่ว ๆ ไป คือ การยืน เดิน นั่ง นอน กระพริบตา จิตที่ทำให้เกิดอาการอย่างนี้ คือ จิต ๓๒ ดวง ได้แก่</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=188>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD rowSpan=5 width=124>
    [​IMG]
    </TD><TD width=43>
    </TD><TD width=230> </TD><TD width=48>
    </TD><TD width=205> </TD></TR><TR><TD rowSpan=3 width=43>
    [​IMG]
    </TD><TD height=42>๑. มโนทวาราวัชชนจิต </TD><TD>
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>๒. กามชวนจิต </TD><TD>
    ๒๙
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>๓. อภิญญาจิต </TD><TD>
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD width=43> </TD><TD> </TD><TD>
    </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=207>๕. จิตที่ทำให้เกิดการพูด</TD><TD width=461>รูปที่เกิดการพูดการเปล่งวาจาต่าง ๆ ได้แก่ จิต ๓๒ ดวง (เหมือนข้อ ๔)</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=300>๖. จิตตชรูปที่เป็นอิริยาบถน้อยใหญ่</TD><TD width=368>จิตที่ทำให้เกิด การยืน เดิน นั่ง นอน (อิริยาบถใหญ่ ๔) ได้แก่ จิต ๓๒ ดวง (เหมือนข้อ ๔)</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=315>๗. จิตตชรูปที่เป็นอิริยาบถใหญ่ตั้งมั่น </TD><TD width=353>คือ จิตที่ทำให้เกิดการยืน เดิน นั่ง นอน (อิริยาบถใหญ่ ๔ ) ที่เกิดขึ้นตามปกติขณะที่สบายดี (ไม่มีอาการเจ็บไข้ได้ป่วย ) ได้แก่ จิต ๕๘ ดวง คือ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=172>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD rowSpan=4 width=153>
    [​IMG]
    </TD><TD rowSpan=4 width=14>
    [​IMG]
    </TD><TD height=42 width=230>๑. มโนทวาราวัชชนจิต</TD><TD width=48>
    </TD><TD width=205> </TD></TR><TR><TD>๒. อภิญญาจิต</TD><TD>
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>๓. กามชวนจิต</TD><TD>
    ๒๙
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>๔. อัปปนาชวนจิต</TD><TD>
    ๒๖
    </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] คำว่า อุตในที่นี้ได้แก่ความเย็นและความร้อน คือ ธาตุไฟ นั่นเอง ความร้อน เรียกว่า อุณหเตโช ความเย็น เรียกว่า สีตเตโช อุตุนี้เป็นต้นเหตุหรือสมุฏฐานทำให้เกิดรูปขึ้นได้ทั้งในสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทำให้เกิดเป็นพลังความร้อนขึ้นในร่างกาย และเกิดขึ้นตั้งแต่ ฐีติขณะของปฏิสนธิจิต เรื่อยมาจนกระทั่งเป็นซากศพ (จิตดวงหนึ่ง ๆ มี ๓ ขณะ คือ อุปาทักขณะ ฐีติขณะ และ ภังคักขณะ) คือ ขณะเกิดขึ้น ขณะตั้งอยู่ และขณะดับไป เรียกว่า อนุขณะของจิต[/FONT]</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=284>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=628><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60 width=618>
    รูป ที่เกิดจากอุตุหรือเตโชธาตุ เป็นสมุฏฐาน เรียกว่า อุตุชรูป ๑๓ รูป คือ
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=218>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=415><TBODY><TR><TD height=42 width=190> </TD><TD rowSpan=5 width=19>
    [​IMG]
    </TD><TD width=146>มหาภูตรูป</TD><TD width=36></TD></TR><TR><TD> </TD><TD>โคจรรูป </TD><TD></TD></TR><TR><TD>
    อุตุชรูป รวม ๑๓ รูป
    </TD><TD>อาหารรูป</TD><TD></TD></TR><TR><TD> </TD><TD>ปริจเฉทรูป</TD><TD></TD></TR><TR><TD> </TD><TD>วิการรูป </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=140>อาหารสมุฏฐาน </TD><TD width=528>คำว่า อาหาร ได้แก่ ธรรมที่เป็นเหตุนำมาซึ่งผลของตนๆ มี ๔ อย่าง คือ
    กพฬีการาหาร ได้แก่ อาหารที่เรากินเข้าไปเป็นคำ ๆ แล้วย่อยเป็นโอชา นำไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เรียกว่า รูปอาหาร อาหาร มื้อหนึ่งๆ จะช่วยหล่อเลี้ยงร่างกายได้ถึง ๗ วัน เช่นผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติในมนุษยภูมิ จะอยู่ได้โดยไม่ต้องรับประทานอาหารเลย
    ส่วน นามอาหาร มี ๓ อย่าง ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร และวิญญาณาหาร ซึ่งทำให้เกิดผลธรรมของตน ๆ ตามมา เช่น ผัสสะเจตสิก นำมา ซึ่งเวทนาเจตสิก วิญญาณ นำมา ซึ่ง รูป - นาม เป็นต้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=690><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    สรุป รูปที่เกิดจากสมุฏฐาน ๔
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=685><TBODY><TR><TD width=289>๑. รูปที่เกิดจากกรรมเป็นสมุฏฐาน </TD><TD width=58>
    ชื่อว่า
    </TD><TD width=153>กัมมชรูป</TD><TD width=45>
    มี
    </TD><TD width=62>
    ๑๘
    </TD><TD width=42>
    รูป
    </TD></TR><TR><TD>๒. รูปที่เกิดจากจิตเป็นสมุฏฐาน</TD><TD>
    "
    </TD><TD>จิตตสมุฏฐาน</TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๕
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๓. รูปที่เกิดจากอุตุเป็นสมุฏฐาน</TD><TD>
    "
    </TD><TD>อุตุชรูป </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๓
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๔. รูปที่เกิดจากอาหารเป็นสมุฏฐาน</TD><TD>
    "
    </TD><TD>อาหารชรูป</TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๒
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=511>
    <TABLE border=2 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    ตารางสรุปรูป ๒๘ ที่เกิดได้กับสมุฏฐาน ๔
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=448><TABLE border=0 cellSpacing=2 borderColor=#006600 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    จำนวนรูป
    </TD><TD bgColor=#f7ffea vAlign=top width=70 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=70><TBODY><TR><TD width=80>
    เกิดจาก
    </TD></TR><TR><TD width=80>
    กรรม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#e3e8f2 vAlign=top width=70 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=70><TBODY><TR><TD width=80>
    เกิดจาก
    </TD></TR><TR><TD width=80>
    จิต
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#f7ffea vAlign=top width=70 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=70><TBODY><TR><TD width=80>
    เกิดจาก
    </TD></TR><TR><TD width=80>
    อุต
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#e3e8f2 vAlign=top width=70 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=70><TBODY><TR><TD width=80>
    เกิดจาก
    </TD></TR><TR><TD width=80>
    อาหาร
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#e1f4e2 vAlign=center width=164 align=middle>หมายเหตุ</TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=199><TBODY><TR><TD width=164>มหาภูตรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=23></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=199><TBODY><TR><TD width=164>ปสาทรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=23></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๑ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff vAlign=top width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=162>โคจรรูป(เว้นสัททะ)</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=164>สัททรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๒ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=199><TBODY><TR><TD width=165>ภาวรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=22></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๑ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=165>หทยรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๑ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff width=203 align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=167>ชีวิตรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=167>อาหารรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=167>ปริจเฉทรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๔ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=167>วิญญัติรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๑ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=167>วิการรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle> </TD><TD bgColor=#ffece3 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=163><TBODY><TR><TD width=85>เกิดได้</TD><TD width=66>๓ อย่าง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#99ccff align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=162>ลักขณรูป</TD><TD bgColor=#ffffff width=21></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle> </TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>เกิดไม่ได้เลย</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=198><TBODY><TR><TD width=146>
    รวม
    </TD><TD width=40>
    ๒๘
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle>๑๘</TD><TD align=middle>๑๕</TD><TD align=middle>๑๓</TD><TD align=middle>๑๒</TD><TD align=middle> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> รูปร่างกายของมนุษย์ สัตว์ เทวดา พรหม ถ้าเราไม่ได้ศึกษาเรื่อง รูปปรมัตถ์ แล้ว จะเข้าใจว่า สิ่งที่ทำ ให้ร่างกายเจริญเติบโต และมีชีวิตอยู่ได้คืออาหารอย่างเดียว แต่ที่แท้จริงแล้วต้องอาศัยอีก ๓ อย่าง คือ กรรม จิต และอุตุ ดังได้กล่าวมาแล้ว ในทำนองเดียวกันการเจ็บไข้ได้ป่วยของคนเรา ก็เกิดจาก กรรม จิต อุตุ อาหาร เช่นเดียวกัน โรคที่เกิดจากกรรมเมื่อหมดกรรมก็มีเหตุให้ได้พบกับหมอดี พยาบาลดี ยาดี ทำให้โรคหายได้เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680><TBODY><TR><TD vAlign=top width=120>รูปกลาป</TD><TD width=548>คือ กลุ่มของรูปที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ๆ ที่มีอยู่ในร่างกายของคน และสัตว์ทั้งหลาย เกิดด้วยอำนาจของกรรมก็มี ด้วยอำนาจของจิตก็มี อำนาจของอุตุก็มี หรือด้วยอำนาจของอาหารก็มี รวมแล้วมี ๒๑ กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะมีลักษณะ ๓ ประการ </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> เมื่อพิจารณาตามลักษณะการเกิดขึ้นของรูปกลาป ทั้ง ๒๑ กลาป (กลุ่ม) แล้ว แบ่งได้ ๔ อย่าง คือ</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=680 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD width=236>
    ๑. รูปกลาปที่เกิดจาก
    </TD><TD width=74>กรรม</TD><TD width=77>
    เรียกว่า
    </TD><TD width=141>กรรมชกลาป </TD><TD width=27>
    มี
    </TD><TD width=22>
    </TD><TD width=61>
    กลาป
    </TD></TR><TR><TD>
    ๒. รูปกลาปที่เกิดจาก
    </TD><TD>จิต </TD><TD>
    "
    </TD><TD>จิตตชกลาป </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>
    ๓. รูปกลาปที่เกิดจาก
    </TD><TD>อุตุ </TD><TD>
    "
    </TD><TD>อุตุชกลาป </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>
    ๔. รูปกลาปที่เกิดจาก
    </TD><TD>อาหาร</TD><TD>
    "
    </TD><TD>อาหารชกลาป </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    </TD><TD>
    "
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>ดูภาพสมมุติประกอบ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=690><TBODY><TR><TD vAlign=top width=127>กรรมชกลาป </TD><TD width=551>คือ กลุ่มรูปที่เกิดจากอำนาจของกรรม ในมนุษย์ เทวดา รูปพรหม เกิดขึ้นจากอำนาจของกุศลกรรม (บุญ) นรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน เกิดขึ้นจากอำนาจของอกุศลกรรม (บาป) กรรมชกลาป มี ๙ กลาป คือ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=690><TBODY><TR><TD width=173>๑. จักขุทสกกลาป</TD><TD width=75>หมายถึง </TD><TD width=159>
    กลาปที่มีจำนวนรูป
    </TD><TD width=42>
    ๑๐ มี
    </TD><TD width=101>จักขุปสาท </TD><TD width=104>
    เป็นประธาน
    </TD></TR><TR><TD>๒. โสตทสกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๐ มี
    </TD><TD>โสตปสาท </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๓. ฆานทสกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๐ มี
    </TD><TD>ฆานปสาท </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๔. ชิวหาทสกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๐ มี
    </TD><TD>ชิวหาปสาท </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๕. กายทสกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๐ มี
    </TD><TD>กายปสาท</TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>๖. อิตถีภาวทสกกลาป</TD><TD vAlign=top>หมายถึง </TD><TD vAlign=top>
    "
    </TD><TD vAlign=top>
    ๑๐ มี
    </TD><TD vAlign=top>อิตถีภาวรูป </TD><TD vAlign=top>
    "
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>๗. ปุริสภาวทสกกลาป</TD><TD vAlign=top>หมายถึง </TD><TD vAlign=top>
    "
    </TD><TD vAlign=top>
    ๑๐ มี
    </TD><TD vAlign=top>ปุริสภาวรูป </TD><TD vAlign=top>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๘. วัตถุทสกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๑๐ มี
    </TD><TD>หทยวัตถุรูป </TD><TD>
    "
    </TD></TR><TR><TD>๙. ชีวิตนวกกลาป</TD><TD>หมายถึง </TD><TD>
    "
    </TD><TD>
    ๙ มี
    </TD><TD>ชีวิตรูป</TD><TD>
    "
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    ดูภาพสมมุติประกอบ (แสดงจำนวนรูปที่รวมเป็นกลาปหนึ่ง ๆ)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=130>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    ที่อยู่ของกลุ่มรูป (กลาป) ที่เกิดจากกรรมในร่างกาย
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> ในจำนวนรูปกลาปที่เกิดจากกรรม จะเกิดเป็นกลุ่ม ๆ อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำหน้าที่ของตน ๆ โดยเฉพาะเท่านั้น เช่น กลุ่มรูปที่เกิดที่ตาก็ทำหน้าที่เหมือนจอภาพสำหรับให้รูปารมณ์ (สี) ปรากฏเท่านั้น จะทำหน้าที่อย่างอื่นไม่ได้ เช่น จะใช้ตา (จักขุทสกกลาป) ไปฟังเสียงแทนหู (โสตทสกกลาป) ไม่ได้ เป็นต้น </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> ที่อยู่ที่ทำงานของกรรมชกลาป ๙ ในร่างกายคนเรา อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ดังนี้ </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=690><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD> จิตตชกลาป คือ กลุ่มของรูปที่เกิดจากจิตเป็นสมุฏฐาน ในจำนวนรูปกลาป ๒๑ กลุ่ม กลุ่มรูปที่เกิดจากอำนาจของจิตก็มี เช่น เวลาที่คนเราหัวเราะ (รูปหัวเราะ) ก็เกิดด้วยอำนาจของความดีใจ พอใจ ถูกใจ (โสมนัส) นั่นเอง อาการที่แสดงออกมา จะผิดกับการร้องไห้ ซึ่งเกิดจากจิตที่เศร้าใจเสียใจ (โทสะ) ดังนั้นกลุ่มรูปที่แสดงออกมา ในลักษณะต่าง ๆ ให้เราเห็นนั้น ก็เกิดขึ้นจากอำนาจของจิตนั่นเอง หรือมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เกิด รูปที่เกิดขึ้นจากจิต หรือจากอำนาจของจิตนี้ มี ๖ กลุ่ม (กลาป) คือ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=697 bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD width=691>๑. สุทธัฏฐกกลาป คือ กลุ่มรูปพื้นฐาน มี ๘ รูป </TD></TR><TR><TD>๒. กายวิญญัตินวกกลาป คือ กลุ่มรูปที่ทำให้กายเคลื่อนไหว มี ๙ รูป</TD></TR><TR><TD>๓. วจีวิญญัติสัทททสกกลาป คือ กลุ่มรูปที่ทำให้เกิดการพูด มี ๑๐ รูป </TD></TR><TR><TD>๔. ลหุตาทิเอกาทสกกลาป คือ กลุ่มรูปที่ทำให้เกิดความเบา มี ๑๑ รูป</TD></TR><TR><TD>๕.กายวิญญัติลหุตาทิทวาทสกกลาป คือกลุ่มรูปที่ทำให้เกิดการคล่องตัวในการเคลื่อนไหวกายมี ๑๒ รูป</TD></TR><TR><TD>๖. วจีวิญญัติสัททลหุตาทิเตรสกกลาป คือ กลุ่มรูปที่ทำให้เกิดการพูดที่คล่องแคล่ว มี ๑๓ รูป</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD>อุตุชกลาป คือ กลุ่มของรูปที่เกิดมาจากอุตุ คือ ความเย็น และความร้อน เป็นสมุฏฐาน เกิดได้ทั้งภายในร่างกาย และภายนอกร่างกาย คือเกิดได้ทั้งในสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ถ้าในสิ่งที่มีชีวิตอุตุชกลาปย่อมเกิดได้ทั้งหมด ๔ กลาป ถ้าภายนอกตัวคนสัตว์จะเกิดได้เพียง ๒ กลาปเท่านั้น</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> อุตุชกลาป มี ๔ กลุ่ม (กลาป) คือ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=100>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD> อาหารชกลาป คือ กลุ่มรูปที่เกิดจากอาหาร คนสัตว์จะมีชีวิตอยู่ได้ก็ต้องอาศัยอาหารทั้งนั้น อาหารมีทั้งชนิดที่ เป็นรูป เรียกว่า รูปอาหาร และอาหารที่เป็นนาม เรียกว่า นามอาหาร
    รูปอาหาร ก็คืออาหารที่เรารับประทานเข้า ไปเป็นคำ ๆ เรียกว่า กพฬีการาหาร เช่น ข้าว น้ำ ยา หรือวิตามินต่าง ๆ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตได้
    ส่วนนามอาหาร มี ๓ คือ ผัสสาหาร มโนสัณเจตนาหาร และวิญญาณาหาร จะได้ขยายความในโอกาสต่อไป เราจะศึกษา รูปอาหาร ก่อน รูปอาหารเมื่อจัดเป็นกลาปแล้ว ได้ ๒ กลาป คือ
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=220>๑. สุทธัฏฐกกลาป </TD><TD width=441>คือ กลุ่มของรูปที่เกิดจากอาหาร ที่เรารับประทานเข้าไป หรือยาที่ยังไม่ย่อย หรือออกฤทธิ์ ทำให้เกิดการอึดอัดหรือง่วงซึม ไม่กระปรี้กระเปร่า เนื่องจากยัง ไม่มีวิการรูป ๓ คือ รูปเบา รูปอ่อน หรือรูปที่ควรแก่การงานเกิดร่วมด้วย ยังไม่เกิดความคล่องตัว ที่จะทำงานให้เกิดมีประสิทธิภาพขึ้นมา กลาปรูปนี้มีเพียง ๘ รูปเท่านั้น คือ อวินิพโภครูป ๘</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660><TBODY><TR><TD vAlign=top width=220>๒. ลหุตาทิเอกาทสกกลาป</TD><TD width=441>คือ อาหารหรือยาที่ย่อยเป็นโอชะแล้ว มีวิการรูป ๓ เข้าประกอบด้วยจึงนำเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทำให้ร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง กลาปรูปนี้จึงประกอบด้วย อวินิพโภครูป ๘ และวิการรูป ๓</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...