เจตสิก ๕๒ เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต รู้อารมณ์เดียวกับจิต อาศัยวัตถุเดียวกับจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 14 กรกฎาคม 2012.

  1. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    มาดูพี่หนีฝ่าไฟแดง
     
  2. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    พึ่งทักกันมิใช่หรอ จิตตินนท์ ^^

    เก่งเนอะ จดจำได้ติดใจ
     
  3. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เชื่อสิ เขาไม่ได้มองว่าน้าเอกบ้า แปลก แหวกแนวอะไรหรอก ^^

    อย่าตัดพ้อเลย สบายๆครับ คุยกันปกตินี่แหละ
     
  4. theerasp

    theerasp Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +36
    ทุกข์ทุกข์ นี่แหละของจริง อย่างอื่น ก็ แฮะๆๆๆๆๆ เผ่นดีกว่า
     
  5. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>พวกที่ ๒ เข้าปรุงแต่งจิตใจในคนบางคน (ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวง)</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>แต่ละดวงมีลักษณะดังนี้</TD></TR><TR><TD>๑) วิตกเจตสิก เป็นธรรมชาติที่ยกจิตขึ้นสู่ความคิดนึก หรือตรึกไปในเรื่องราวต่าง ๆ เป็นเรื่องราวที่ผ่านมาแล้วบ้าง เรื่องราวที่ยังไม่เกิดขึ้นบ้าง เช่น ไปดูภาพยนตร์ เรื่องที่สนุกสนานแล้ว นำมาเล่าสู่กันฟัง ผู้เล่าก็ยกจิตเล่าไปตาม เรื่องราว ผู้ฟังก็ยกจิต ฟังตามเรื่องราวที่เล่า ทำให้เกิดความสนุก สนานไปด้วยไม่ง่วงเหงาหาวนอน </TD></TR><TR><TD height=132><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD width="78%">อุปมาเหมือนกับบุรุษไปรษณีย์ ที่นำจดหมายเรื่องโน้นเรื่องนี้ มาส่งทำให้จิต ได้นึกคิดต่อ วิตกเจตสิก นี้เมื่อยกจิต ขึ้นสู่เรื่องราวบ่อย ๆ จะไม่เกิดอาการง่วง คนที่นอนไม่หลับก็คือคนที่หยุดคิดไม่ได้ จิตจึงไม่ง่วงไม่หลับ ถ้าจะให้หลับ ก็คือเลิกคิด หยุดคิดให้เป็นแล้ว จะหลับง่ายตามตั้งใจ</TD><TD width="22%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>๒) วิจารเจตสิก เป็นธรรมชาติที่ประคับประคองจิต ไว้ในเรื่องราวหรืออารมณ์ต่างๆ ตามที่ต้องการมิให้ไปที่อื่น การทำงานของวิตกเจตสิก และวิจารเจตสิกนี้ ใกล้ชิดกันมาก เหมือนกับนกที่บินถลาอยู่กลางอากาศ เมื่อกระพือปีกแล้วจะร่อนถลาไป วิตกเจตสิกเหมือนกับ การกระพือปีกของนก วิจารเจตสิกเหมือนกับการร่อนถลาไปของนก ซึ่งจะเห็นว่าการร่อนถลาไปของนก คือวิจารเจตสิกนั้น มีความสุขุมกว่าการกระพือปีก คือวิตกเจตสิก ทั้งสองนี้จะทำงานร่วมกันเสมอสำหรับบุคคลที่ยังไม่ถึงฌาน ถ้าเป็นจิตของผู้ถึงฌานที่ ๑ และฌานที่ ๒ แล้ว เจตสิกทั้งสองนี้ จะแยกออกจากกัน นอกจากนี้ วิจารเจตสิก ยังเป็นปรปักษธรรมกับวิจิกิจฉาเจตสิกที่อยู่ ในนิวรณธรรม</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>๓) อธิโมกขเจตสิก เป็นธรรมชาติที่ช่วยในการตัดสินใจ ไม่เกิดการลังเลสามารถตัดสินใจได้ เด็ดขาดไม่ว่าการตัดสินใจนั้น จะถูกหรือผิดก็ตาม </TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD>เหมือนกับการขับรถไปถึงทางแยก ที่ไม่มีเครื่องหมายบอกไว้ ข้างหน้าว่าจะไปไหน คนขับก็จะต้องตัดสินใจทันทีว่า จะไปทางซ้ายหรือทางขวา คนที่มีอธิโมกขเจตสิกอยู่ในใจ จะเป็นคนที่กล้าได้กล้าเสีย ตัดสินใจได้เด็ดขาด จึงเป็นคนที่ตรงกันข้ามกับคนขี้ขลาด ที่ไม่กล้าตัดสินใจ (วิจิกิจฉา) จะทำอะไรสักอย่างหนึ่งก็คิดแล้วคิดอีกตัดสินใจไม่ได้</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>๔) วิริยเจตสิก เป็นธรรมชาติที่เพียรพยายาม เมื่อเกิดขึ้นกับคนใด ก็จะทำให้จิตใจของคนนั้น มีความอดทนต่อสู้กับความยากลำบาก มีความอุตสาหะพากเพียร ไม่รู้สึกท้อถอยในการงาน ขยันหมั่นเพียร ในการทำบุญตักบาตร รักษาศีล เจริญภาวนา ถ้าเป็นคนพื้นเพที่มีจิตใจต่ำ ก็จะขยันไปในทางความชั่วทำบาปอกุศล สร้างความเดือดร้อนให้กับผู้อื่นร่ำไป</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ในบางครั้งจิตของคนเรา ก็เกิดความเบื่อหน่ายท้อถอย ในการที่จะทำความดี เพราะเข้าใจว่าทำดีแล้วไม่ได้ดี วิธีที่จะปลุกใจขึ้นมา ให้ทำความดีต่อไปนั้น เขาให้พิจารณาถึง สังเวควัตถุ ๘ประการ ให้นึกถึงความทุกข์ ที่รออยู่ข้างหน้ามากมาย ถ้าเราไม่ทำความดี ก็ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้เลย คือ ทุกข์ที่เกิดจากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกข์ที่จะต้องไปอยู่ในอบายภูมิทั้งสี่ </TD></TR><TR><TD height=42><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD width="66%">คือ นรก เปรต อสุรกาย และสัตว์เดรัจฉาน เมื่อเราเห็นทุกข์โทษของสิ่งเหล่านี้ เราก็จะเกิดวิริยะ เพียรพยายามขึ้นมาเอง ในเรื่องที่เกี่ยวกับการงาน การเดินทาง และเรื่องอาหารการรับประทาน ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี</TD><TD width="34%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>๕) ปีติเจตสิก คือความปลาบปลื้ม หรือความอิ่มใจในอารมณ์ จะเกิดขึ้นในขณะที่ เราทำบุญทำกุศล นั่งสมาธิเจริญฌาน หรือแม้แต่ในขณะที่ เรายินดีพอใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาก ๆ ปีตินี้ก็เกิดขึ้นได้ </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=3 cellSpacing=5 cellPadding=2 width=500 bgColor=#ffd9b3><TBODY><TR><TD width=487>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=380 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 width=580>ลักษณะของปีติเจตสิก มี ๕ ประการ คือ</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD width=30 align=right>(๑)</TD><TD width=506>ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>(๒)</TD><TD>ปลาบปลื้มใจเป็นขณะๆ ซึ่งเกิดขึ้นบ่อย ๆ</TD></TR><TR><TD align=right>(๓)</TD><TD>ปลาบปลื้มใจจนตัวโยกตัวโคลง</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>(๔)</TD><TD>ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย</TD></TR><TR><TD align=right>(๕)</TD><TD>ปลาบปลื้มใจจนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วกายและใจ</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ปีติเจตสิกนี้ เป็นองค์ประกอบของฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๓ ด้วย คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา รายละเอียดจะได้ศึกษากันต่อไป</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>๖) ฉันทเจตสิก มีความพอใจในขณะที่เห็นของสวย ๆ เสียงเพราะ ๆ กลิ่นหอม ๆ รสอาหาร ที่อร่อย ๆ เป็นต้น เมื่อสิ่งเหล่านี้หมดไป ย่อมจะเสาะแสวงหามาอีก บางทีก็ได้มาในทางที่ไม่ถูกต้องเป็นทุจริตคือ ทำบาปอกุศลกรรมบ้าง บางทีก็ได้มาด้วยวิธีที่ถูกต้องเป็นสุจริต จะเห็นได้ว่าความต้องการของ ฉันทเจตสิก กับ โลภเจตสิก นั้นใกล้เคียงกันมาก แต่ความต้องการที่เป็นฉันทเจตสิก กับ ความต้องการของโลภเจตสิก ไม่เหมือนกัน คือ
    ความต้องการของโลภเจตสิกนั้น ย่อมยึดและติดใจอยู่ในอารมณ์นั้นๆ
    ส่วนความต้องการของฉันทเจตสิก ไม่ยึดและติดใจในอารมณ์ เหมือนการรับประทานขนม กับ การรับประทานยา เมื่อหายจากโรคแล้ว ก็คงไม่ติดใจในรสของยาอีก ที่ต้องการยา เพื่อรักษาให้หายจากโรคเท่านั้น เปรียบได้กับฉันทเจตสิกนั่นเอง
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="70%"><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]


    </TD><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=55 width=694>
    สรุป ปกิณณกเจตสิก ๖


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD width=209>เจตสิก</TD><TD width=39 align=middle>วิตก</TD><TD bgColor=#f6f6f6 width=52 align=middle>วิจาร </TD><TD width=74 align=middle>อธิโมกข์</TD><TD bgColor=#f6f6f6 width=53 align=middle>วิริยะ</TD><TD width=42 align=middle>ปีติ</TD><TD bgColor=#f6f6f6 width=57 align=middle>ฉันทะ</TD></TR><TR><TD>จำนวนจิตที่เจตสิกเข้าประกอบได้ </TD><TD align=middle>๕๕</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>๖๖</TD><TD align=middle>๑๑๐</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>๑๐๕</TD><TD align=middle>๕๑</TD><TD bgColor=#f6f6f6 align=middle>๑๐๑</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ภาพแสดงอัญญสมานาเจตสิก ๑๓ </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 กรกฎาคม 2012
  6. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    เจตสิก 52 ประเภท แบ่งเป็น 3 จำพวกใหญ่ คือ
    1. อัญญสมานาเจตสิก 13 ชนิด เป็นเจตสิกกลางเป็นได้ทั้งกุศลและอกุศล
    2. อกุศลเจตสิก 14 ชนิด เป็นเจตสิกที่เข้ากับฝ่ายอกุศลอย่างเดียว
    3. โสภณเจตสิก 25 ชนิด เป็นเจตสิกที่เข้ากับฝ่ายกุศลอย่างเดียว
    ..

    ในฝ่ายอัญญสมานาเจตสิก 13 (เจตสิกกลาง)
    สัพพสาธารณเจตสิกเจ็ด ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคตา ชีวิตินทรีย์ มนสิการ เกิดกับจิตทุกดวง
    ส่วนปกิณกะเจตสิกหก วิตก วิจารณ์ อธิโมกข์ วิริยะ ปิติ ฉันทะ
    ทำให้เข้าใจเรื่องสมาธิ ทั้งฝ่ายมิจฉาและสัมมา
    เพราะเกิดร่วมได้กับฝ่ายอกุศล และกุศล
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  7. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ศิษย์พี่ใหญ่ ช่างสังเกตุ ^^
     
  8. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    ก็ถ้าในนามพญาตีนลายจุด
    เขาก็ชอบตัดพ้อ .. อยู่แล้วนิ..
     
  9. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    มีได้ทั้ง มิฉาสมาธิ และ สัมมาสมาธิ
     
  10. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    ก็อภิธรรมน่ะ เขาจ๊าบบบบบ (ไม่ได้ไปเรียนหรอก)
    ช่วยเรื่องสงสัย ในรายละเอียด หลายๆอย่างได้
    สงสัยอะไร ต้องพึ่งอภิธรรมออนไลน์ (จากแม่กูเกิ้ล)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  11. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อ่อ ใช่ พญาตีนลายจุด

    ธรรมไม่เที่ยงหนอ รู้สึกอย่างไรก็ขวนขวายแสดงออกอย่างนั้น
     
  12. JitJailove

    JitJailove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    736
    ค่าพลัง:
    +741
    นิวรณ์ เล่าปัง วิพากษ์วิจารณ์กันไป
    เราว่าคนเรียนพระอภิธรรม
    จะเกิดความเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ
    ถ้าเรียนแล้วนำมาปฏิบัติ
    จะสังเกตุตนเองแล้วรู้
    คนรอบข้างก็รู้ถึงความเปลี่ยนแปลงของเรา
    กล้าท้าให้พิสูจน์ แต่ว่าต้องกล้ามาเรียน
    ไม่ต้องไปสนใจว่า พระอภิธรรมอย่างโง้นอย่างงี้
    แต่มาเรียน เรียนแล้วนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
    กล้ารึป่าว รับรองเล่าปัง นิวรณ์ จะเป็นคนใหม่
    ไม่ออกมาแสดงอาการโพสท์แบบนี้แน่นอน

    แล้วพวกที่คิดว่าตนเองได้ญาณ ได้ฌาน ก็จะรู้ตัวว่าได้จริงหรือไม่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  13. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ศิษย์พี่ใหญ่ มีความสนใจอยู่ก่อนแล้ว

    บางคนไม่สนใจก้ไม่เอาเลย
     
  14. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    พูดถึงเรื่องมิจฉาสมาธิ
    บางทีความโกรธ ก็รวมสมาธิได้ ด้วยวิตกวิจารณ์ ที่แบบว่าแสนโกรธมักๆ
    ไฟ อาจออกจากตาได้
    เปลี่ยนเป็นออกจากปากจากหูก็แล้วกัน

    อาจจะดีก็ได้นะ คนศึกษาอภิธรรม แล้วชวนให้ยิ่งปวดหัวก็มี
    ไม่น้อยหน้ากับคนที่คุยเรื่องอภิญญา

    ฝึกสติปัฏฐาน ทางสายเอก.. ใบไม้ในกำมือ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  15. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เขาบอกว่าผู้มักโกรธ ผิวพรรณหยาบ

    เวลาโกรธเกิดขึ้น ก็มากันครบ ขันธ์ ธาตุ อายตนะ อินทรีย์

    ในสติปัฏฐาน ก็เกิดครบ ทั้ง๔ ฐาน

    แสดงออกทางตา แสดงออกทางธาตุ มือไม้ สีผิว หัวใจเผาไหม้ มีหมดเลย ^^

    ส่วนสมาธิจากความโกรธก็อาจเกิดขึ้นได้

    ศิษย์พี่ ขยายหน่อยสิ ^^
     
  16. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    มันก็เกิด ได้ ทั้งโทสะ โลภะ โมหะ (ตามอกุศลเจตสิกที่เกิด)
    เลือกเอาที่ชอบ

    สมัยเอ๊าะ นี่ตอนนอนหลับเห็นดั้งจมูกคนนึงตล๊อด.. เป็นสมาธิมากมาย
    มันก็ไม่มีประโยชน์อะไร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  17. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    สมัยเอ๊าะ :cool:


    ตอนนี้มองไปทางไหน เห็นแต่แมวรึเปล่า ^^
     
  18. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
    ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค

    ไปเจอมาเลย นำมาเผื่อแผ่สหายธรรม

    ก็ที่สาวกอภิธรรมเขาศึกษากันนั้น เป็นเรื่องเหล่านี้ทั้งนั้น

    ที่นำมาลงนี้เป็นเพียงชื่อ แต่พวกเขาเหล่านั้นศึกษาความหมาย

    เพื่อเป็นปัจจัยให้สุตะบริบูรณ์ เป็นปัจจัยให้จิตมยญาณบริบูรณ์ เป็นปัจจัยให้สติเกิดมาก ระลึกได้มาก ถูกต้องอุชุ ตรงธรรม

    เพื่อประโยชน์ในการเจริญวิปัสสนา สติปัฏฐาน
     
  19. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ถามว่า นิพพานควรทำให้แจ้งไหม นิโรธควรทำให้แจ้งไหม ตอบว่า ควรทำให้แจ้ง
    ธรรมใดๆของพระศาสดาก็ควรทำให้แจ้ง แต่ควรดูตามฐานะตน ศึกษาตามฐานะตน
    พระเสขะคือผู้ศึกษา ภายในตน ไม่ใช่ไปศึกษาภายนอก
    การจดจำ ก็ต้องรู้ว่า เรื่องที่เราจะฟังนั้นก็เพื่อปฏิบัติ อยู่ในฐานะที่เราจะก้าวต่อไป และทบทวนได้
    ไม่ใช่บ้าเรียนไม่รู้อิโหน่อิเหน่ แบบพวกสาวกอภิธรรม
     
  20. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075

    ลุงรู้จัก สุตมยปัญญาไหม

    ลุงรู้จัก จินตมยปัญญาไหม

    ลุงรู้จัก ภาวนามยปัญญาไหม

    ลุงรู้จัก ฟังธรรมสัตปุรุษไหม

    ลุงรู้จัก โยนิโสมนสิการไหม

    ลุงรู้จัก วิปัสสนา สติปัฏฐานไหม



    ย่อๆเลย จำแนก แตกนิจจัง ฆนะสัญญาออกมาพิจาณาสภาวะธรรมที่ปรากฏเดี๋ยวนี่ ขณะนี้

    ปัญญาขั้นนี้ ละได้ ๓ อย่าง

    คือ วิจิกิจฉา สักกายทิฏฐิ สีลพรตปรามาส

    เพราะดับความเห็นผิด ความติดข้องในคนสัตว์

    พวกนี้ เป็นวิปัสสนา

    เจริญสติปัฏฐาน รู้ได้กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต ธรรมในธรรม

    ที่พูดอยู่ทุกวันน่ะ เห็น ได้กลิ่น สัมผัส รู้ร้อนอ่อนแข็ง

    หรือ ขันธ์ ธาตุ อายตนะ อินทรีย์ อริยะสัจ ปฏิจสมุปบาท

    พวกนี้ เจริญสติรู้กันได้


    งงล่ะดิ ^^
     

แชร์หน้านี้

Loading...