รวมคำทำนายและวิเคราะห์ภัยพิบัติ - What's Next ?

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย hiflyer, 8 พฤศจิกายน 2012.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    อันนี้ทำให้ดูว่า เหตุการณ์เดียวกัน ถ้าคุณอยู่คนละตำแหน่งบนโลกใบนี้ จะรับรู้ต่างกันอย่างไร โดยการเปรียบเทียบ Ground Motion ของสถานีตรวจวัด


    [​IMG]

    LET IT ROLL .. LET IT BREAK .. LET IT BE AS IT BE !

    .
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ตื่นตา! นาซาเปิดภาพสุดหายาก"กาแล็คซี่ชนกัน"ก่อตัวเป็น"ดาวใหม่
    วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เวลา 14:30:04 น มติชน ออนไลน์


    [​IMG]

    สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 25 มิ.ย.ว่า องค์การบริหารการบินและอวกาศ หรือ"นาซา"ได้เปิดเผยภาพหายากชวนตื่นตา เป็นภาพการชนกันของกาแล็คซี่ 2 แห่ง ซึ่งถ่ายด้วยกล้องโทรทัศน์"ฮับเบิล"ของนาซา
    รายงานระบุว่า ภาพดังกล่าวเป็นกาแล็คซี่อันไกลโพ้นสองแห่ง ตั้งอยู่ใกล้กลุ่มดาวฤกษ์"Hydra" ซึ่งอยู่ห่างจากโลกราว 326 ล้านปีแสง ซึ่งนาซาบอกว่า เป็นภาพคล้ายนกเพนกวินกำลังปกป้องไข่ของมัน โดยผู้เชี่ยวชาญระบุว่า การชนกันดังกล่าวเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนมวลสารของกาแล็คซี่ทั้งสอง ทำให้การเกิดระเบิดตัวครั้งใหญ่ โดยกาแล็คซี่หนึ่งที่ก่อตัวเป็นรูปไข่ได้ดึงกาแล็คซี่อีกแห่งเข้ามาร่วมก่อตัวกัน และยังปรากฎภาพของก๊าซและฝุ่นที่ถูกดึงจากกาแล็คซี่ทั้งสอง ซึ่งถูกกดบีบระหว่างการเผชิญชนกันระหว่างกาแล็คซี่ทั้งสอง ซึ่งได้กลายเป็นการก่อตัวของดวงดาวใหม่ด้วย

    .
     
  4. boonma05

    boonma05 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2008
    โพสต์:
    141
    ค่าพลัง:
    +516
    ภัยพิบัติตามคำทำนายยังไม่เกิด เกิดแต่ flood กระทู้ในบอร์ด แค่อ่านหัวกระทู้ก็ตาลายแล้วค่ะ
     
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    .


    ตั้งแต่ได้มีการสำรวจและค้นหา Near-Earth Objects อย่างจริงจังในปี 1992 จนบัดนี้ได้มีการค้นพบ NEO ( Asteroid และ Comet ที่เข้ามาใกล้โลก ) จำนวนกว่า 10,000 ดวงแล้ว ในจำนวนนี้ มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่ฟุต ไปถึงขนาดใหญ่ประมาณ 41 ก.ม. และมีประมาณ 10 % ที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 ก.ม. ซึ่งทางนาซ่าคาดว่า ยังมีอีกนับแสนดวงที่ยังไม่ได้ค้นพบ และอยู่ในรัศมี 45 ล้าน ก.ม. จากโลกเรา ปัจจุบันอัตราการค้นพบ NEO อยู่ที่ประมาณ 1,000 ดวงต่อปี NEO ที่เพิ่งค้นพบล่าสุดเมื่อ 18 มิย. 2556 คือ 2013 MZ5 ขนาด 300 เมตร
     
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ภัยพิบัติเกิดอยู่ทุกวันไม่เคยหยุด เพียงแต่ว่าไม่ได้เกิดทุกที่พร้อมกันเท่านั้นเอง

    ที่ไหนที่มีเหตุ มีปัจจัยพร้อม เหมาะสม มันก็เกิด แต่ที่ไหนไม่มีเหตุ ไม่มีความเหมาะสม มันก็ไม่เกิด จะบังคับให้เกิด ก็เป็นไปไม่ได้

    ภัยพิบัติ ผมแยกตามลักษณะการเกิด ได้ 2 กลุ่ม
    1. แบบเกิดเป็นประจำ เฉพาะถิ่น(ตำแหน่ง) ขึ้นกับภูมิประเทศ โซน เช่น แผ่นดินไหว ก็จะเกิดตามรอยเลื่อน(Fualt) แนวมุดสอด(Subduction Zone), ความแห้งแล้ง, ไฟป่า, น้ำท่วม, ความหนาวเย็น, พายุหมุน, สึนามิ ฯลฯ
    2. แบบไม่ประจำ ไม่แน่นอน นานๆเกิดที ซึ่งไม่รู้ว่าจะเกิดเมื่อไร โดยดูจากประวัติศาสตร์ว่าเคยเกิดไหม จะหลีกเลี่ยง ป้องกันอย่างไร

    ข้อมูลเดิมๆที่แทบทุกคนจะรู้กันอยู่แล้ว ขอ replay อีกครั้ง

    ประเทศไทย ในแต่ละภาคก็จะมีความเสี่ยงกับภัยพิบัติที่ไม่เหมือนกัน เช่น
    ภาคเหนือ - แผ่นดินไหว, น้ำป่าไหลหลาก, ดินทรุด ดินถล่ม, ไฟป่า ...
    ภาคกลาง, ภาคตะวันออก - น้ำท่วม พายุหมุน, สึนามิ (จังหวัดที่ติดทะเล) ...
    ภาคใต้ - น้ำป่าไหลหลาก, ดินทรุด ดินถล่ม, แผ่นดินไหว, สึนามิ, พายุหมุน ..
    ภาคอีสาน - ความแห้งแล้ง, พายุ น้ำท่วม ...

    แผ่นดินไหว กลุ่มเสี่ยงก็จังหวัดที่อยู่ในโซนของรอยเลื่อน (รัศมีจากรอยเลื่อน 100 กม. )
    สึนามิ สามารถขึ้นฝั่งและทำความเสียหายได้ นับร้อยๆเมตร ขึ้นกับความลาดชันของพื้นที่
    พายุหมุน ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ ตามแนวชายฝั่ง
    น้ำท่วม จังหวัดที่อยู่ในแอ่งที่ราบลุ่มภาคกลาง มีโอกาสมากที่สุด เพราะเป็นทางน้ำผ่านลงทะเล

    ถ้าท่านอยู่ในเขตที่ไม่มีความเสี่ยงมาก แต่กลับกำลังรอว่าภัยพิบัตินั้นๆจะเกิดมั๊ย ก็เหมือนกับท่านซื้อล๊อตเตอรี่ แล้วลุ้นว่าจะถูกรางวัลที่ 1 รึปล่าว อาจต้องรอไปตลอดชีวิตเลยก็ได้นะครับ

    คนที่ทำนายทายถูก มีครับ แต่ถูกเพราะความฟลุ๊ค ไม่ใช่เพราะรู้จริงว่าจะเกิด
    เหมือนคนทอดแห เขาไม่รู้หรอกว่าจะได้ปลาชัวร์ๆ แต่ทุกครั้งที่เหวี่ยงแหออกไป มันย่อมมีโอกาสได้ปลาบ้างล่ะ และคงไม่มีใครที่เหวี่ยงแหครั้งเดียว พอไม่ได้ปลา ก็เลิกเหวี่ยงต่อ เดินกลับบ้านทันทีหรอกนะ

    [​IMG]

    .
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    CORONAL HOLE

    The biggest thing on the sun today is not a sunspot, it's a coronal hole. The yawning dark gap in the sun's atmosphere is almost directly facing Earth, as shown in this June 25th image from NASA's Solar Dynamics Observatory:

    [​IMG]


    Coronal holes are places where the sun's magnetic field opens up and allows solar wind to escape. A stream of solar wind flowing from this particular coronal hole will reach Earth on June 29-30. Because the coronal hole is straddling the sun's equator, the solar wind it is sending our way should make a direct hit on our planet's magnetic field. The impact could spark geomagnetic storms around the poles. High-latitude sky watchers should be alert for auroras at the end of the month.


    .
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    OUR GREAT SUN

    [​IMG]

    [​IMG]

    เปรียบเทียบ Solar Activity Level ของปี 2010 กับ 2013

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/cCAMFv0SQ1E?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    ใช้ Gradient Filter เพื่อเพิ่ม contrast ของแสง

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/4Lv09LvY5BE?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มิถุนายน 2013
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    กรณีศึกษา แผ่นดินไหว M6.4 ที่ Northern Mid-Atlantic Ridge เมื่อ 24 มิย 56

    ความเห็นของผม : จากสาเหตุและตัวชี้วัด สนับสนุน ว่า พลังงานจากการลุกจ้าของดวงอาทิตย์ มากระตุ้นการเคลื่อนที่ของ Mantle ใต้เปลือกโลก เหมือนการเอาแท่งแม่เหล็ก ไปเข้าใกล้เข็มทิศ เลยทำให้ทิศทางสนามแม่เหล็กโลก เบนไปจากปกติมากๆ (-39 nT) ซึ่งปกติจะอยู่ประมาณ +/- 10


    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มิถุนายน 2013
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เปรียบเทียบภาพบน กับ ภาพข้างล่างนี้ ซึ่งเป็นช่วงที่ Low Solar Activity ครับ


    [​IMG]


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มิถุนายน 2013
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    24 ชั่วโมงที่ผ่านมา Ground motion ของสถานีวัดทั่วโลกหลายๆที่ กราฟ smooth มากเลยครับ ลองเข้าไปดู ประมาณ 70 สถานี ส่วนใหญ่ประมาณ 70% แทบไม่มีการสั่นไหวเลย

    ถึงวันนี้จะมี ระดับ M 4-5 สิบกว่าครั้ง แต่ก้อเพียง ครึ่งหนึ่งของค่าเฉลี่ยต่อวันเท่านั้นเอง

    วันสบายๆ นอนอยู่บ้านทั้งวัน ยังไม่ได้ออกไปไหนเลย

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เปิดเข้าไปเจอพอดี Meteor Detection เมื่อ 5 นาทีที่แล้ว เลยเอามาฝากครับ


    [​IMG]

    จะหนาแน่นขึ้นตั้งแต่ช่วง ปลาย มิย. เป็นต้นไป จนถึงปลายปี กันเลยล่ะครับ

    .
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ใครที่ติดตามข่าวน้ำท่วมที่ Uttarkashi, Uttarakhand, India อาจจะยังไม่เห็นสภาพภูมิประเทศของที่นั้น เมืองหรือชุมชน จะตั้งอยู่ที่ราบแคบๆ ตามแนวแม่น้ำ ระหว่างหน้าผาที่สูงชัน 2,000-3,000 เมตร ในขณะที่เมืองอยู่ที่ระดับ 1,000 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล เวลาฝนตกหนักน้ำจะมาเยอะและรุนแรง


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เอาข้อมูลระดับน้ำทะเลปานกลาง ของเมืองใหญ่ๆ มาให้ดูครับว่า ค่าเฉลี่ย 10 ปี กับ เฉลี่ย 100 ปี ขึ้นลงยังไง ข้อมูลบอกว่า ค่าเฉลี่ย 10 ปี ระดับน้ำทะเลสวิงขึ้นและลงน้อย กว่า ข้อมูลเฉลี่ย 100 ปี แล้วนี้จะสรุปว่ายังไงดีนะ เหมือนกับว่าแรงดึงดูดของดวงจันทร์มันน้อยลงหรือยังไง ??? เพราะเวลาด้านไหนที่น้ำขึ้น จะขึ้นน้อยลง อีกด้านหนึ่งของซีกโลกน้ำก็จะลงไม่มาก นั่นเอง

    [​IMG]



    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ข้อมูล 112 ปี ระดับน้ำทะเลปานกลางที่เกาะฮาวาย สูงขึ้น น้อยกว่า 20 ซม. ครับ

    [​IMG]



    .
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    คลื่นความร้อน - พายุหมุน - ไฟป่า วัฎจักรภัยพิบัติที่มีแต่จะรุนแรงขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือ สู้ๆๆๆ

    .
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ดูเหมือน "ความคิดเห็น" ในกระทู้จะหายไปประมาณ 2 หน้ามั๊ง ??

    คงมีบางท่าน เข้ามาทำความสะอาด( 5 ส.) หรือ ไม่ก็ ทาง mod มาช่วยเคลียร์ ให้

    thaxx

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Update : Exoplanet Hunter

    [​IMG]
    [​IMG]

    ยาน CoRoT ถูกส่งขึ้นปฏิบัติการเมื่อ ธค. 2006 เพื่อการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ จนกระทั่ง ปี 2009 คอมพิวเตอร์หลักได้เกิดขัดข้อง ต้องใช้คอมพิวเตอร์สำรอง จนถึง 2 พย. 2012 คอมพิวเตอร์สำรองก็ได้เกิดขัดข้อง จนไม่สามารถติดต่อได้ ทาง CNES ได้ออกมาประกาศการหยุดภาระกิจของยานCoRoT ในปลายเดือน มิย. 2013 มีจำนวนดาวเคราะห์ที่ได้ค้นพบ 32 ดวง และอีกกว่า 100 ดวงที่รอการยืนยัน แต่ภาระกิจก็ได้จบลงกลางคันเสียก่อน


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    ยาน Kepler ถูกส่งขึ้นปฏิบัติการในปี 2009 ได้ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ 2,740 ดวง ซึ่งมีขนาดตั้งแต่ ดวงจันทร์ของโลกเรา ไปจนถึง ดาวพฤหัส เมื่อปีที่แล้วระบบการปรับทิศทางของกล้อง reaction wheel # 2 เกิดขัดข้อง และเมื่อต้นปีนี้ reaction wheel # 4 ก็เจอปัญหาเดียวกัน จนทำให้กล้องไม่สามารถเล็งไปที่จุดเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง แต่ปัญหาก็ยังเป็นๆหายๆ ปัจจุบันทางนาซ่าก็ยังพยายามที่จะแก้ไขปัญหานี้ให้ได้


    .
     
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    NASA’s Proposed Asteroid Capture Mission Animation
    By Jeffrey Kluger June 27, 2013


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/KGLFjNG12TM?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>



    The best two things you can say about this video NASA just posted of its proposed asteroid capture mission is that it’s insanely cool to watch and it will cost you only 4 minutes and 42 seconds of your life. The worst you can say is that it will cost taxpayers billions of dollars in development costs before it is ultimately discarded as unworkable, impractical and—not to put too fine a point on it—ridiculous.

    The unlikely plan, announced in April by Fla. Democratic Sen. Bill Nelson and said to be included in a $100 million appropriation in President Obama’s 2014 budget, is for an unmanned spaecraft to be launched by 2017 to capture a 25-ft., 500-ton asteroid with, yes, a giant drawstring bag. The rock would then be towed back to the vicinity of the moon where it would be safely parked in space. In 2021, astronauts would travel out to the asteroid in a brand new Apollo-like spacecraft lofted by a brand-new heavy-lift rocket. Once there, they would land, prospect for metals and learn more about both living off the cosmic land and deflecting rogue asteroids that might threaten Earth.

    If you can get out to the asteroid in the first place, why would you tow it back to Earth instead of just collecting some samples of it and bringing it home? You wouldn’t. If you want to learn about living off the land, why would you pass up the infinitely more interesting, infinitely more available moon, which has a richer mineral make-up and even has water ice. Again, you wouldn’t. The good news is, we won’t.

    This idea is of a piece with a manned space program that has been adrift for years and shows few signs of finding its way. The Apollo-like Orion spacecraft and the Saturn V-like Space Launch System are extremely promising projects and both are slowly creeping toward completion. When they’ll actually fly is impossible to say. Where they’ll fly has yet to be determined. The fever-dream of an asteroid capture mission will run its course. When it does, more sensible and scientifically inspiring destinations can then be chosen


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มิถุนายน 2013
  20. boonma05

    boonma05 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2008
    โพสต์:
    141
    ค่าพลัง:
    +516
    " The rock would then be towed back to the vicinity of the moon where it would be safely parked in space."

    Cool idea.
     

แชร์หน้านี้

Loading...