มาดูสมเด็จกัน

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย wasabi san, 25 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. yamie

    yamie เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    1,640
    ค่าพลัง:
    +1,520
    ขอแนบข้อมูลนี้ให้อ่านกันเล่นๆอีกนิดนะคะ พอดีกำลังนั่งอ่านเหมือนกัน ( รอบสี่แล้ว หลงๆลืมๆก็แวะมาอ่านอีกรอบ )

    นำมาจากเวปศูนย์เรียนรู้วัตถุโบราณ
    แนวทางการดูเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง
    เขียนโดย Administrator
    วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2011 เวลา 18:34 น.
    หลังจากที่ผมเริ่ม “ศึกษา” พระสมเด็จวัดระฆังมาระยะหนึ่ง ก็ทำให้ผมได้เริ่มเข้าใจเทคนิคการแยกพระสมเด็จ ออกจากพระโรงงาน
    ที่จากการศึกษามาระยะหนึ่ง พบว่า
    ในปัจจุบันช่างโรงงานทำพระเก๊ได้พัฒนาฝีมือของตัวเองอย่างต่อเนื่อง ที่เข้าใจว่า
    นอกจากจะได้วิศวกรมวลสาร (Material Engineer หรือ Chemical Engineer)ชั้นฝีมือดีแล้ว
    ยังต้องผสมผสานกันกับช่างศิลป์ฝีมือเยี่ยม และ
    ที่ปรึกษาระดับ “เซียน”
    จึงสามารถพัฒนาฝีมือผลิตพระโรงงานได้ใกล้เคียงกับของจริงทั้งเนื้อ ทั้งพิมพ์ได้ดีขนาดนั้น
    
    แต่....เมื่อศึกษาจนเริ่มเข้าใจกระบวนการผลิตพระโรงงานแล้ว
    ก็ทำให้ผมเริ่มเข้าใจขีดจำกัดของ “ช่างฝีมือ” ที่เก่งที่สุด ว่า
    ต้องทำทั้งพิมพ์สุดท้ายหลังแต่งกลบเกลื่อน ให้เหมือนพิมพ์มาตรฐาน
    ทำทั้งเนื้อ มวลสาร ให้เหมือนกับเนื้อพระจริงๆ
    การอยู่และลอยตัวของมวลสารต่างๆในเนื้อพระ
    ขนาด น้ำหนัก และความหนาขององค์พระเมื่อเสร็จสิ้น ใกล้เคียงกับมาตรฐานมากที่สุด
    และ...ตำหนิแบบมาตรฐาน ที่กลมกลืน "เนียน" กันไปทั้งองค์
    จากการ
    อัดเนื้อและมวลสารใหม่ๆ ให้ดูเหมือนเก่า โดยใช้มวลสารที่หดตัวง่ายๆ เร็วๆ
    โปะ ให้ดูเก่าๆ เขรอะขระ เลอะเทอะ
    ชุบฝุ่นและสารเคมีสีมอๆ ให้มีคราบ เลียนแบบ "ผิวเก่า"
    ทารัก ทาสี ปิดทองบังความใหม่ของผิว
    บิดให้มีรอยร้าว
    อบให้แห้งเร็ว และมีลักษณะรอยปริ (แต่มักจะปริทั้งหน้าและหลัง ไม่เป็นที่เป็นทาง)
    ชุบกาว ทอดน้ำมันให้ผิวดูเก่า เกรียม (แต่มักออกสีน้ำตาลไหม้) เลียนแบบสีน้ำมันตังอิ้ว
    ที่จะทำได้ยาก
    โดยเฉพาะในซอกเล็กซอกน้อยที่เป็นรอยปริแยกของมวลสารเก่าแบบธรรมชาติของพระสมเด็จ
    
    ที่ทำให้เมื่อมองพระสมเด็จโดยรอบทั้งองค์แล้ว ดูเก่า “อย่างกลมกลืน สบายตา” กันนั้น น่าจะทำได้ยากมากๆ


    ด้านหน้าแสดงเนื้อแกร่ง ผิวยุ่ย ผงพุทธคุณยุ่ยกร่อน มีร่องแยกทุกเม็ด มีก้านธูป เกสรดอกไม้ลอยที่ผิวยุ่ย ไม่มีคราบโปะใดๆ
    ศิลปะคมชัดทุกมิติ

    หลังลายไม้กระดาน หลุมเข็มปากหลุมกว้างพร้อมขุยยุ่ยขาวนวล

    องค์นี้ผิวกร่อนสวย มีผงพุทธคุณแทรกห่างๆ ผิวเป็นหลุมเข็มทั้งด้านหน้าและด้านหลังที่เป็นร่องไม้ลึก กร่อนแบบธรรมชาติทุกมิติ
    พระสมเด็จวัดระฆัง
    พิมพ์ใหญ่ บล็อก ๓ (อกรูปตัว วี) ทั้ง ๒ องค์
    ที่เป็นต้นแบบในการเรียนแบบ พระแท้ดูง่าย ในทุกมิติ
    โดยเฉพาะจุดสำคัญๆ เช่น
    ขอบด้านข้างที่ต้องปริ ที่แยกเป็นเกล็ดๆ รอบองค์ จากการถอดพิมพ์ ที่ต้องมีคราบเก่าแทรกอยู่อย่าง “กลมกลืน” ทุกจุดทั้งองค์
    ด้านหลังที่เป็นร่องไม้กระดาน หรือร่องลึก และมีลักษณะเป็นหลุมเข็ม ปากหลุมกว้าง ขอบหลุมมน ผิวในหลุมดูนุ่ม มีผิวนวลทั้งหลุม
    ผงพุทธคุณขาวนวล ที่ยุ่ยและฝังตัวในเนื้อแบบ "เก่า" อย่างเป็นธรรมชาติ ที่มีช่องว่างรอบเม็ดสม่ำเสมอ ทุกเม็ด
    ผิวยุ่ยสม่ำเสมอทั้งองค์ ไม่มีร่องรอยคราบโปะใดๆ อย่างมาก็มีคราบฝุ่นละอองเล็กน้อย
    รอยปริแยก และหลุมในเนื้อ ตามจุดต่างๆ อย่างเป็นธรรมชาติ ไม่มีรอยบิด หรือรอยขีดข่วนในร่อง
    รอยปูดของเนื้อพระ ที่ต้องเทียบกับลักษณะปกติของพิมพ์
    ที่ผมได้เริ่มจากการศึกษาพระสมเด็จวัดพลับแล้วก็หันกลับมาดูพระสมเด็จวัดระฆังและบางขุนพรม

    ทำให้เข้าใจพระทั้งสามวัดนี้ง่ายขึ้นไปอีก ว่าจะดูได้ "ง่ายๆ" อย่างไร

    ดังนั้น เมื่อเริ่มดูพระสมเด็จวัดระฆัง จึงมีจุดสำคัญที่ต้องเริ่มพิจารณาจาก
    ความแกร่งของเนื้อในของพระ แบบหินอ่อน มีลายเกล็ดๆในเนื้อ แบบเดียวกันเลย (ของโรงงานเป็นเนื้ออัดแน่นแบบเรซิน มักไม่มีลายใสขุ่นในเนื้อ หรือไม่ก็เป็นเนื้อแป้งหรือปูนขาวอัดไม่มีความใสวาวและลายเกล็ดในเนื้อ)
    
    ความยุ่ย นวล นุ่มของผิว แบบต่อเนื่องไม่แบ่งเป็นชั้นๆ ไม่มีรอยคราบโปะ (ของโรงงานใช้คราบแป้งหรือปูนโปะ เห็นเป็นชั้นๆ ชัดเจน)
    มีเนื้อแห้ง ปริแยก ที่มักมีน้ำมันตังอิ้ว สีเทาเหลืองอ่อน(แบบสีน้ำมันเก่า ของโรงงานมักเป็นสีน้ำตาลไหม้)เคลือบอยู่ตามผิวและรอยแยก ในร่องมีผิวเป็นขุยยุ่ยแบบเดียวกันทั้งองค์
    มีผงพุทธคุณ ที่กร่อนยุ่ยแทรกฝังในเนื้อพระ และมีรอยแยกเป็นร่องรอบเม็ด มีอยู่ยิ่งมากยิ่งดี (ของโรงงานเป็นก้อนขาวไม่ยุ่ย แข็งๆ อัดตัวแน่นในเนื้อพระ ไม่มีร่องรอบเม็ด)
    มีเกล็ดด้านข้าง จากการถอดพิมพ์ ที่เก่า และมีผิวยุ่ยแบบเดียวกันทั้งองค์(ของโรงงานจะใช้คราบขาวๆ นวลๆ หรือเทาๆ โปะเข้าไปตามร่อง)
    ด้านหลังควรมีรอยไม้กระดาน ที่มีความยุ่ยในร่องแบบใกล้เคียงกันทั้งหมดทุกจุด(ของโรงงานอาจจะมีร่อง แต่ในร่องจะไม่ยุ่ย แต่ใช้คราบโปะแทน)
    ถ้ามีผิวปูดเป็นเม็ดจากในเนื้อ จะยิ่งมั่นใจได้มากขึ้น (ของโรงงานใช้คราบโปะเป็นเม็ดกลมๆแทน ที่ดูได้ง่ายมาก)
    ถ้ามีมวลสารต่างๆ เช่นก้านธูป เกสรดอกไม้ เกศา ลอยตัวในขุยยุ่ย ยิ่งทำให้ดูง่ายและชัดเจนมากขึ้น (ของโรงงานจะทำไม่ได้ ถึงได้ก็ไม่เนียน มีร่องรอยการแต่ง)
    
    หลังจากนั้นแล้วค่อยดูพิมพ์ ว่าตรงตามตำราหรือไม่
    เพราะ
    พิมพ์และตำหนิต่างๆของพระสมเด็จนั้น
    ระดับ"วิศวกรเคมี"
    ผสานกับ "ช่างศิลป์มือเยี่ยม"
    ภายใต้ที่ปรึกษาของ"เซียนใหญ่" และ
    เทคโนโลยีระดับ "บล็อกคอมพิวเตอร์"
    ทำเลียนแบบได้เกือบหมดแล้ว
    แต่เนื้อพระสมเด็จ แบบ
    ในแกร่งเป็นลายหินอ่อน
    นอกยุ่ยนวล ไม่มีชั้นโปะ
    ผิวและข้าง ปริแยก ย่น และ
    มวลสารสำคัญๆ ลอยตัวในเนื้อยุ่ย
    ที่เรียกว่า “แห้ง” "เนียน" และ “นุ่มตา” นั้น
    ยังทำให้เหมือนแบบธรรมชาติๆ ได้ยาก
    ดังนั้นถ้าเริ่มต้นที่เนื้อดีแล้ว มักไม่ค่อยมีปัญหาครับ
    นอกเสียจาก
    พิมพ์ผิด
    ศิลปะหยาบๆ เละๆ
    องค์พระดูเลอะเทอะ
    น้ำหนักมาก ขนาดเล็ก-ใหญ่ หรือหนา และเพี้ยนไปไกลๆ แบบหาคำอธิบายไม่ได้นั้น
    ก็ไม่น่าให้ความสนใจอยู่แล้วครับ
     
  2. yamie

    yamie เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    1,640
    ค่าพลัง:
    +1,520
    ขอแนบข้อมูลนี้ให้อ่านกันเล่นๆอีกนิดนะคะ พอดีกำลังนั่งอ่านเหมือนกัน ( รอบสี่แล้ว หลงๆลืมๆก็แวะมาอ่านอีกรอบ )

    นำมาจากเวปศูนย์เรียนรู้วัตถุโบราณ
    แนวทางการดูเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง
    เขียนโดย Administrator
    วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2011 เวลา 18:34 น.
    หลังจากที่ผมเริ่ม “ศึกษา” พระสมเด็จวัดระฆังมาระยะหนึ่ง ก็ทำให้ผมได้เริ่มเข้าใจเทคนิคการแยกพระสมเด็จ ออกจากพระโรงงาน
    ที่จากการศึกษามาระยะหนึ่ง พบว่า
    ในปัจจุบันช่างโรงงานทำพระเก๊ได้พัฒนาฝีมือของตัวเองอย่างต่อเนื่อง ที่เข้าใจว่า
    นอกจากจะได้วิศวกรมวลสาร (Material Engineer หรือ Chemical Engineer)ชั้นฝีมือดีแล้ว
    ยังต้องผสมผสานกันกับช่างศิลป์ฝีมือเยี่ยม และ
    ที่ปรึกษาระดับ “เซียน”
    จึงสามารถพัฒนาฝีมือผลิตพระโรงงานได้ใกล้เคียงกับของจริงทั้งเนื้อ ทั้งพิมพ์ได้ดีขนาดนั้น
    
    แต่....เมื่อศึกษาจนเริ่มเข้าใจกระบวนการผลิตพระโรงงานแล้ว
    ก็ทำให้ผมเริ่มเข้าใจขีดจำกัดของ “ช่างฝีมือ” ที่เก่งที่สุด ว่า
    ต้องทำทั้งพิมพ์สุดท้ายหลังแต่งกลบเกลื่อน ให้เหมือนพิมพ์มาตรฐาน
    ทำทั้งเนื้อ มวลสาร ให้เหมือนกับเนื้อพระจริงๆ
    การอยู่และลอยตัวของมวลสารต่างๆในเนื้อพระ
    ขนาด น้ำหนัก และความหนาขององค์พระเมื่อเสร็จสิ้น ใกล้เคียงกับมาตรฐานมากที่สุด
    และ...ตำหนิแบบมาตรฐาน ที่กลมกลืน "เนียน" กันไปทั้งองค์
    จากการ
    อัดเนื้อและมวลสารใหม่ๆ ให้ดูเหมือนเก่า โดยใช้มวลสารที่หดตัวง่ายๆ เร็วๆ
    โปะ ให้ดูเก่าๆ เขรอะขระ เลอะเทอะ
    ชุบฝุ่นและสารเคมีสีมอๆ ให้มีคราบ เลียนแบบ "ผิวเก่า"
    ทารัก ทาสี ปิดทองบังความใหม่ของผิว
    บิดให้มีรอยร้าว
    อบให้แห้งเร็ว และมีลักษณะรอยปริ (แต่มักจะปริทั้งหน้าและหลัง ไม่เป็นที่เป็นทาง)
    ชุบกาว ทอดน้ำมันให้ผิวดูเก่า เกรียม (แต่มักออกสีน้ำตาลไหม้) เลียนแบบสีน้ำมันตังอิ้ว
    ที่จะทำได้ยาก
    โดยเฉพาะในซอกเล็กซอกน้อยที่เป็นรอยปริแยกของมวลสารเก่าแบบธรรมชาติของพระสมเด็จ
    
    ที่ทำให้เมื่อมองพระสมเด็จโดยรอบทั้งองค์แล้ว ดูเก่า “อย่างกลมกลืน สบายตา” กันนั้น น่าจะทำได้ยากมากๆ


    ด้านหน้าแสดงเนื้อแกร่ง ผิวยุ่ย ผงพุทธคุณยุ่ยกร่อน มีร่องแยกทุกเม็ด มีก้านธูป เกสรดอกไม้ลอยที่ผิวยุ่ย ไม่มีคราบโปะใดๆ
    ศิลปะคมชัดทุกมิติ

    หลังลายไม้กระดาน หลุมเข็มปากหลุมกว้างพร้อมขุยยุ่ยขาวนวล

    องค์นี้ผิวกร่อนสวย มีผงพุทธคุณแทรกห่างๆ ผิวเป็นหลุมเข็มทั้งด้านหน้าและด้านหลังที่เป็นร่องไม้ลึก กร่อนแบบธรรมชาติทุกมิติ
    พระสมเด็จวัดระฆัง
    พิมพ์ใหญ่ บล็อก ๓ (อกรูปตัว วี) ทั้ง ๒ องค์
    ที่เป็นต้นแบบในการเรียนแบบ พระแท้ดูง่าย ในทุกมิติ
    โดยเฉพาะจุดสำคัญๆ เช่น
    ขอบด้านข้างที่ต้องปริ ที่แยกเป็นเกล็ดๆ รอบองค์ จากการถอดพิมพ์ ที่ต้องมีคราบเก่าแทรกอยู่อย่าง “กลมกลืน” ทุกจุดทั้งองค์
    ด้านหลังที่เป็นร่องไม้กระดาน หรือร่องลึก และมีลักษณะเป็นหลุมเข็ม ปากหลุมกว้าง ขอบหลุมมน ผิวในหลุมดูนุ่ม มีผิวนวลทั้งหลุม
    ผงพุทธคุณขาวนวล ที่ยุ่ยและฝังตัวในเนื้อแบบ "เก่า" อย่างเป็นธรรมชาติ ที่มีช่องว่างรอบเม็ดสม่ำเสมอ ทุกเม็ด
    ผิวยุ่ยสม่ำเสมอทั้งองค์ ไม่มีร่องรอยคราบโปะใดๆ อย่างมาก็มีคราบฝุ่นละอองเล็กน้อย
    รอยปริแยก และหลุมในเนื้อ ตามจุดต่างๆ อย่างเป็นธรรมชาติ ไม่มีรอยบิด หรือรอยขีดข่วนในร่อง
    รอยปูดของเนื้อพระ ที่ต้องเทียบกับลักษณะปกติของพิมพ์
    ที่ผมได้เริ่มจากการศึกษาพระสมเด็จวัดพลับแล้วก็หันกลับมาดูพระสมเด็จวัดระฆังและบางขุนพรม

    ทำให้เข้าใจพระทั้งสามวัดนี้ง่ายขึ้นไปอีก ว่าจะดูได้ "ง่ายๆ" อย่างไร

    ดังนั้น เมื่อเริ่มดูพระสมเด็จวัดระฆัง จึงมีจุดสำคัญที่ต้องเริ่มพิจารณาจาก
    ความแกร่งของเนื้อในของพระ แบบหินอ่อน มีลายเกล็ดๆในเนื้อ แบบเดียวกันเลย (ของโรงงานเป็นเนื้ออัดแน่นแบบเรซิน มักไม่มีลายใสขุ่นในเนื้อ หรือไม่ก็เป็นเนื้อแป้งหรือปูนขาวอัดไม่มีความใสวาวและลายเกล็ดในเนื้อ)
    
    ความยุ่ย นวล นุ่มของผิว แบบต่อเนื่องไม่แบ่งเป็นชั้นๆ ไม่มีรอยคราบโปะ (ของโรงงานใช้คราบแป้งหรือปูนโปะ เห็นเป็นชั้นๆ ชัดเจน)
    มีเนื้อแห้ง ปริแยก ที่มักมีน้ำมันตังอิ้ว สีเทาเหลืองอ่อน(แบบสีน้ำมันเก่า ของโรงงานมักเป็นสีน้ำตาลไหม้)เคลือบอยู่ตามผิวและรอยแยก ในร่องมีผิวเป็นขุยยุ่ยแบบเดียวกันทั้งองค์
    มีผงพุทธคุณ ที่กร่อนยุ่ยแทรกฝังในเนื้อพระ และมีรอยแยกเป็นร่องรอบเม็ด มีอยู่ยิ่งมากยิ่งดี (ของโรงงานเป็นก้อนขาวไม่ยุ่ย แข็งๆ อัดตัวแน่นในเนื้อพระ ไม่มีร่องรอบเม็ด)
    มีเกล็ดด้านข้าง จากการถอดพิมพ์ ที่เก่า และมีผิวยุ่ยแบบเดียวกันทั้งองค์(ของโรงงานจะใช้คราบขาวๆ นวลๆ หรือเทาๆ โปะเข้าไปตามร่อง)
    ด้านหลังควรมีรอยไม้กระดาน ที่มีความยุ่ยในร่องแบบใกล้เคียงกันทั้งหมดทุกจุด(ของโรงงานอาจจะมีร่อง แต่ในร่องจะไม่ยุ่ย แต่ใช้คราบโปะแทน)
    ถ้ามีผิวปูดเป็นเม็ดจากในเนื้อ จะยิ่งมั่นใจได้มากขึ้น (ของโรงงานใช้คราบโปะเป็นเม็ดกลมๆแทน ที่ดูได้ง่ายมาก)
    ถ้ามีมวลสารต่างๆ เช่นก้านธูป เกสรดอกไม้ เกศา ลอยตัวในขุยยุ่ย ยิ่งทำให้ดูง่ายและชัดเจนมากขึ้น (ของโรงงานจะทำไม่ได้ ถึงได้ก็ไม่เนียน มีร่องรอยการแต่ง)
    
    หลังจากนั้นแล้วค่อยดูพิมพ์ ว่าตรงตามตำราหรือไม่
    เพราะ
    พิมพ์และตำหนิต่างๆของพระสมเด็จนั้น
    ระดับ"วิศวกรเคมี"
    ผสานกับ "ช่างศิลป์มือเยี่ยม"
    ภายใต้ที่ปรึกษาของ"เซียนใหญ่" และ
    เทคโนโลยีระดับ "บล็อกคอมพิวเตอร์"
    ทำเลียนแบบได้เกือบหมดแล้ว
    แต่เนื้อพระสมเด็จ แบบ
    ในแกร่งเป็นลายหินอ่อน
    นอกยุ่ยนวล ไม่มีชั้นโปะ
    ผิวและข้าง ปริแยก ย่น และ
    มวลสารสำคัญๆ ลอยตัวในเนื้อยุ่ย
    ที่เรียกว่า “แห้ง” "เนียน" และ “นุ่มตา” นั้น
    ยังทำให้เหมือนแบบธรรมชาติๆ ได้ยาก
    ดังนั้นถ้าเริ่มต้นที่เนื้อดีแล้ว มักไม่ค่อยมีปัญหาครับ
    นอกเสียจาก
    พิมพ์ผิด
    ศิลปะหยาบๆ เละๆ
    องค์พระดูเลอะเทอะ
    น้ำหนักมาก ขนาดเล็ก-ใหญ่ หรือหนา และเพี้ยนไปไกลๆ แบบหาคำอธิบายไม่ได้นั้น
    ก็ไม่น่าให้ความสนใจอยู่แล้วครับ
     
  3. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    เด๊ยวนี้คุณยาไม่เอาพระมาให้ชมบ้างเลยหรือครับ อยากเห็นเป็นขวัญตา หุหุ
     
  4. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    อย่างนี้ ผมก็ "เสร็จ" ละสิ หุหุ
     
  5. yamie

    yamie เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    1,640
    ค่าพลัง:
    +1,520
    ตัวใครตัวเผือกสิคะ คุณเกียรติ 555555555555 จะอยู่ต่อปล่าวหละเจ้าคะ อิอิอิอิอิ คุณเกียรติอยู่ต่อก็ได้เดี๋ยวยาจะส่งใจไปให้เรื่อยๆ กามมมมลางงงจายยยยย จากครายยยยหนอออขอเป็นแรงงง ( ร้องเพลง โป๊ะชึ่งๆๆๆ ชึ่งโป๊ะ ชึ่ง ๆๆ)
     
  6. yamie

    yamie เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    1,640
    ค่าพลัง:
    +1,520
    หุหุหุหุ

    ยังบ่ล่ายทำรายยยเลยนาาา เสร็จล่ายยงายยยเนี่ยยย หุหุหุหุหุ

    ( ยาไปนอนก่อนหละ ราตรีสวัสดิ์คะ เพื่อนๆพี่ๆสมาชิกบอร์ด ที่น่าร๊ากกกกทุกคนนน หลับฝันดีพระคุ้มครองนะคร้าา )
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 พฤศจิกายน 2011
  7. K501

    K501 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    243
    ค่าพลัง:
    +272
    โอ้ๆๆๆๆๆๆๆๆขอบคุณมากครับคุณkiatti1234ซูดดดดดดดยอดจริงๆเยย
     
  8. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    ในยามค่ำคืนนี้ มักจะมีจันทร์(ลอย)หรือป่าว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    งานนี้มีจันทร์(ลอย) เพิ่มซะแล้ว หุหุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC02253.JPG
      DSC02253.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.6 MB
      เปิดดู:
      131
    • DSC02254.JPG
      DSC02254.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.4 MB
      เปิดดู:
      71
  10. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    เสือ...........ที่ไหนมะรู้ หุหุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0001.JPG
      IMG_0001.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.1 MB
      เปิดดู:
      67
    • IMG_0002.JPG
      IMG_0002.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.6 MB
      เปิดดู:
      71
    • IMG_0003.JPG
      IMG_0003.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      70
    • IMG_0004.JPG
      IMG_0004.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      70
  11. ห้องมืด

    ห้องมืด สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    141
    ค่าพลัง:
    +2
    รูปใหญ่ไปไหมหว่าาาาาา

    อีกองค์




    สององค์นี้ ไม่ทราบที่จริงๆๆ แพ้แนวแบบนี้ครับ

    ขอคำแนะนำเน้อ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 พฤศจิกายน 2011
  12. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    ทั้ง 2 องค์ ผิดพิมพ์ ผิดเนื้อ ผิดธรรมชาติ ครับ คุณห้องมืด
     
  13. ห้องมืด

    ห้องมืด สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    141
    ค่าพลัง:
    +2

    ขอบใจจ้า วัดไนอะครับ พอทราบไหม
     
  14. chaiyaput

    chaiyaput เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    904
    ค่าพลัง:
    +1,146
    [​IMG]
    สวยครับ ผมชอบองค์นี้จัง:cool:
     
  15. zunwu

    zunwu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2007
    โพสต์:
    677
    ค่าพลัง:
    +1,483
    รับทราบครับ ขอบคุณที่ชี้แนะครับ :cool: :cool: :cool: :cool: :cool:

    พอดีมีผู้ใหญ่ท่านให้สมเด็จมาองค์นึงครับ ท่านว่าเป็นพิมพ์หลวงสิทธิฯครับ ไม่เคยได้ยินเลยมาถามพี่ๆเพื่อคลายข้อข้องใจครับ อิอิ
     
  16. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    พิมพ์ใหญ่ วัดระฆัง คราบ
     
  17. jessio

    jessio Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    423
    ค่าพลัง:
    +90
    พระสมเด็จครับ ช่วยดูทีครับว่าแท้หรือป่าว มีท่านนึงเคยบอกว่าอาจจะเป็นสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ช่างชาวบ้านแกะ ที่เค้าไม่เล่นกัน แต่วันนั้นภาพอาจจะยังไม่ชัด วันนี้ลองถ่ายภาพชัดๆ เลยเอามาถามผู้รู้ในนี้ดูครับ ว่าแท้หรือเก๊ปรการใด เก่าถึงยุคสมเด็จโตหรือป่าว ขอบคุณทุกคำชี้แนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF7249.jpg
      DSCF7249.jpg
      ขนาดไฟล์:
      399.8 KB
      เปิดดู:
      138
    • DSCF7250.jpg
      DSCF7250.jpg
      ขนาดไฟล์:
      273 KB
      เปิดดู:
      94
    • DSCF7251.jpg
      DSCF7251.jpg
      ขนาดไฟล์:
      176.6 KB
      เปิดดู:
      78
    • DSCF7252.jpg
      DSCF7252.jpg
      ขนาดไฟล์:
      181.4 KB
      เปิดดู:
      83
    • DSCF7253.jpg
      DSCF7253.jpg
      ขนาดไฟล์:
      134.8 KB
      เปิดดู:
      94
    • DSCF7254.jpg
      DSCF7254.jpg
      ขนาดไฟล์:
      90.5 KB
      เปิดดู:
      83
  18. ทรงกลด999

    ทรงกลด999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,284
    ค่าพลัง:
    +1,510
    บทความของคุณยาดีมากครับ เพื่อนคนไหนมีเวลาลองเข้าไปอ่านบทความอื่นๆดูครับ ได้ความรู้เพิ่มข้ึนเยอะครับ
     
  19. kiatti1234

    kiatti1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,839
    ค่าพลัง:
    +811
    อยากจะให้ถ่ายชัดๆกว่านี้อ่ะครับ ที่แน่ๆองค์นี้ผิดพิมพ์ หากตีเข้าพิมพ์หลวงวิจารณ์ซึ่งเป็นพิมพ์ช่างหลวงเป็นยุคสุดท้าย หากมองแบบนอกพิมพ์ก็มีสิทธิ์ลุ้นยุคกลาง-ยุคปลาย เพราะว่ามีนำตังอิ้วมาใช้เพื่อรักษาเนื้อพระ แต่อย่างที่ว่า มีหลายพิมพ์หลายบล็อค แค่ลักษณะองค์น่าจะ" แท้ " (60/40)แล้วที่เหลืออยุ่ที่เนื้อหาเป็นหลักครับ หากแท้ ผมอนุโมทนาด้วยครับ
     
  20. jessio

    jessio Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    423
    ค่าพลัง:
    +90
    ขอบคุณคุณ kiatti1234 มากครับที่ช่วยติชม แค่ได้ลุ้นก็ดีแล้วครับ
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...