พระเครื่องวัตถุมงคลทั้งเก่า-ใหม่หลากหลายรายการให้เลือกสรรไว้บูชาติดตัวครับ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย เยาวราช, 13 พฤษภาคม 2010.

  1. Pattarakorn2010

    Pattarakorn2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กันยายน 2014
    โพสต์:
    464
    ค่าพลัง:
    +1,727
    ขอทราบราคาด้วยครับ
     
  2. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    รูปกระดาษยันต์ หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา สร้างแจก ที่ระฤกในงานฉลองสิ่งก่อสร้าง และก่อพระเจดีย์ข้าวเปลือก 20 มีนาคม 2491 ขนาดกระดาษยันต์ 6x8.5นิ้ว ด้านล่างเขียนไว้ว่า รูปหลวงพ่อบูชาเกิดลาภและขายของดี และกันภัยต่างๆ มียันต์ด้านซ้ายกำกับว่ากันไฟไหม้ ยันต์ด้านขวากำกับว่ากันโจรผู้ร้าย สภาพเดิมๆสมบูรณ์เก่าเก็บ หายาก รับประกันแท้ตลอดชีพครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 513.JPG
      513.JPG
      ขนาดไฟล์:
      75.2 KB
      เปิดดู:
      35
    • 514.JPG
      514.JPG
      ขนาดไฟล์:
      34.5 KB
      เปิดดู:
      30
    • IMG_0004.JPG
      IMG_0004.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1,014.2 KB
      เปิดดู:
      63
    • IMG_0007.JPG
      IMG_0007.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1,017.8 KB
      เปิดดู:
      40
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  3. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จวัดเกศไชโย 5ชั้น รุ่นประวัติศาตร์ อนุสรณ์ 200 ปี พ.ศ.2531 พระดี พิธีใหญ่ พิธีมหาพุทธาภิเษก เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 20 ต.ค.2531 โดยอาราธนาพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ จำนวน108 รูป มาร่วมพิธี สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ เป็นประทานจุดเทียนชัย เนื้อนวลสวยพร้อมกล่องเดิมครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 386.JPG
      386.JPG
      ขนาดไฟล์:
      65.4 KB
      เปิดดู:
      29
    • 387.JPG
      387.JPG
      ขนาดไฟล์:
      56.7 KB
      เปิดดู:
      42
    • 388.JPG
      388.JPG
      ขนาดไฟล์:
      70.5 KB
      เปิดดู:
      22
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  4. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    สร้อยประคำเนื้อไม้ มาพร้อมเหรียญหลวงพ่ออุตตมะ หลังเจดีย์3องค์ หงษ์คู่ ปี2522 ประสบการณ์ประคำหลวงพ่อเป็นที่รู้กันดีครับ สนใจสอบถามได้ครับ

    หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จ. กาญจนบุรี ท่านเป็นพระสงฆ์เชื้อสายมอญ ท่านมีกิตติคุณเป็นที่รู้จักและนับถือของคนในพื้นที่ทั้งฝั่งไทยและประเทศ พม่าท่านมีความสมถะมักน้อยและเคร่งครัดในวัตปฎิบัติมีความเมตตาและในแต่ละวันจะมีคนไปกราบและขอพรและวัตถุมงคลกันอย่างไม่ขาดสายมีทั้งคนไทย คนจีน มาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า มอญ ท่านเปรียบเสมือนศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านแถบนั้นในด้านวัตถุมงคลของหลวงพ่ออุตตมะที่ว่าขึ้นชื่อและได้รับความนิยมมากที่สุดก็คือสร้อยประคำ ความศักดิ์สิทธ์ของสร้อยประคำมีตั้งแต่มหานิยมแคล้วคลาดและปลอดภัยจากคุณไสยและสิ่งอัปมงคลจะเห็นได้ว่าตามบ้านเรือนหรือแม้แต่หน้ารถยนต์ของผู้คนแถบนั้นแทบจะไม่มีใครที่จะไม่แขวนสร้อยประคำของหลวงพ่อ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0014.JPG
      IMG_0014.JPG
      ขนาดไฟล์:
      70.9 KB
      เปิดดู:
      38
    • IMG_0017.JPG
      IMG_0017.JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.2 KB
      เปิดดู:
      29
    • IMG_0020.JPG
      IMG_0020.JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.4 KB
      เปิดดู:
      49
    • 1140318-5ff24.jpg
      1140318-5ff24.jpg
      ขนาดไฟล์:
      51.9 KB
      เปิดดู:
      49
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  5. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระพรหมเนื้อผง ที่รฤกแจกแม่ครัว หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน สิงห์บุรี ปี55 สวยครับ สนใจสอบถามครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 515.JPG
      515.JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.7 KB
      เปิดดู:
      22
    • 516.JPG
      516.JPG
      ขนาดไฟล์:
      47.2 KB
      เปิดดู:
      38
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  6. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    เหรียญอิติปิโสหน้าทอง พระอาจารย์ติ๋ว วัดมณีชลขัณฑ์ จ.ลพบุรี เนื้อทองแดง สภาพสวยครับ ตำนานแห่งศรัทรา สืบสานพระเวทย์มนตรา หนุนดวงชะตาเสริมบารมี เมตตามหานิยม โชคลาภมั่นคง ปลอดภัยสมบูรณ์ เสกเดี่ยว 12 ราตรี และพิธี ใหญ่ ตามศาสตร์ ครบสูตร อีกครั้ง เมื่อ วัน ที่ 11 กันยายน 2557 ณ อุโบสถ วัดมณีชลขัณฑ์ สภาพสวย ตอกโค้ดและหมายเลขพร้อมกล่องเดิมครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 518.JPG
      518.JPG
      ขนาดไฟล์:
      98.8 KB
      เปิดดู:
      24
    • 519.JPG
      519.JPG
      ขนาดไฟล์:
      88.9 KB
      เปิดดู:
      20
    • 517.JPG
      517.JPG
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      19
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  7. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวย อยู่ในซองเดิมครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0002.JPG
      IMG_0002.JPG
      ขนาดไฟล์:
      237.8 KB
      เปิดดู:
      29
    • IMG_0003.JPG
      IMG_0003.JPG
      ขนาดไฟล์:
      255 KB
      เปิดดู:
      17
    • 497.jpg
      497.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74 KB
      เปิดดู:
      39
    • 498.jpg
      498.jpg
      ขนาดไฟล์:
      69.9 KB
      เปิดดู:
      21
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  8. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสีวลีหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี เนื้อกะไหล่ทอง กว้าง1 ซม. สูง 3.2 ซม. สวยเดิมครับ


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 530.JPG
      530.JPG
      ขนาดไฟล์:
      51.1 KB
      เปิดดู:
      29
    • 531.JPG
      531.JPG
      ขนาดไฟล์:
      45.6 KB
      เปิดดู:
      21
    • 1468770332.jpg
      1468770332.jpg
      ขนาดไฟล์:
      88.4 KB
      เปิดดู:
      37
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  9. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์พระสิวลี เนื้อดำ นิยม หายาก ปี 2506 เนื้อดำส่องมันส์ หลังโรยแร่เพียบ มวลสารที่มากดพระชุดวัดประสาทนั้นไม่ต้องพูดถึงสุดยอด ยุคนี้ต้องหาพระสิวลีติดตัวสู้พิษเศรษฐกิจกันครับ ลองบูชาดูครับ รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวยราคาเบาจริงๆครับ สอบถามกันได้ครับ

    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์พระสิวลี เนื้อดำ จัดสร้างปี พ.ศ. 2506 พระวัดประสาทเป็นพระที่มีมวลสารในการสร้างและพิธีพุทธาภิเษกที่ยอดเยี่ยมมากๆ เนื้อจัดแก่มวลสาร มีมวลสารของพระสมเด็จบางขุนพรหมเป็นส่วนผสม จัดสร้างโดยพระสมุห์อำพล เจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส และอาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ปลุกเสกโดยพระคณาจารย์ร้อยกว่าองค์ ส่วนผสมสำคัญของพระได้แก่ ผงพระสมเด็จบางขุนพรหมที่แตกหักชำรุด ผงพระหลวงปู่ทวดที่แตกหักและมีผงวิเศษ ว่าน แร่ ของคณาจารย์ต่างๆ ปูนขาว กล้วย แร่ทรายทอง น้ำพระพุทธมนต์ สนิมของพระพุทธรูปโบราณ และเศษผงตะไบพระกริ่ง พระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่มาร่วมพิธีปลุกเสกอาทิ เช่น พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ ,หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา ,หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ,หลวงปู่นาค วัดระฆัง ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม , หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม , หลวงปู่ดู่ วัดสะแก ,หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ,หลวงพ่อทบ วัดชนแดน ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงพ่อสุด วัดกาหลง ,หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส ,หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ , หลวงปู่เขียว วัดหรงบน , อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ,หลวงพ่อแทน วัดธรรมเสน , หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง ,หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร และคณาจารย์ชื่อดังอีกมาก
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 436.JPG
      436.JPG
      ขนาดไฟล์:
      56 KB
      เปิดดู:
      16
    • 437.JPG
      437.JPG
      ขนาดไฟล์:
      68.1 KB
      เปิดดู:
      38
    • 438.JPG
      438.JPG
      ขนาดไฟล์:
      76.6 KB
      เปิดดู:
      21
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  10. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 524.JPG
      524.JPG
      ขนาดไฟล์:
      77.8 KB
      เปิดดู:
      58
    • 525.JPG
      525.JPG
      ขนาดไฟล์:
      74.6 KB
      เปิดดู:
      30
    • 497.jpg
      497.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74 KB
      เปิดดู:
      17
    • 498.jpg
      498.jpg
      ขนาดไฟล์:
      69.9 KB
      เปิดดู:
      20
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  11. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จวัดเกศไชโย 5ชั้น รุ่นประวัติศาตร์ อนุสรณ์ 200 ปี พ.ศ.2531 พระดี พิธีใหญ่ พิธีมหาพุทธาภิเษก เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 20 ต.ค.2531 โดยอาราธนาพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ จำนวน108 รูป มาร่วมพิธี สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ เป็นประทานจุดเทียนชัย เนื้อนวลสวย หลังปั๊มตราครับ สนใสอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0013.JPG
      IMG_0013.JPG
      ขนาดไฟล์:
      70.7 KB
      เปิดดู:
      20
    • IMG_0016.JPG
      IMG_0016.JPG
      ขนาดไฟล์:
      68.9 KB
      เปิดดู:
      52
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  12. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 544.JPG
      544.JPG
      ขนาดไฟล์:
      66 KB
      เปิดดู:
      19
    • 545.JPG
      545.JPG
      ขนาดไฟล์:
      66.1 KB
      เปิดดู:
      27
    • 497.jpg
      497.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74 KB
      เปิดดู:
      28
    • 498.jpg
      498.jpg
      ขนาดไฟล์:
      69.9 KB
      เปิดดู:
      22
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  13. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระขุนแผนรุ่นแรก หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย อยุธยา....ขุนแผนรุ่นี้ อาจารย์เม้งเป็นผู้สร้างถวายให้หลวงพ่อมีปลุกเสก ชนวนมวลสารประกอบไปด้วยมวลสาร ทางมหาเสน่ห์ มากมาย อาทิเช่น ว่านดอกทอง ว่านสาวหลง ว่านเสน่ห์จันทร์แดง เสน่ห์จันทร์ขาว เครือเขาหลง ว่านสาลิกาลิ้นทอง สาลิกาหลงรัง และน้ำมันทางมหาเสน่ห์ สีผึ้ง และผงสารพัดทางเมตตา จัดสร้างด้วยกัน 2 เนื้อ เนื้อสีเหลือง เรียกว่าเนื้อเกสร และเนื้อสีเทาเรียกว่าเนื้อผงธูป พอสร้างเสร็จก็ได้ถวายให้หลวงพ่อมี ปลุกเสกให้ ออกให้ทำบุญที่วัดมารวิชัย เมื่อปี 2540 ประสบการณ์ ทางเมตตามหาเสน่ห์ ดีมากๆ ทางด้านค้าขาย โชคลาภ และคงกระพันชาตรี ก็มีปรากฏให้บอกต่อกันพอสมควร เป็นรุ่นสร้างชื่อให้กับหลวงพ่ออีกรุ่นหนึ่งครับ สนใจสอบถามได้ครับ

    หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย ท่านเป็นศิษย์อีกรูปหนึ่งของ หลวงพ่อปาน แห่งวัดบางนมโค และ หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ท่านเป็นพระที่คงแก่เรียนมาก ได้วิชามาเยอะ วัตถุมงคลของท่านจึงเข้มขลังเป็นที่เสาะหาในหมู่ลูกศิษย์ครับ

    คาถาปลุก ขุนแผนหลวงพ่อมี

    อิติปาระเมตตาติ๋งจ๋า อิติสาระพัดคนทั้งหลายมารักู
    อิติสัพพัญญู มาคะตา
    อิติโพธิมะนุสปัสโต อิติปิโสจะเตนะโม
    นะเมตตา โมกรุณา พุทปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู
    ยะหัวตะวา มาให้เมามัว พุทธาคนทั้งหลายมา โมสัมมานะ มารักกูจนวันตาย

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 488.JPG
      488.JPG
      ขนาดไฟล์:
      49.4 KB
      เปิดดู:
      49
    • 489.JPG
      489.JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.2 KB
      เปิดดู:
      41
    • 558399-1eee8.jpg
      558399-1eee8.jpg
      ขนาดไฟล์:
      53.7 KB
      เปิดดู:
      67
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  14. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    รูปกระดาษยันต์ หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา สร้างแจก ที่ระฤกในงานฉลองสิ่งก่อสร้าง และก่อพระเจดีย์ข้าวเปลือก 20 มีนาคม 2491 ขนาดกระดาษยันต์ 6x8.5นิ้ว ด้านล่างเขียนไว้ว่า รูปหลวงพ่อบูชาเกิดลาภและขายของดี และกันภัยต่างๆ มียันต์ด้านซ้ายกำกับว่ากันไฟไหม้ ยันต์ด้านขวากำกับว่ากันโจรผู้ร้าย สภาพเดิมๆสมบูรณ์เก่าเก็บ หายาก รับประกันแท้ตลอดชีพครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 540.JPG
      540.JPG
      ขนาดไฟล์:
      78 KB
      เปิดดู:
      66
    • 541.JPG
      541.JPG
      ขนาดไฟล์:
      58.3 KB
      เปิดดู:
      41
    • 542.JPG
      542.JPG
      ขนาดไฟล์:
      54.7 KB
      เปิดดู:
      32
    • 543.JPG
      543.JPG
      ขนาดไฟล์:
      56.1 KB
      เปิดดู:
      39
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  15. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ 9ชั้น รุ่นประวัติศาตร์ อนุสรณ์ 200 ปี พ.ศ.2531 พระดี พิธีใหญ่ พิธีมหาพุทธาภิเษก เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 20 ต.ค.2531 โดยอาราธนาพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ จำนวน108 รูป มาร่วมพิธี สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ เป็นประทานจุดเทียนชัย หลังปั๊มตรา สวยเดิม สนใจสอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 538.JPG
      538.JPG
      ขนาดไฟล์:
      77.3 KB
      เปิดดู:
      34
    • 539.JPG
      539.JPG
      ขนาดไฟล์:
      74 KB
      เปิดดู:
      49
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  16. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวย อยู่ในซองเดิมครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 526.JPG
      526.JPG
      ขนาดไฟล์:
      65.5 KB
      เปิดดู:
      36
    • 527.JPG
      527.JPG
      ขนาดไฟล์:
      62 KB
      เปิดดู:
      29
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  17. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์พระสิวลี เนื้อดำ นิยม หายาก ปี 2506 เนื้อดำส่องมันส์ หลังโรยแร่เพียบ มวลสารที่มากดพระชุดวัดประสาทนั้นไม่ต้องพูดถึงสุดยอด ยุคนี้ต้องหาพระสิวลีติดตัวสู้พิษเศรษฐกิจกันครับ ลองบูชาดูครับ รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวยราคาเบาจริงๆครับ สอบถามกันได้ครับ

    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์พระสิวลี เนื้อดำ จัดสร้างปี พ.ศ. 2506 พระวัดประสาทเป็นพระที่มีมวลสารในการสร้างและพิธีพุทธาภิเษกที่ยอดเยี่ยมมากๆ เนื้อจัดแก่มวลสาร มีมวลสารของพระสมเด็จบางขุนพรหมเป็นส่วนผสม จัดสร้างโดยพระสมุห์อำพล เจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส และอาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ปลุกเสกโดยพระคณาจารย์ร้อยกว่าองค์ ส่วนผสมสำคัญของพระได้แก่ ผงพระสมเด็จบางขุนพรหมที่แตกหักชำรุด ผงพระหลวงปู่ทวดที่แตกหักและมีผงวิเศษ ว่าน แร่ ของคณาจารย์ต่างๆ ปูนขาว กล้วย แร่ทรายทอง น้ำพระพุทธมนต์ สนิมของพระพุทธรูปโบราณ และเศษผงตะไบพระกริ่ง พระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่มาร่วมพิธีปลุกเสกอาทิ เช่น พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ ,หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา ,หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ,หลวงปู่นาค วัดระฆัง ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม , หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม , หลวงปู่ดู่ วัดสะแก ,หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ,หลวงพ่อทบ วัดชนแดน ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงพ่อสุด วัดกาหลง ,หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส ,หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ , หลวงปู่เขียว วัดหรงบน , อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ,หลวงพ่อแทน วัดธรรมเสน , หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง ,หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร และคณาจารย์ชื่อดังอีกมาก

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 544.JPG
      544.JPG
      ขนาดไฟล์:
      57.9 KB
      เปิดดู:
      39
    • 545.JPG
      545.JPG
      ขนาดไฟล์:
      66.7 KB
      เปิดดู:
      29
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  18. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จ พิมพ์ปรกโพธิ์ เนื้อขาว ( นิยม ) วัดประสาทบุญญาวาส ปี 2506 พระดียุคเก่า รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวย รับประกันแท้ตลอดครับ

    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์ปรกโพธิ์ (นิยม ) จัดสร้างปี พ.ศ. 2506 พระวัดประสาทเป็นพระที่มีมวลสารในการสร้างและพิธีพุทธาภิเษกที่ยอดเยี่ยมมากๆ เนื้อจัดแก่มวลสาร มีมวลสารของพระสมเด็จบางขุนพรหมเป็นส่วนผสม จัดสร้างโดยพระสมุห์อำพล เจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส และอาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ปลุกเสกโดยพระคณาจารย์ร้อยกว่าองค์ ส่วนผสมสำคัญของพระได้แก่ ผงพระสมเด็จบางขุนพรหมที่แตกหักชำรุด ผงพระหลวงปู่ทวดที่แตกหักและมีผงวิเศษ ว่าน แร่ ของคณาจารย์ต่างๆ ปูนขาว กล้วย แร่ทรายทอง น้ำพระพุทธมนต์ สนิมของพระพุทธรูปโบราณ และเศษผงตะไบพระกริ่ง พระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่มาร่วมพิธีปลุกเสกอาทิ เช่น พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ ,หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา ,หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ,หลวงปู่นาค วัดระฆัง ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม , หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม , หลวงปู่ดู่ วัดสะแก ,หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ,หลวงพ่อทบ วัดชนแดน ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงพ่อสุด วัดกาหลง ,หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส ,หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ , หลวงปู่เขียว วัดหรงบน , อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ,หลวงพ่อแทน วัดธรรมเสน , หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง ,หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร และคณาจารย์ชื่อดังอีกมาก
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 492.JPG
      492.JPG
      ขนาดไฟล์:
      65 KB
      เปิดดู:
      26
    • 493.JPG
      493.JPG
      ขนาดไฟล์:
      65.8 KB
      เปิดดู:
      28
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  19. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 13.jpg
      13.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.8 KB
      เปิดดู:
      30
    • 14.jpg
      14.jpg
      ขนาดไฟล์:
      62.4 KB
      เปิดดู:
      24
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  20. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,298
    ค่าพลัง:
    +2,481
    ขุนแผนดวงเศรษฐี ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ หลังราหู เนื้อผงผสมว่านดำ ชนวนมวลสารที่มานำมาสร้างนั้น มีว่านยา,ว่านมหาเสน่ห์,ว่านเศรษฐี, ผงพุทธคุณ, ผงตรีนิสิงเหฯ,มวลสารจากหลวงปู่ครูบาออเช่นข้าวก้นบาตร,ชานหมาก,แป้งเจิมในพิธีเสกงานต่างๆเป็นต้น พุทธคุณตามชื่อพิมพ์พระ ชื่ดี นามมงคล เมตตามหาเสน่ห์ ค้าขายโชคลาภ ท่านเสกไว้ให้เป็นอย่างดี สภาพสวย ราคาเบาๆครับ สนใจสอบถามได้ครับ

    ประวัติครูบาออ โดยสังเขป

    หลวงปู่ครูบาออ ปณฺฑิต๊ะ ท่านเกิดเมื่อวันอังคาร เดือนสิบสองไทย(ธันวาคม) พ.ศ. ๒๔๖๓ ปีวอก ที่ บ้านน้ำหน่อ ต.ปางซาง จ.ลายข่า ประเทศพม่า(ไทยใหญ่) บิดาเป็นกำนัน ท่านชื่อจั่นตา มารดาชื่อนางเห็งแปร มี พี่น้องร่วมกันทั้งหมด ๑๐ คน ครูบาออเป็นคนที่ ๙ ของครอบครัว ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด ปัจจุบันได้เสียชีวิตไปหมดแล้ว คงเหลือแต่ท่านคนเดียว ท่านมีหลาน ๆ ลูกพี่ลูกน้องอยู่ในหมู่บ้าน เมืองนะ หลายคน ที่พอจะคอยดูแล ในช่วงที่ท่านเป็นเด็ก เด็กชายออ นั้นได้เริ่มบรรพชาสามเณร ตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ จนถึงอายุ ๑๕ ปี พอดีในช่วงนั้นได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านได้ลาสิกขาไปรับใช้ชาติเป็นทหารร่วมรบกับกองกำลังทหารไทยใหญ่ หลังปลดจากทหารแล้วได้กลับมาอุปสมบทอีกครั้งได้ ๕๖ พรรษาท่านเป็นพระเกจิสายเดียวกับครูบาเป็งยา มหานยกะ วัดเปียงหลวง อ.เวียงแหง ปัจจุบันเป็นพระเกจิที่พลโทเจ้ายอดศึกและทหารไทยใหญ่ แม้แต่คนไทยที่อยู่ในแถบนั้นให้ความศรัทธานับถืออย่างมาก โดยกองทัพไทยใหญ่ไม่เคยพ่ายแพ้ต่อทหารพม่าเลย ทั้งที่กองกำลังทหารมีจำนวนน้อยกว่า ท่านชอบใช้ชีวิตที่สมถะสันโดษ เคร่งครัดในพระธรรมวินัย เรียบง่าย เรื่องอาหาร เมื่อมีก็ฉันท์ ไม่มีก็ไม่ฉันท์ ที่ไหนเป็นวัดร้าง ไม่มีพระสงฆ์อยู่อาศัย ท่านก็จะไปพำนักอยู่ปฏิบัติธรรม เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ท่านเป็นพระสงฆ์ที่คอยโปรดญาติโยมชาวบ้านทุกคน ที่เข้ามานมัสการท่านอยู่ตลอด ตามประวัติท่านเป็นครูบาผู้เฒ่าที่มากด้วยวิชาขมังเวท เจ้าอาคมชาวไทยใหญ่ ปลีกตัว เร้นกายอยู่บนดอยสูงเพียงรูปเดียว

    "ครูบาออ" รูปนี้ท่านเป็นที่เคารพศรัทธาจากประชาชนรัฐไทยใหญ่มาก

    "เจ้าฟ้าแสงเชียง" เจ้าแผ่นดินรัฐฉานหรือไทยใหญ่ เป็นผู้สักสังวาลเพชรบนศีรษะท่านตอนอายุ 20 ปี เพราะโปรดที่ "นายออ" ตอนนั้นเป็นทหารกล้า นำพากองทัพไทยใหญ่รบชนะข้าศึก โดยไม่เสียกำลังพลแม้แต่คนเดียว

    จากคำบอกเล่าของท่าน "เจ้าปิ่นยา" พระสังฆราชไทยใหญ่ เป็นผู้บวชให้ เมื่อบวชแล้วท่านศึกษาอักขระ ตำราเลขยันต์ฉบับหอคำหลวง เจนจบพุทธาคม จนได้รับการวางตัว เป็นพระมหาเถระองค์ต่อไป ท่านเรืองวิชาตั้งแต่เป็นสามเณร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหารไทยใหญ่ รบกับพม่า ทั้งกองร้อยรบไม่เคยแพ้ เพราะก่อนรบท่านทำน้ำมนต์และสักกระหม่อมให้เพื่อนทหารสู้กับศัตรู ปรากฏว่า ปืนทหารพม่ายิงมาไม่ออกบ้าง ออกแต่ไม่ถูกบ้าง ลูกระเบิดตกใกล้ๆ ไม่ระเบิดบ้าง แม้ตอนนี้เจ้ายอดศึก ผู้นำไทยใหญ่ ก็เคารพนับถือท่านอย่างที่สุด

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018

แชร์หน้านี้

Loading...