พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    โอเช ถ้าเสกแล้วเอา 1 วง เป็นแหวนณารายณ์ (ไม่แน่ใจว่าสะกดถูก)ทรงครุฑ หรือณารายณ์ทรงสุบรรณ ข้างๆ เป็นราหูทั้ง 2 ข้าง ปกติเป็นทองเหลือง วงล่ะ 50-70 บาท แต่เสกแล้วไม่รู้ราคา ใส่ที่นิ้วชี้ เผื่อชี้สั่งการสั่งงานลูกน้อง อำนาจเด็ดขาดนัก แต่อย่าให้ภรรยาใส่เดี๋ยวเผลอมาชี้เราก็เหนื่อยตายเลย แค่จับทัพพีเหนือเราตอนแต่งงานก็แย่แล้ว โดนแหวนชี้อีก ซวยล่ะตู ต้องฝีนกาเมฯ ล่ะว้า งานนี้
     
  2. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    จริงอย่างพี่ว่าทั้งหมดละครับโดนใจผมยิ่งนัก เพราะผมเองเห็น...รึ แต่แรก ก็จบแล้ว (มันเป็นคำสำแดงนะครับ)
    โมทนาสาธุครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2007
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    เรียนพี่ๆหรือผู้รู้ท่านใดก็ได้
    อยากทราบเกี่ยวกับหลวงปู่พรหมาครับ เป็นพระปัจจุบันหรือว่าอดีต วัดไหน (แค่อยากรู้ครับเพราะอ่านแล้วไม่รู้จึงอยากรู้)
    อืมไหนๆก็ถามแล้วอยากรู้ความเป็นมาหรือเกี่ยวพัน /สำคัญของแหวนลักษณะนี้ กับพระเจ้าชัยวรมันด้วยครับ
    ขอบคุณครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2007
  4. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ พันวฤทธิ์ [​IMG]
    เบื้องหลังพระประธานวัดนี้นี่สิน่าสนใจอย่างยิ่ง เห็นท่านเฉยแต่หารู้ไม่ อยากรู้ว่าอย่างไร ก๊วนวังหน้า ชาตินี้ควรไปกราบท่านให้ได้ก็แล้วกัน นี่แหละต้นตระกูลภัทรกัปป์ที่ท่านลงมาเอง อยู่เลยบ้าน อ.ประถมไปไม่กี่มากน้อย ไปไหว้พ่อซะ....


    เลียนแบบ อ.ง ก่อนหน้านี้

    ท่านบอกคุณรึ? ว่าท่านลงมาเอง
    เปล่า แต่ฌาณลาภีที่นับถือบอกมา จึงเชื่อ ถ้าไม่ใช่ก็ถือว่ากราบพระแล้วได้บุญแล้ว

    แล้วทีท่านล่ะรู้ได้ไงฟ่ะว่าสมเด็จ 9 ท่า 9 บ่อ ฯ9 รส ฯลฯมี 90 องค์ เห็นท่านเขียนเองกับตาเลยรึ?
    อ้าว..ก็ที่ตำหนักมีเท่านี้ ท่านก็สร้างเท่านี้น่ะสิ เนี่ย ลายมือก็มีเขียน(ฮาหน่อย..ลายมีอท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ น่ะเนี่ย)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ พันวฤทธิ์ [​IMG]
    ขอต่ออีกนิดไหนๆ คุณน้องหนูก็โมทนาให้แล้ว คำว่าท่านบอกคุณรึ? สำหรับฌาณลาภีบุคคลแล้ว จะไม่มีคำถามเช่นนี้ออกมาเด็ดขาด เนื่องจากหากผู้สำเร็จฌาณ ซึ่งเจ้าประคุณสมเด็จฯ อาจมาบอกกับ อ.ร จริงก็นับว่าท่านเป็นฌาณลาภีระดับสูง ย่อมมิจะกล่าวเช่นนี้ เพราะผู้ทรงฌาณระดับนี้ ย่อมต้องถึงพร้อมด้วยพรหมวิหาร 4 คงไม่ต้องบอกว่ามีคุณสมบัติอย่างไร ถึงกับมีผู้กล่าวว่า ผู้สำเร็จฌาณหรือได้กสิณแล้ว ต้องหลีกหน้าหนีไปอยู่ป่า เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นโลกียะธรรมย่อมมีความเสื่อมได้ หากขาดการระวังตน ดังนั้นคำว่า ท่านบอกคุณรึ นี้ย่อมแสดงออกมาถึงความโกรธ และปรมาสผู้อื่นในตัวเอง คุณสมบัติข้อนี้จึงไม่ครบในพรหมวิหารธรรมข้างต้นแต่ประการใด ถึงแม้คุณทั้งหลายที่เข้ามาดูในกระทู้นี้และเริ่มปฏิบัติธรรม ก็น่าจะพิจารณาได้ แต่ผมเองก็มิได้จะปรมาสในฆราวาสธรรม ของ อ.ร แต่ประการใด หรือจะยืนยันเข้าข้าง คุณหนุ่มแต่ประการใด เพียงแต่ว่า หากเรากำหนดเอาวิหารธรรมที่แต่ละท่านกระทำอยู่เป็นตัวตั้ง กอรปกับคำสั่งสอนของครูอาจารย์แต่ละท่านเป็นธงชัยแล้ว ปัญหาท่านบอกคุณรึ ก็เป็นอันยุติ ไม่ต้องต่อความยาวกันอีก ตั้งหน้าตั้งทำไตรสิกขาให้แจ้ง ถึงเวลานั้น ท่านบอกคุณรึ จะไม่มี เพราะ เรารู้แล้วหนอ เราเห็นแล้วหนอ นั่นเอง สาธุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ประมูลหยกลัญจกรเฉียนหลงฮ่องเต้ราคาสูง “ทะลุสถิติโลก”
    http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9500000120208
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 ตุลาคม 2550 20:39 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=200 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=200>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>หยกลัญจกรที่สลักคำว่า "เทียนซั่งฮวงตี้" (จักรพรรดิสูงสุด)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ซินหัวเน็ต – งานการประมูลฤดูใบร่วงประจำปี 2007 ที่ Sotheby's ฮ่องกงเป็นผู้จัดการประมูลขึ้น ดำเนินการเสร็จสิ้นไปด้วยดีเมื่อวันอังคาร( 9 ตุลาคม )

    โดยสินค้าที่เข้าร่วมการประมูลรวมมูลค่าทุกชิ้นประมาณ 1 พันล้านเหรียญฮ่องกง และหนึ่งในนั้นเป็นที่ฮือฮามากสุดคือ “หยกราชลัญจกร” สมบัติล้ำค่าจากพระราชวังสมัยราชวงศ์ชิง ซึ่งตราลัญจกรดังกล่าวเป็นหยกสลักลักษณะกลม สลักด้วยตัวอักษรเสี่ยวจ้วนเป็นคำว่า“ไท่ซั่งฮวงตี้” (จักรพรรดิสูงสุด) มูลค่าประมาณ 46,247,500 ดอลลาห์ฮ่องกง เป็นมูลค่ามากกว่าที่คาดการณ์เอาไว้ถึง 2 เท่า และมูลค่านี้ได้ทำลายสถิติโลกที่เคยมีการประมูลหยกโบราณมา

    ตราลัญจกรนี้ได้ทำขึ้นเมื่อเฉียนหลงฮ่องเต้มีอายุครบ 85 ปี และได้เปลี่ยนฐานะเป็นพระบิดาหลวง หรือจักรพรรดิสูงสุด ซึ่งเป็นลัญจกรที่มีอายุในประวัติศาสตร์นานถึง 200 กว่าปี ในการประมูลดังกล่าวเป็นไปอย่างดุเดือด และผู้ที่ได้ไปครองคือนักสะสมจากจีน


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=347 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=347>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>อีกมุมหนึ่งของหยกลัญจกร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://hilight.kapook.com/view/16205

    เคล็ดลับการเลือกบูชา พระเครื่อง



    <CENTER>
    อยากได้ พระเครื่อง จตุคาม องค์ จตุคามรามเทพ และ พระบูชา อื่น ๆ มาไว้เป็น เครื่องบูชา แต่ก็ ไม่รู้จะทำอย่างไร ถึงจะรู้ว่า พระ หรือ จตุคาม ที่เราจะเลือกบูชาเป็นของจริงหรือปลอม วันนี้ เรามี บทความ และ เคล็ดลับการเลือกบูชา จตุคาม องค์ จตุคามรามเทพ หรือ พระเครื่อง มาบอกกันค่ะ


    [​IMG]

    สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม

    คำว่า พระเครื่อง หรือ พระบูชา นั้น มีความหมายที่ต้องการสื่อถึงรูปสมมุติและสัญลักษณ์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าบนโลกมนุษย์ เพื่อเคารพสักการะและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ต่อผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา

    ประวัติการสร้างวัตถุมงคลในพุทธศนาบนแผ่นดินไทย มีการสันนิษฐานว่าน่าจะมีการสร้างภายหลังการสร้างพระพุทธรูป ราวปี พ.ศ. 500 ดังหลักฐานที่มีปรากฎในสมัยทวารวดี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นรูปสมมุติแทนการสิ่งระลึกถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ในเวลาต่อมา รัชกาลที่ 5 ทรงสั่งเครื่องจักรจากยุโรปเพื่อผลิตเหรียญกษาปณ์ จึงเริ่มมีการผลิตเหรียญของพระอาจารย์ที่พิมพ์แบบจากเครื่องงจักร ทำให้เรียกพระพิมพ์เหล่านี้ว่า พระเครื่อง ในเวลาต่อมา

    ส่วนใหญ่พระเครื่องที่สร้างขึ้นจะมีขนาดเล็ก เหตุที่เป็นเช่นนั้นพราะหากพุทธศานาเสื่อมลงหรือพุทธสถานต่าง ๆ พังทลายลง จะยังคงมีพระเครื่องเป็นรูปสมมุติแทนองค์พระพุทธเจ้า สืบทอดความเจริญรุ่งเรืองต่อไป ต่อมาคนโบราณนิยมนำมาเป็นเครื่องรางเพื่อให้รอดพ้นอันตรายจากการอกศึกสงคราม สืบเนื่องมาในปัจจุบันนิยมนำมาห้อยคอเพื่อคุ้มครองป้องกันภัย

    พระเครื่องในประเทศไทยมีการสร้างขึ้นในหลายลักษณะ ทั้งการจำลองรูปเคารพขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือรูปลักษณะของเกจิอาจาย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง บ้างนำไปทำเลื่อมกรอบห้อยคอ หรือกลัดติดกระเป๋า ส่วนพระบูชา มักจะมีขนาดใหญ่กว่า นิยมนำมาตั้งบูชาอยู่ในบ้านเรือนหรืออยู่กับวัดวาอารามต่างๆ

    [​IMG]

    [​IMG]


    </CENTER>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระเครื่องรางที่เป็นที่นิยม

    - พระกรุต่างๆ (ที่ขุดได้จากพุทธเจดีย์ โบราณสถาน) เช่นพระสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย กำแพงเพชร อู่ทอง อยุธยา รัตนโกสินทร์

    - พระสมเด็จ เช่น พระสมเด็จวัดระฆัง พระสมเด็จบางขุนพรม พระสมเด็จเกศไชโย พระสมเด็จปิลันทร์ พระสมเด็จวัดหลวงปู่ภู พระผง ๙ สมเด็จเป็นต้น

    - พระสมเด็จจิตรลดา

    - พระสมเด็จนางพญา สก.วัดบวรนิเวศวิหารพระสมเด็จนางพญา วัดบวรนิเวศวิหาร มวลสารจิตรลดา

    - หลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด

    - เหรียญที่ระลึกรูปพระพุทธรูป เช่น หลวงพ่อโต (อยุธยา) พระพุทธชินราช หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อวัดบ้านแหลม หลวงพ่อวัดเขาตะเครา

    - เหรียญที่ระลึกรูปพระเกจิอาจารย์ (รูปพระภิกษุสงฆ์) เช่น หลวงปู่ศุข หลวงปู่เอี่ยม หลวงพ่อฉุย เป็นต้น

    - เหรียญหล่อ เช่น หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง หลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก หลวงพ่อเงิน บางคลาน เป็นต้น

    - พระปิดตา (พระภควัมบดี)เช่น หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่ทับ หลวงปู่นาค เป็นต้น

    - พระกริ่ง/พระชัย เช่น พระกริ่งวัดสทัศน์ เป็นต้น

    - พระของขวัญวัดปากน้ำ หลวงพ่อสด พระมงคลเทพมุนี

    - พระอื่นๆ เช่น หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก เป็นต้น


    [​IMG]

    [​IMG]


    วิธีสังเกตพระเครื่อง

    1. อย่าเช่าตอนกลางคืน เพราะเงาแสงจะหลอกตา

    2. อย่าเช่าพระที่ยังเลี่ยมกรอบไว้ โดยเฉพาะเหรียญ และเนื้อดิน

    3. อย่าแลกพระกับเซียนถ้าไม่รู้จริง เพราะเซียนจะมีพระชุดหนึ่งไว้แลก บางครั้งที่แขวนคอก็ไว้แลกเช่นกัน

    4. เวลานำพระมาโชว์เซียน ถ้ารู้ว่าพระนั้นดีจะไม่ตื่นตูม จะแค่เพียงทักบอกเราแต่จะเงียบทำทีสนใจองค์อื่น บางทีอาจจะเช่าพระเก๊ของท่านทั้งๆ ที่รู้ หรือยอมเสียเปรียบนำพระราคาสูงกว่ามาแลกกับพระที่ไม่มีราคาของท่านดีใจเล่น แต่จริงๆ เขาจะเล็งพระอีกองค์เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจนั่นเอง


    [​IMG]

    สิ่งสำคัญในการดูและเช่าพระเครื่อง

    1. อย่าชื่นชอบพระเครื่องจนถึงกับบ้าคลั่ง มีทรัพย์สินมากน้อยเพียงไหนก็นำมาเช่าพระทั้งหมด

    2. อย่าจับพระมาถูเหงื่อ ให้จับขอบพระ เพราะเจ้าของจะมักจะหวงและ แสดงว่าเราไม่ถนอม หรือขาดหลักในการอนุรักษ์ที่ดี

    3. อย่าไถหรือหลอกขอพระมาฟรีๆ โดยที่เจ้าของเขาไม่เต็มใจ

    4. พิสูจน์ว่าใครเป็นเซียนตัวจริง โดยนำพระแท้จากคนที่สามารถให้ยืมได้หรือพระของผู้ที่วงการยอมรับเชื่อถือมาใส่กรอบพลาสติก ปนมากับพระเก๊ แล้วให้ลองวิจารณ์

    มือใหม่ควรระวัง

    1. เซียนเปิดร้าน แต่พอถามพระในร้านกลับบอกว่าอันนี้ดูไม่เป็น (อย่าเชื่อ เพราะพระในร้านถึงดูไม่เป็นก็รู้อยู่แล้วว่าแท้หรือปลอม เซียนพระมักมีเครือข่ายตรวจสอบของจริง ของเก๊ได้)

    2. ถามพระในร้านบอกว่ามีคนฝากมาปล่อย การันตีไม่ได้ (อย่าเชื่อ เพราะถ้าถ้าเป็นพระแท้ก็สามารถการันตีให้แล้ว)

    3. พระรุ่นนี้มีหลายบล็อก (อันนี้ควรระวังหน่อย หากไม่ใช่บล็อกนิยมหรือก็จะเป็นของปลอมไปเลย)

    4. ถ้าปลอมเอามาเปลี่ยนได้ (สุดท้ายต้องเอาพระมาเปลี่ยนองค์อื่นๆ ในร้าน ส่วนใหญ่ไม่ได้เงินคืน)

    5. มือใหม่ควรเริ่มต้นจากการอ่านหนังสือพระ ไม่ต้องรีบร้อนตามหาพระในหนังสือมาครอบครอง อ่านให้เข้าใจก่อนแล้วค่อยทยอยเก็บ


    ข้อมูลและภาพประกอบจาก

    - วิกิพีเดีย
    - กระปุกแสนรู้
    - ศูนย์พระดอทคอม
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/วัดใหญ่อินทาราม

    วัดใหญ่อินทาราม

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->วัดใหญ่อินทาราม เป็นวัดเก่าแก่โบราณคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดชลบุรี สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
    [​IMG] วัดใหญ่อินทาราม


    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ประวัติความเป็นมา

    วัดใหญ่อินทาราม เป็นวัดเก่าแก่โบราณคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดชลบุรี สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย หลักฐานความเป็นมาของวัดใหญ่อินทาราม คือ บรรดาสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ภายในบริเวณวัด เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ฐานเสมา พระปรางค์
    ทั้งนี้ยังมีประวัติเล่าสืบมาว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พระเจ้าตากสินได้เคยเสด็จประทับ ณ วัดใหญ่อินทารามครั้งหนึ่ง

    [แก้] ความสำคัญต่อชุมชน

    วัดใหญ่อินทารามเป็นวัดสำคัญของจังหวัดชลบุรี เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง มีโบราณสถานที่สำคัญๆ เดิมมีฐานะเป็นวัดราษฎร์ ต่อมาได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ยกฐานะเป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2518 นับเป็นศูนย์กลางด้านศาสนพิธีใน)วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประชาชนชาวจังหวัดชลบุรี

    [แก้] การเดินทาง

    วัดใหญ่อินทาราม จากถนนสุขุมวิท บริเวณสี่แยกไปอำเภอพนัสนิคมเลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนโพธิ์ทอง เลี้ยวซ้ายเข้าถนนเจตน์จำนงค์ประมาณ 300 มตร วัดตั้งอยู่ริมถนนห่างจากศาลากลางจังหวัดชลบุรีประมาณ 500 เมตร

    [แก้] สถานที่ตั้ง

    เลขที่ 858 ถนนเจตน์จำนงค์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chonburi.go.th/travel_detail.php?id=3

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG]
    </TD><TD width="50%"><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>วัดใหญ่อินทาราม

    </TD></TR><TR><TD width="33%">ที่ตั้ง</TD><TD width="67%">กลางเมืองชลบุรี </TD></TR><TR><TD width="33%">โทรศัพท์</TD><TD width="67%">- </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="52%"></TD><TD width="48%"></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>เดิมชื่อวัด อินทาราม ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัดใหญ่อินทารามจนถึงปัจจุบัน เป็นวัดเก่าแก่และสำคัญที่สุดของจังหวัดชลบุรี ตามพงศาวดารปรากฎว่า พระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อครั้งยังเป็น พระยาวชิรปราการ ได้เสด็จมรพักไพร่พลเมื่อคราวเสด็จมาปราบปรามนายทองอยู่ นกเล็ก บริเวณหมู่บ้านใกล้ เคียงกับวัดนี้ ชาวบ้านเรียกว่าวัดบ้านค่าย และถัดไปไม่ไกลมีสะพานจากในเมืองลงสู่ทะเล ชาวบ้านเรียกกันว่า สะพานหัวค่าย วัดนี้สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ภาพเขียนในวัดนี้ โดยเฉพาะที่มณฑปหลังพระอุโบสถเป็นฝีมือ ช่างสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ตอนบนเขียนเป็นภาพเทพชุมนุมขนาดใหญ่ แบบพระที่นั่งพุทธไธสวรรค์ที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ส่วนตอนล่างเขียนเป็นภาพมารวิชัย มีพระนางธรณีบิดมวยผม กับเรื่องทศชาติต่อ มาเมื่อสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ทำการซ่อมแซมพระอุโบสถ คงจะเป็นช่างเขียนฝีมือเดียวกับ พระที่นั่งพุทธไธสวรรย์ และประดับด้วยชามต่าง ๆ ที่มีเครื่องลายครามและลายที่ฝาผนังพระอุโบสถ นอกจาก นี้ยังมีธรรมมาสน์ลงรักปิดทองประดับกระจก พิจารณาดูแล้วคงจะเป็นฝีมือ ช่างสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีรูปสัตว์หิมพานต์จำหลักเป็นตัว ๆ เช่น คชสีห์ ราชสีห์ และม้า เรียงกันเป็นขั้นบันไดไปยังพื้นธรรมาสน์ นับว่า เป็นการประดิษฐ์ที่แปลกมาก </TD></TR><TR><TD width="27%"></TD><TD width="73%"></TD></TR><TR><TD width="27%">การเดินทาง</TD><TD width="73%"></TD></TR><TR><TD colSpan=2>- </TD></TR><TR><TD width="27%"></TD><TD width="73%"></TD></TR><TR><TD width="27%">เวลาเปิด - ปิด</TD><TD width="73%">:-: </TD></TR><TR><TD width="27%">ราคาเข้าชม </TD><TD width="73%">- </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.choncity.com/travel/muang14.html

    วัดใหญ่อินทาราม



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD height=506>[​IMG]

    ประวัติความเป็นมา วัดใหญ่อินทาราม เป็นวัดเก่าแก่โบราณคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดชลบุรี สร้างสมัย
    กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย หลักฐานความเป็นมาของวัดใหญ่อินทาราม คือ บรรดาสถาปัตยกรรมต่าง ๆ
    ภายในบริเวณวัด เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ฐานเสมา พระปรางค์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
    พระเจ้าตากสินได้เสด็จประทับณ.วัดใหญ่อิน-ทาราม


    [​IMG]
    ความสำคัญต่อชุมชน เป็นวัดสำคัญของจังหวัดชลบุรี เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้าน
    คู่เมือง มีโบราณสถานที่สำคัญๆ เดิมมีฐานะเป็นวัดราษฎร์ ต่อมาได้รับพระ
    มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ยกฐานะเป็นพระอารามหลวงเมื่อวันที่ ๑๕
    สิงหาคม ๒๕๑๘ เป็นศูนย์กลางด้านศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธ
    ศาสนาของประชาชนชาวจังหวัดชลบุรี

    เส้นทางเข้าสูู่่
    วัดใหญ่อินทาราม จากถนนสุขุมวิท บริเวณสี่แยก
    ไปอำเภอพนัสนิคมเลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนโพธิ์ทอง เลี้ยวซ้ายเข้าถนน
    เจตน์จำนงค์ประมาณ ๓๐๐ เมตรวัดตั้งอยู่ริมถนนห่างจากศาลา
    กลางจังหวัดชลบุรีประมาณ ๕๐๐ เมตร



    สถานที่ตั้ง
    เลขที่ ๘๕๘ ถนนเจตน์จำนงค์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    คำถามแรกหลวงปู่พรหมา เขมจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำสวนหินแก้ว(ผานางคอย) ภูกระเจียว บ้านดงนา อ.ศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มรณะภาพไปเมื่อปี 2545 อายุได้ 105 ปี เป็นพระที่ปฏิบัติธรรมมีอาจารย์เป็นฤาษี อยู่บนยอดภูเขาควายถึง 45 พรรษา
    [​IMG]

    คำถามสอง เล่ากันมาว่าท่านพระเจ้าชัยวรมันใส่แหวนลักษณะนี้เพื่อสั่งการให้เปรียบเสมือนพระเจ้าบนสวรรค์ลงมาบัญชาด้วยองค์เอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 มกราคม 2008
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ท่านใดที่มีความประสงค์ที่จะไปงานมหากฐิน สนส.ผาผึ้ง ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ 10-11 พย.50 ขอความกรุณาแจ้งชื่อด้วยนะครับ ผมจะได้แจ้งหมายเลขบัญชีที่จะให้ท่านโอนเงินค่าเดินทาง มาให้ก่อน จำนวน 500 บาท จะได้นำเงินไปให้พี่แอ๊ว เพื่อเป็นค่ามัดจำรถตู้ก่อน พี่แอ๊วได้จัดรถตู้ไว้ทั้งหมด 2 คันครับ

    โมทนาสาธุครับ



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เดี๋ยวก็หายแล้วครับน้องเอ

    จะได้ไปด้วยกัน

    .
     
  15. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สาธุท่าน อ.ระฆัง ท่านได้ให้คติธรรมกับพวกเรา ขอให้จำ "ท่านบอกคุณ รึ?" ไว้เป็นตัวเร่งความเพียรเน้อ.... เพราะคำๆ นี้ อาจจะทำให้เราบรรลุถึงอภิญญาญาณก็ได้ ใครจะไปรู้...
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.cuttukamramatep.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=428432



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

    เปิดประวัติศาสตร์การสร้างพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
    และเหรียญหลวงพ่อเฉยพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำวัดใหญ่อินทาราม

    อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัด
    วัตถุประสงค์


    1. เพื่อเชิดชูพระเกียรติคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
    2. เพื่อจัดหาทุนสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม
    3. เพื่อจัดหาทุนทรัพย์บูรณปฏิสังขรณ์ เสนาสนะสงฆ์
    4. เพื่อจัดหาทุนสงเคราะห์การศึกษาแก่เด็กและเยาวชน

    พิธีมหาพุทธาภิเษกวันที่ 10 มีนาคม 2548 ณ พระอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม
    กำหนดรับวัตถุมงคล ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2548 เป็นต้นไป


    <HR style="COLOR: orange" align=center width="97%" SIZE=1 hr>

    ประวัติความเป็นมา


    <TABLE class=Fixfont height=281 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="46%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="41%" height=226>

    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=44>
    พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


    ประดิษฐานอยู่หน้าวัดใหญ่อินทาราม

    อำเภอเมือง จ.ชลบุรี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [​IMG] วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวงชั้นตรี)
    ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 848 ถ.เจตน์จำนงค์ ต.บางปลาสร้อย อ.เมือง จ.ชลปรี มีเนื้อที่ประมาณ 28 ไร่เศษ เป็นอารามสำคัญที่มีอายุการเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองชลบุรีมาแต่โบราณ เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดตั้งอยู่ใจกลางเมือง จ.ชลบุรีแต่เดิมคนทั่วไปเรียกว่าวัดหลวง หรือวัดใหญ่ ซึ่งตรงกับที่กล่าวไว้ในพงศาวดารว่า " วัดหลวง" เป็นวัดที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อครั้งเป็นพระยาวชิรปราการ ได้เคยเสด็จมาพักรวบรวมไพร่พลเพื่อกอบกู้เอกราชบ้านเมือง วัดใหญ่อินทารามได้รับการประกาศจากทางราชการตั้งเป็นวัดเมื่อพ.ศ. 2325 ได้รับพระราชทานวิสูงครามมสีมา พ.ศ. 2335 ได้รับพระมหาโปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2518 ปัจจุบันพระปริยัติธาดา (เอนก ฐานิสฺสโน) ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสและรองเจ้าคณะจังหวัดชลบุรีท่านมีความคิดที่จะจัดสร้างวัตถุมงคลพระบรมรูปพระเจ้าากสินมหาราชและเหรียญหลวงพ่อเฉย เพราะทางวัดยังไม่เคยมีการจัดสร้างวัตถุมงคลมาก่อน ซึ่งถือว่าเป็นครั้งแรกในการจัดสร้างของวัดเพื่อเป็นการเทอดทูลวีรกษัตริย์ไทยที่ท่านสามารถกอบกู้บ้านเมืองมาจนทุกวันนี้

    [​IMG] หลวงพ่อเฉย
    <TABLE class=Fixfont height=281 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="46%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="41%" height=226>

    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=44>
    หลวงพ่อเฉย พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำวัด

    </TD></TR></TBODY></TABLE>หลวงพ่อเฉย วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง) จ.ชลปรี เป็นพระพุทธปฏิมาทรงเครื่องศิลปะสมัยอยุธยา เดิมที ีหลวงพ่อเฉยเป็นพระพุทธรูปประจำอยู่วัดสมรโกฏ อันเป็นวัดที่สร้างในยุคเดียวกันกับวัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง) แต่ต่อมาภายหลังวัดสมรโกฏไม่มีพระภิกษุอยู่จำพรรษา และขาดผู้อุปถัมภ์บำรุงวัด เลยกลายเป็นวัดร้างไปวิหารที่ประทับของหลวงพ่อเฉยก็ชำรุดทรุดโทรม ขาดผู้บูรณะ ซ่อมแซม ก็ผุพังทำลายลงไปตามกาลเวลา หลวงพ่อเฉยประดิษฐานประทับนั่งอยู่กลางแจ้ง ลม ฝน แดดส่อง อยู่นานหลายปี เป็นที่สังเวชอเนจอนาถต่อสายตาของผู้มาพบเห็น ชาวบ้านชาวเมืองได้ขนานนามท่านว่า " หลวงพ่อเฉย " เพราะท่านประทับนั่งเฉยอยู่กลางแจ้ง ฝนตก แดดออก มาถูกต้องท่าน ท่านก็ไม่ได้บ่นได้ว่าอะไรจึงได้นามว่า " หลวงพ่อเฉย" ตามที่ประชาชนเรียกขานกันดังที่กล่าวมา

    ต่อมาภายหลัง ประชาชน ชาวบ้านนิมนต์ (อัญเชิญ) ย้ายท่านจากวัดร้างสมรโกฏมาอยู่ ณ วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง) จนถึงปัจจุบันนี้ หลายร้อยปีผ่านมาและได้เป็นพระพุทธรูปประจำอยู่ศาลา 9 ห้อง อันเป็นศาลาบำเพ็ญกุศลในสมัยของพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระราชพรหมาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดใหญ่อินทาราม รูปที่ 7 ได้ย้ายขึ้นไปประจำอยู่บนศาลามหาราชที่บำเพ็ญกุศลหลังใหม่ มาอยู่จนตราบเท่าทุกวันนี้

    [​IMG] พระอัจฉริยประวัติโดยสังเขปของพระเจ้าตากสินมหาราช วีรกษัตริย์ไทย
    พระเจ้าตากสินมหาราช หรือพระเจ้ากรุงธนบุรี อดีตวีรกษัตริย์ไทย ทรงถือกำเนิดขึ้นมาในตระกูลสามัญชน บิดาเป็นจีนแต้จิ๋ว จากแผ่นดินหญ่ ชื่อ แต้ตั๊ก (ขุนพัฒน์ หรือ จีนไหฮอง) แซ่แต้ เป็นชาวตำบลฮั่วปูเฮีย อำเภอเท่งไฮ้ จังหวัดแต้จิ๋ว มณฑลกวางตุ้ง เดินทางเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารตอนปลายสมัยอยุธยา ก่อร่างสร้างตนขึ้นมาจนมีฐานะมั่นคง ระดับเจ้าสัว (เศรษฐีชาวจีน) ผู้หนึ่ง แห่งกรุงศรีอยุธยา รู้จักคุ้นเคยสนิทสนมกับบรรดาเจ้านาย เสนาบดี มีภรรยาเป็นคนไทย ชื่อ นางนกเอี้ยง เป็นผู้กำเนิดพระมหาวีรราชเจ้า ซึ่งเป็นผู้กู้อิสรภาพของชาติไทยกลับคืนมาจากพม่าข้าศึกในปี พุทธศักราช 2310

    [​IMG] พิธีเททองเป็นปฐมฤกษ์
    พิธีเททองเป็นปฐม เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2547 จำนวน 99 องค์ เพื่อนำชนวนมวลสารมาจัดสร้างวัตถุมงคล โดยมีพระปริยัติธาดา เจ้าอาวาสวัดใหญ่อินทาราม รองเจ้าอาวาสคณะจังหวัดชลบุรี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายพิสิฐ เกตุผาสุข ผู้ว่าราชการ จังหวัดชลบุรี ประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยนายประโยชน์ เนื่องจำนงค์ พระราชสุธี วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพฯเจริญชัยมงคลคาถา

    <TABLE class=Fixfont height=191 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="58%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="59%" height=191>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR style="COLOR: orange" align=center width="97%" SIZE=1 hr>

    รายการวัตถุมงคล
    1. รายการพระบรมรูปบูชา 5 นิ้ว
    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="58%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="59%" height=239>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>2. รายการเหรียญขนาดใหญ่ (2.7 ซม.) และ เล็ก (1.4 ซม.)


    <TABLE class=Fixfont cellSpacing=0 cellPadding=0 width="75%" align=center border=0><TBODY><TR><TD height=84>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>
    เหรียญทองคำ


    (ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย


    ( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>
    เหรียญเงิน


    (ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย


    ( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>
    เหรียญทองแดง

    (ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย

    ( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Pra1.jpg
      Pra1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.1 KB
      เปิดดู:
      910
    • Pra3.jpg
      Pra3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.3 KB
      เปิดดู:
      905
    • Pra2.jpg
      Pra2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.2 KB
      เปิดดู:
      83
    • Boocha.jpg
      Boocha.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14.2 KB
      เปิดดู:
      79
    • coin_Gold.jpg
      coin_Gold.jpg
      ขนาดไฟล์:
      13.3 KB
      เปิดดู:
      68
    • coin_Silver.jpg
      coin_Silver.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14 KB
      เปิดดู:
      79
    • coin_Copper.jpg
      coin_Copper.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14 KB
      เปิดดู:
      68
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.nairobroo.com/76/modules.php?name=Sections&op=printpage&artid=300

    [​IMG]

    วัดใหญ่อินทาราม
    ชมภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา

    เดิมชื่อวัดหลวง เป็นวัดสำคัญเก่าแก่คู่เมืองชลบุรี สันนิษฐานว่าสร้าง มาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย ในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่มีความสวยงามมาก สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงตรัสชมว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • a_1.jpg
      a_1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.9 KB
      เปิดดู:
      371
    • logo.gif
      logo.gif
      ขนาดไฟล์:
      22.9 KB
      เปิดดู:
      943
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post749269 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">เมื่อวานนี้, 08:26 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #10688</TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.somdejto.com/somdejto/viewtopic.php?t=21

    www.somdejto.com -> ถาม-ตอบโดย อาจารย์ระฆัง
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left colSpan=2>คำปรารภจาก อ.ระฆัง (ต่อ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 7

    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Oct 10, 2007 8:15 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>ในยุคสมัยที่พระวัดพระแก้วฯ ได้แพร่หลายออกมานอกวัดใหม่ๆ ได้ถูกบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ยังชีพด้วยการขายพระ แล้วเรียกตัวเองว่าเซียนพระ
    ทำการจาบจ้วง เยาะเย้ยถากถางว่า เป็นพระนับร้อย เป็นพระตลาด เป็นพระลิเก
    แม้ในปัจจุบัน ก็มีความรู้สึกเช่นนั้น ผมว่าคนเหล่านี้แม้การหยิบขึ้นมาพิจารณา ก็ยังไม่เคย
    แค่อาจจะมองผ่านเท่านั้น แต่ก็บังอาจวิพากษ์วิจารณ์ได้โดยไม่กระดากปาก
    พระกรุวัดพระแก้วฯ ต้องอดทนต่อคำปรามาสเหล่านี้ จนกระทั่งมีผู้เขียนหนังสือขึ้น
    เป็นประวัดิของพระชุดนี้
    มาบัดนี้ พระกรุวัดพระแก้ว ได้มีสังคมกลุ่มหนึ่งยอมรับและเสาะหาสะสมกัน ผู้ที่ยังไม่รู้ข้อมูลก็เสาหะหาข้อมูล ผู้ที่มีข้อมูลก็เผยแพร่กันไป

    ผมว่า พระสมเด็จฯที่อาจารย์ระฆัง ครอบครอง คงจะต้องเผชิญชะตากรรม แบบเดียวกับกรุวัดพระแก้วสักระยะหนึ่ง จึงจะเป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลาย
    เหมือนกรุวัดพระแก้วฯ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เหตุเกิดขึ้นมานั้น ผมได้ข้อคิดและธรรมะหลายประการ จากอ.ระฆัง ผมยกตัวอย่างสักสอง-สามเรื่องคือ

    1.เรื่องศาสนาและการเมืองนั้น เป็นเรื่องของปัจจัตตังของแต่ละบุคคล
    2.เรื่องพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
    3.เรื่องของการปฎิบัติธรรม กับพิธีกรรมต่างๆ ,ประเพณีต่างๆ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ พันวฤทธิ์ [​IMG]
    สาธุท่าน อ.ระฆัง ท่านได้ให้คติธรรมกับพวกเรา ขอให้จำ "ท่านบอกคุณ รึ?" ไว้เป็นตัวเร่งความเพียรเน้อ.... เพราะคำๆ นี้ อาจจะทำให้เราบรรลุถึงอภิญญาญาณก็ได้ ใครจะไปรู้...


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เหตุเกิดขึ้นมานั้น ผมได้ข้อคิดและธรรมะหลายประการ จากอ.ระฆัง ผมยกตัวอย่างสักสอง-สามเรื่องคือ

    1.เรื่องศาสนาและการเมืองนั้น เป็นเรื่องของปัจจัตตังของแต่ละบุคคล
    2.เรื่องพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
    3.เรื่องของการปฎิบัติธรรม กับพิธีกรรมต่างๆ ,ประเพณีต่างๆ

    โมทนาสาธุครับ

    .

    [​IMG]
    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 height=4 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" height=4>
    การก่อตั้งสำนักธรรมพรหมรังสี


    สำนักธรรมพรหมรังสี ก่อตั้งขึ้น ตามพระบรมเทวราชประสงค์ และพระบรมเทวราชบัญชาของสมเด็จพระพ่อเจ้าโต พรหมรังสี (สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี) โดย อาจารย์ระฆัง อริยทันโตศรี เจ้าสำนักฯ สำนักธรรมพรหมรังสี เป็นผู้รับสนองพระบรมเทวราชบัญชา เมื่อวันมาฆบูชา ตรงกับวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗ ณ บ้านของ ดร.ประเสริฐ บุญปลูก หลังวัดช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร และหลังจากนั้น ๑ ปี ได้ย้ายสำนักธรรมฯ มาที่ บ้านเลขที่ ๒๘๗/๙ ซอยพาณิชยการธนบุรี ถนนจรัลสนิทวงศ์ กรุงเทพมหานคร และในที่สุด เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๒๐ ได้ย้ายมาก่อตั้งสำนักธรรมฯ อย่างเป็นการถาวรซึ่งเป็นที่อยู่ปัจจุบัน ณ บ้านเลขที่ ๒๙ หมู่ ๑ ต.โคกตะบอง อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี ณ ภูเขาพระมหาบารมี ซึ่งชาวบ้านในละแวกนี้เรียกขานว่า ภูเขาน้อย
    การย้ายสำนักธรรมพรหมรังสี มา ณ ภูเขาพระมหาบารมี นั้น ได้ดำเนินการอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ตามภาพสมาธิที่สมเด็จพระพ่อเจ้าโต พรหมรังสี ทรงประทานการค้นหาสถานที่ก่อตั้งสำนักธรรมฯ ซึ่งจะทำการค้นหาถึง ๓ ครั้งจึงจะพบ โดยแต่ละครั้งจะมีคณะบุคคลทำการค้นหา ๗
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 ตุลาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...