พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คุณnongnooo ได้โทร.แจ้งผมมาเมื่อสักพักนี้ว่า ได้โอนเงินมาร่วมทำบุญกับพระภิกษุรูปหนึ่ง จำนวน 300 บาท และร่วมทำบุญกับกองทุนหาพระถวายวัด จำนวน 200 บาท

    มาโมทนาบุญกับคุณnongnooo กันครับ


    .
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    6 เทคนิคการปฏิเสธขั้นเทพ! คนฟังไม่จ๋อย คนพูดดูดี

    โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 26 สิงหาคม 2553 10:20 น.


    By Lady Manager

    มีหนุ่มหน้าจืด แผนกข้างๆ มาชวนไปกินข้าว… (ไม่อยากไปเลย)
    เพื่อนจอมเบี้ยว มายืมเงินอีกแล้ว… (ไม่อยากให้เลย)

    …แต่จะปฏิเสธยังไงดี เพื่อไม่ให้หักหาญน้ำใจ?!

    คุณๆ หลายคน คงเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้ หรือคล้ายกันนี้มาอย่างแน่นอน โอ้ว! เกิดมาเป็นคนขี้เกรงใจ กลุ้มใจจังเลย ครั้นจะปฏิเสธแบบไร้เยื่อใย สัมพันธภาพที่ดีก็มีอันขาดสะบั้น แต่ครั้นจะตอบตกลงก็ทำไม่ได้เพราะสุดท้ายแล้ว การเซย์เยส (say yes) ก็อาจทำให้ตัวเองต้องลำบาก หรือยุ่งยากใจ ถึงขนาดมีผลสำรวจออกมาเตือนกันเลยทีเดียว ว่าการฝืนตอบตกลง ในขณะที่ใจตัวเองอยากปฏิเสธนั้น ส่งผลให้เกิดภาวะเครียด ปวดหัว ปวดไหล่ และมีบางรายถึงขั้นนอนไม่หลับด้วย

    น่ากลัวมิใช่น้อย!

    ไม่รอช้า มาศึกษากันดีกว่า ว่าหลักในการตอบปฏิเสธแบบมีมารยาทเป็นอย่างไร เทคนิคการตอบปฏิเสธให้เนียน แบบบัวไม่ให้ช้ำ น้ำไม่ให้ขุ่น มีอะไรบ้าง เผื่อสาวๆ จะนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตัวเองได้ไงล่ะ


    หลักการเบื้องต้น ที่จะทำให้คุณตอบปฏิเสธได้อย่างมีมารยาทนั้น แนะนำให้ท่อง 3 คำนี้ไว้เสมอ “จริงใจ ใจเย็น และสุภาพ” นั่นคือ ก่อนจะตอบปฏิเสธใครสักคนให้คุณทำใจเย็นๆ แล้วตอบปฏิเสธไปอย่างสุภาพ

    ส่วนเรื่องของการตอบปฏิเสธให้ดูจริงใจนั้น หลักการสำคัญก็คือ ต้องตอบปฏิเสธในระยะเวลาอันรวดเร็ว อย่าเพิกเฉยเปลี่ยนเรื่องคุยไปเสียดื้อๆ หรือทำทีเป็นคิดนาน กว่าจะเปิดปากปฏิเสธได้ ก็ปล่อยให้คนถามรอไปนานโข ทำเยี่ยงนั้นไม่น่ารักสุดๆ แถมยังทำให้คู่สนทนามองว่า คุณไม่จริงใจกับเขาเอาเสียเลยดังนั้นหากจะปฏิเสธให้พูดออกไปตรง ๆ อย่ารอช้า อย่าคิดนาน จะดูจริงใจที่สุด

    6 เทคนิคการปฏิเสธขั้นเทพ

    1) ตอบปฏิเสธออกไปตรงๆ โดยพูดเน้นคำว่า “ไม่” สัก 2 ครั้ง เพื่อให้คู่สนทนารู้ว่า คุณไม่ต้องการ หรือทำในสิ่งที่เขาขอร้องไม่ได้จริงๆ ก่อนปิดท้ายด้วยคำว่า “ขอบคุณ” ให้ดูดีมีมารยาท

    ตัวอย่าง เหตุการณ์ที่ หลายคนต้องพบเจออยู่เป็นประจำ เช่น หากมีใครมาชวนไปทานข้าวกลางวัน แต่คุณไม่อยากไป หรือไปไม่ได้ให้ตอบว่า “ไม่ค่ะ ฉันไปไม่ได้จริงๆ ขอบคุณค่ะที่ชวน”

    2) การสะท้อนถึงคำว่า “ไม่” สำหรับเทคนิคนี้มีหลักการคือ ก่อนคุณจะปฏิเสธนั้น ให้คุณขึ้นต้นด้วยประโยคที่สื่อได้ว่า คุณรู้ในสิ่งที่คนชวนต้องการ แต่คุณก็ไปด้วยไม่ได้จริงๆ (สะท้อนให้เขารู้ ว่าคุณเข้าใจความต้องการหรือเจตนาเขา ก่อนจะตอบปฏิเสธ)

    ตัวอย่าง “ฉันทราบค่ะว่าคุณอยากคุยกับฉัน เกี่ยวกับแผนงานประจำปีในมื้อกลางวันนี้ แต่ฉันไปด้วยไม่ได้จริงๆ ค่ะ”

    3) บอกเหตุผลในการปฏิเสธ สำหรับเทคนิคนี้ ต้องเน้นนะคะว่า ให้บอกเหตุผลในการปฏิเสธเพียงสั้นๆ เท่านั้น เอาแบบ สั้น ง่าย ได้ใจความ อย่าเยิ่นเย้อ หรือชักแม่น้ำทั้ง 5 มาสาธยาย เพราะนั่นจะยิ่งทำให้ดูน่ารำคาญ และไม่จริงใจ เหมือนพยายามหาข้ออ้างมาปฏิเสธมากกว่า

    ตัวอย่าง “ฉันคงไปทานข้าวเย็นกับคุณไม่ได้ เพราะมีงานที่ต้องทำให้เสร็จภายในค่ำนี้”


    4) ปฏิเสธแบบต่อรอง อันนี้เป็นมุมมองการปฏิเสธแบบนักธุรกิจสักหน่อย หลักการอยู่ที่ว่า หากคุณทำในสิ่งที่เขาขอร้อง หรือชักชวนในครั้งนี้ไม่ได้ ก็ให้ยื่นข้อเสนอไปว่า เอาไว้คราวหน้าได้ไหม?

    ตัวอย่าง “ฉันไปทานข้าวกับคุณวันนี้ไม่ได้จริงๆ เอาไว้เป็นโอกาสหน้าก็ได้ไหมคะ”

    5) การปฏิเสธแล้วถามกลับ เทคนิคข้อนี้มีหลักการคือ เมื่อพูดปฏิเสธไปแล้ว ให้ยิงคำถามกลับไปทันที

    ตัวอย่าง (ขอยกตัวอย่างประโยคการปฏิเสธที่แอบหยอดคนชวนไว้เล็กๆ) “เราคงไปทานข้าวมือกลางวันในวันนี้ไม่ได้จริงๆ แต่มันจะมีโอกาสหน้าอีกไหมคะ ที่เราจะได้ไปทานด้วยกัน”

    6) ทวนคำปฎิเสธ เทคนิคสุดท้ายนี้ ถือว่าได้รับความนิยมที่สุด เพราะเป็นเทคนิคการพูดที่ทำให้ผู้ฟังรู้สึกว่า เราใส่ใจเขา และในความจริงแล้ว เราเองก็ไม่ปฏิเสธเขาแต่มันจำเป็นต้องปฏิเสธจริงๆ นั่นคือ เทคนิคการทวนคำปฏิเสธหลายๆ รอบ ด้วยประโยคต่อๆ กัน

    ตัวอย่าง “เราคงไปทานข้าวกับเธอไม่ได้จริงๆ อยากไปด้วยนะแต่ไปไม่ได้ จริงๆ นะ ถ้าไปได้วันนี้คิดว่าจะเลี้ยงเธอเลย แต่มันไปไม่ได้จริงๆ” (แอบขำทำเป็นเนียนว่าจะเลี้ยงเขาซะด้วย)

    หวังว่าเทคนิคการปฏิเสธแบบเนียนๆ ทั้ง 6 แบบนี้ จะเป็นประโยชน์กับคุณสาวๆ ขี้เกรงใจทั้งหลายบ้างนะคะ เพราะในบางสิ่งที่เราไม่ยินดีจะทำ ก็ต้องลดความเหนียมกล้าปฏิเสธเสียบ้าง ไม่อย่างนั้นก็ต้องมาลำบากใจทีหลังจนเครียดกันอีกจริงไหมคะ

    เรียบเรียงจาก ไอวิลเลจ

    Celeb Online - Manager Online - 6 ෤
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 19 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 16 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, nongnooo+, เชน </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีตอนเย็นๆ ครับ

    .
     
  5. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431

    <table class="tborder" width="100%" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1"><tbody><tr><td class="thead">ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 20 คน ( เป็นสมาชิก 5 คน และ บุคคลทั่วไป 15 คน ) </td> <td class="thead" width="14%"> <center"> [ แนะนำเรื่องเด่น ] </center"></td> </tr> <tr> <td class="alt1" colspan="2" width="100%"> psombat, :::เพชร:::+, chantasakuldecha+, newcomer+, nongnooo+</td></tr></tbody></table>
    สวัสดียามเย็นครับผม
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มีเรื่องมาเล่าให้ฟัง เกี่ยวกับพระกริ่งปว..2 องค์ คือพระกริ่งใหญ่ เห็นเป็นภาพที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นองค์ประธาน

    พระกริ่งเล็กรุ่นที่มีจีวรเหมือนพระกริ่งใหญ่ และพระนลาฎฝังหมุดทองคำ องค์นี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหารปรกเดี่ยว พระคาถาที่ใช้คือพระคาถามงคลจักรวาฬใหญ่ พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากพระจุฬามณีรวม ๘๔,๐๐๐ องค์ กระแสเมตตามหานิยมเป็นหลัก ห้ามนำไปในที่อโคจรทั้งหลาย

    และสำหรับคุณน้องนู๋ พระกริ่งใหญ่ วัดประ...ที่คุยกันนั้น เก็บเป็นความรู้เพิ่มเติมว่า เสกด้วยนะสังกัจจายะ
     
  7. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เอ้ ...งั้นก็เกินคุ้มกว่าลูกสะกดสินะครับ หุ หุ
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    555555 กูรูน้องนู๋นี่มองเป็นด้านการลงทุนนะ....หุ..หุ...ก็มีข้อปฏิบัติที่ไม่เหมาะกับพระกริ่งบางอย่างเช่น พระกริ่งอมไม่ถนัด แต่ลูกสะกดอมได้ถนัด อย่าเผลอไปกลืนเข้าก็แล้วกัน 5555555

    เอานะ..ถือว่าเป็นความเมตตาของคุณหนุ่มเขา และแสดงให้เห็นถึงกระแสพระเมตตาขององค์พระที่ออกมาจริงๆ อีกทั้งก็ไม่ได้รู้สึกต้องดิ้นรนอยากได้ เพียงแต่รู้สึกว่า วันหนึ่งจะได้มาเอง และสุดท้ายกลายเป็นว่า ได้มาเองจากคนที่เขาเก็บรักษา ผมก็เลยสมยอมซะ..อิ..อิ..
     
  9. chantasakuldecha

    chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    โมทนาบุญกับคุณ nongnooo ด้วยครับ
    แล้วมาโมทนาบุญกับผมด้วยครับ โอนเงินไปแล้วครับพี่ไม่แก่
     
  10. chantasakuldecha

    chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    แล้วใครจะไม่ยอมพี่เพชรล่ะครับ เพียงแต่พี่นิ่งเฉยจนผิดปรกติไปครับ
     
  11. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    นั่นสิครับ พี่เค้านิ่งจริงๆ ใช่มั้ยครับ พี่เพชร หุ หุ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับพระกริ่งปวเรศ พลังอิทธิคุณครบทุกด้าน ครับ


    พระกริ่งปวเรศ และ ลูกสะกด แตกต่างกันในเรื่องของพลังอิทธิคุณครับ


    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ่าว...กลายเป็นผิดปกติไปซะงั้นหรือนี่....ความจริงคือท่านเลขาเขามีน้ำใจกับเพื่อนสมาชิกทุกคน อยากมอบสิ่งดีๆให้กับทุกคน ยิ่งไม่เอ่ย เขายิ่งอยากให้นะ แต่ต้องหาข้ออ้างที่เหมาะกับวาระมามอบให้เท่านั้นแหละ ผมก็ยินดีกับเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆทุกท่านที่มีของดีๆเป็นมงคล ซึ่งหากพิจารณาแล้ว จะเห็นว่า ของแต่ละชิ้นเหมาะกับช่วงเวลาของแต่ละคน แต่ละจังหวะที่ได้ก้าวเข้ามาร่วมในช่วงเวลาใด ทั้งเอาไว้คุ้มกายตนเอง และครอบครัว เอ้า! ไม่ว่าใครก็ตามลองนึกย้อนกลับไปข้างหลังดูว่า เป็นอย่างที่ผมกล่าวไว้หรือไม่ หากไม่มีท่านเลขา บางท่านจะมีบาตรน้ำมนต์ของสมเด็จโต ของหลวงปู่พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ มีพระสมเด็จ มีพระกริ่งที่เป็นยอดปรารถนาของคนทั่วไปหรือไม่ มีโอกาสได้รับพระพิมพ์ที่ทั้งหลวงปู่อุตระเถระเจ้า หลวงปู่โสณะเถระเจ้า หรือหลวงปู่อิเกสาโรเถระเจ้า หรือกระทั่งหลวงปู่อภิญญาใหญ่เสกหรือไม่ ทั้งพระพิมพ์บุเงิน บุทอง มากมายมหาศาลอย่างนั้น จะไปหาที่ไหน อันนี้ต้องให้เครดิตท่านเลขามากๆนะครับ เรื่องงานบุญทั้งหลายนี่เขาเต็มร้อยจริงๆ ใครจะไปทำได้ตลอด ๑๐ กว่าปีที่ผ่านมาคลุกคลีกับพระพิมพ์สกุลวังหน้า วังหลวง อาทิตย์ละ ๒ วัน เดือนละ ๘ วัน ปีนึง ๑๐๔ วัน ลองถูก ลองผิดก็มาก หมดปัจจัยไปก็มาก หมดเวลาไปก็มาก ที่สำคัญได้ไปเที่ยวกับครอบครัวปีละกี่ครั้ง ผมก็ยังสงสัยว่าท่านผบ.ทบ.ของเขานี่ทำใจได้ยังไง รู้หรือเปล่าว่าต้องมาพบเจอแบบนี้ แต่ที่แน่ๆ ผมว่าเธอต้องอดทนมากๆ
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ไม่เป็นไรครับ เดี๋ยวราคาทองคำจะทะลุฟ้าให้ปลอบใจครับ หุ หุ
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    5555555 ผู้หญิงทุกคนชอบเครื่องทอง หากมีและราคาทะลุคอหอย เอ้ย! ทะลุฟ้า นี่เป็นการปลอบใจที่ดีนะ ....
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>กูรูชี้ราคาทองคำใกล้ขยับขึ้นอีกรอบ ชูจังหวะดีเก็บ"K-GOLD"เข้าพอร์ต</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>26 สิงหาคม 2553 13:04 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    นักวิเคราะห์กองทุนรวม มองราคาทองคำเตรียมปรับเพิ่มขึ้นอีกครั้งในระยะสั้นนี้ หลังเศรษฐกิจสหรัฐฯและยุโรปยังไว้ใจไม่ได้ พร้อมเเนะระยะนี้เป็นจังหวะดีเก็บกองทุนเคโกลด์ของบลจ.กสิกรไทยเข้าพอร์ตรอทำกำไรในอนาคต

    นายสานุพงศ์ สุทัศน์ธรรมกุล กล่าวว่า ข่าวร้ายจากต่างประเทศ ยังคงสร้างความกังวลแก่นักลงทุน โดยเฉพาะตัวเลขตลาดแรงงานของสหรัฐ ทำให้ตลาดสินทรัพย์เสี่ยงมีความผันผวนค่อนข้างมากรวมถึงราคาน้ำมันที่ปรับตัวลดลงด้วยเช่นเดียวกัน ส่งผลให้เรายังคงแนะนำหลีกเลี่ยงการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงช่วงนี้โดยเฉพาะในตลาดหุ้นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและน้ำมัน ทั้งนี้เรายังคงแนะนำลงทุนในกลุ่ม Emerging Market ในระยะยาว

    อย่างไรก็ตาม ทองคำยังคงได้รับความสนใจในฐานะสินทรัพย์ที่มีความปลอดภัย โดยกองทุน SPDR ยังคงถือครองทองคำเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เราจึงเชื่อว่าราคาทองคำจะยังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นและคาดว่าจะขึ้นไปทดสอบจุดสูงสุดเดิมที่ 1,260 ดอลลาร์สหรัฐฯต่ออนซ์ยังคงคำแนะนำสะสมสำหรับกองทุนทองคำโดยอาจเห็นการปรับตัวสร้างฐานในระยะสั้นซึ่งเราคิดว่าเป็นจังหวะดีที่จะเข้าสะสม และกองทุนทองคำที่แนะนำยังคงเป็น K-GOLD ของ บลจ. กสิกรไทย

    สำหรับกองทุนจีนอยู่ในช่วงพักฐานระยะสั้นเราแนะนำให้ Wait and See ก่อนสำหรับในสัปดาห์นี้ การปรับฐานในรอบนี้ยังไม่สิ้นสุดเนื่องจากยังคงมีแรงขายทำกำไรหลังจากการปรับตัวขึ้นในรอบที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ระยะสั้นเรายังคงเชื่อว่า A-share ยังคงอยู่ในแนวโน้มขาขึ้นอยู่โดยหลังจากการประกาศตัวเลขเศรษฐกิจของจีนที่คาดว่าจะชะลอตัวจากมาตรการลดความร้อนแรง แต่ได้ปัจจัยบวกจากการที่รัฐบาลจะยังคงดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายและการออกมาตรการใหม่ๆ จะชะลอตัวลง

    โดยกองทุนที่แนะนำยังคงเป็นกองทุนเปิดทหารไทย China Equity Index ของบลจ. ทหารไทย ซึ่งลงทุนในกองทุนหลักที่มีนโยบายในการสร้างผลตอบแทนให้ใกล้เคียงกับดัชนี FTSE/Xinhua China A50 Index ที่ประกอบไปด้วยหุ้น A-Share ที่มีสภาพคล่องสูง 50 ตัว จาก A-share ทั้งหมดราว 900 ตัว โดยลงทุนผ่านตราสารอนุพันธ์ที่ชื่อว่า China A-share AccessProducts (CAAPs) (กองทุนหลักไม่ได้ลงทุนในหุ้น A-Share โดยตรง) ที่ออกโดยสถาบันการเงิน (CAAP Issuers) ที่เชื่อถือได้ เช่น UBS, Citigroup,Credit Suisse และ HSBC เป็นต้น

    นายสานุพงศ์ กล่าวต่อว่า การเคลื่อไหวของตลาดหุ้นสหรัฐฯในสัปดาห์ที่ผ่านมายังเคลื่อนไหวโดยไร้ปัจจัยบวกใหม่ๆเข้ามาช่วยลดความไม่มั่นใจในภาพการฟื้นตัวที่อ่อนแอของสหรัฐฯ หลังตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกประจำสัปดาห์ออกมาย่ำแย่ โดยเพิ่มขึ้นถึง 12,000 รายมาอยู่ที่ 500,000 รายถือเป็นระดับที่อ่อนเเอที่สุดนับตั้งแต่เดือนพย. 52 และตรงข้ามกับที่ตลาดคาดว่าจะลดลง 12,000 ราย

    ขณะที่ฝั่งยุโรป แม้การประมูลพันธบัตรรัฐบาลไอร์แลนด์และสเปนจะได้รับการตอบรับที่ดี กรีซผ่านเงื่อนไขของ IMF/EU สำหรับเงินช่วยเหลืองวดถัดไปและเยอรมันปรับเพิ่มคาดการณ์ GDP growth ปี 2553 มาอยู่ที่ 3.0% จากเดิมที่ 2.0% แต่ดูเหมือนว่าตลาดจะให้น้ำหนักกับข่าวลบมากกว่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเศรษฐกิจสหรัฐ รวมไปถึงการปรับลดประมาณการณ์ GDP ของฝรั่งเศสจาก 2.5%เหลือ 2.0% ส่วนญี่ปุ่น ดัชนีนิเกอิยังคงปรับตัวอ่อนแอตามความกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งการแข็งค่าของเงินเยนที่อาจกระทบต่อภาคส่งออก

    ทั้งนี้ความกังวลเกี่ยวกับภาพเศรษฐกิจกระตุ้นกระแสหลีกเลี่ยงสินทรัพย์เสี่ยงเข้าหาสินทรัพย์ปลอดภัยอย่างทองคำและหนุนให้ราคาทองทรงตัวในระดับสูงได้แม้ DollarIndex ปรับตัวแข็งค่าขึ้นมาราว 0.63% ในสัปดาห์ที่แล้ว ขณะที่กองทุน SPDR ยังคงสะสมทองคำเพิ่มต่อเนื่องและถือเพิ่มอีก 12.80 ตันในสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนน้ำมันได้รับแรงกดดันทั้งจากภาพเศรษฐกิจ และ Dollar Index


    .


    .
    Mutual Fund - Manager Online -
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อนาคตทองคำราคาปรับขึ้นอีกสิ้นปี!?

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>23 สิงหาคม 2553 23:29 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>จากเศรษฐกิจในยุโรปที่ยังคงกดดันความเชื่อมั่นอยู่ในขณะนี้ นักวิเคราะห์หลายฝ่ายยังคงมองว่า ความต้องการซื้อทองคำมีมากขึ้น เพื่อป้องกันการลดค่าของสินทรัพย์เสี่ยงประเภทอื่น ซึ่งตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาผลตอบแทนของการลงทุนทองคำและกองทุนทองคำอยู่ที่ 9% และมีแนวโน้มปรับขึ้นต่อในครึ่งปีหลัง จึงสามารถลงทุนติดไว้ในพอร์ตประมาณ 5 -10%

    วรวรรณ ธาราภูมิ นายกสมาคมบริษัทจัดการลงทุน (สมาคม บลจ.) และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บลจ. บัวหลวง จำกัด บอกว่า ราคาทองคำในระยะสั้น ยังมีแนวโน้มอ่อนตัวได้อีกเนื่องจากขาดปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญ ได้แก่

    1. Investment demand ลดลงไป เนื่องจากความกังวลต่อเสถียรภาพค่าเงินยูโรลดลง รวมถึงเงินเฟ้อยังไม่ใช่ประเด็นในปีนี้เนื่องจากทั้งยุโรปและสหรัฐยังมีเงินเฟ้อในระดับต่ำมาก ขณะที่นักลงทุนโยกเงินเข้าสู่ risky assets เช่นหุ้น มากขึ้น เพราะผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนออกมาดี และเศรษฐกิจยุโรปยังมีการฟื้นตัวแม้จะเป็นไปอย่างช้าๆ

    2. Physical demand ลดลง (ความต้องการทองคำไปเป็นเครื่องประดับหรือไปผลิตเป็นส่วนประกอบสินค้าอื่นๆ) เพราะเป็นช่วง Low season ของทุกปี โดยเฉพาะความต้องการทองคำจากอินเดียซึ่งมีสัดส่วนถึง 1 ใน 3 ของ Physical demand ทั้งหมด

    และ 3. การที่ราคาทองคำไม่สามารถยืนเหนือระดับ $1,200/oz. ซึ่งเป็นแนวรับทางจิตวิทยาที่สำคัญได้ ยิ่งทำให้เกิดแรงขายจากนักเก็งกำไรมากยิ่งขึ้น

    นายกสมาคม บลจ. บอกต่อไปว่า อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ ไตรมาส 4 ปีนี้ ราคาทองคำน่าจะเริ่มมีแนวโน้มที่ดีขึ้นอีกครั้ง เนื่องจาก มีเทศกาลต้องการทองคำที่อินเดียจะเริ่มขึ้นในไตรมาส 4 จึงจะมีความต้องการทองคำ (Physical demand) เพิ่มตามมา รวมถึงการฟื้นตัวเศรษฐกิจของสหรัฐที่เปราะบางยังคงเป็นความเสี่ยงที่ช่วยให้ราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นมาบ้าง แต่ผลตอบแทนอาจจะไม่ได้มากเหมือนกับในช่วงครึ่งแรกของปีนี้ และผลการสำรวจความต้องการลงทุนในทองคำล่าสุดของบริษัท Ipsos พบว่านักลงทุนในเอเชียมีแนว โน้มที่จะซื้อทองคำเพิ่มขึ้นในช่วง 6 เดือนข้างหน้ามากกว่านักลงทุนจากทางฝั่งยุโรปและอเมริกาเหนือ

    โดยมีความต้องการที่จะถือทองคำเพื่อลงทุนและเพื่อเก็งกำไรในสัดส่วนใกล้เคียงกัน ซึ่งความต้องการทองคำจากทวีปเอเชียจะมาจาก อินเดีย อินโดนีเซีย และ จีน เป็นหลัก เนื่องจากจะมีเทศกาลสำคัญๆ ที่จะเพิ่มความต้องการทองคำจำนวนมากในครึ่งปีหลัง นอกจากนี้ยังมีเพียง 10% ของกลุ่มสำรวจที่ได้ซื้อทองคำแล้วในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา จึงยังมีโอกาสอีกมากที่พวกเขาจะลงทุนในทองคำ โดยเฉพาะเมื่อราคาทองคำในปัจจุบันยังต่ำกว่าราคาสูงสุดในอดีตที่ได้ปรับอัตราเงินเฟ้อแล้วซึ่งจะอยู่ที่ระดับ $2,300/oz.

    สำหรับในปีหน้า คาดว่าปัญหาหนี้สาธารณะในยุโรปน่าจะยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเห็นได้ชัด อีกทั้งการที่ Ben Bernanke ได้ให้ความเห็นว่าเศรษฐกิจสหรัฐยังอยู่ในภาวะไม่แน่ไม่นอน แสดงว่าความเสี่ยงเหล่านี้ยังคงไม่ได้หายไปอย่างแท้จริง ซึ่งจะทำให้รัฐบาลต้องใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่ำต่อ ดังนั้น ความต้องการทองคำเพื่อการลงทุน (Investment demand) ในอนาคตก็ยังคงมีอยู่ จึงคาดการณ์แนวโน้มราคาทองคำว่าจะยังคงเป็นขาขึ้นต่อในระยะยาว อย่างไรก็ตามจึงอยากให้นักลงทุนมีการกระจายการลงทุนไปในทองคำบ้าง จึงเป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเพื่อลดความเสี่ยงของการลงทุนโดยรวมของพอร์ตการลงทุน

    ด้าน วนา พูลผล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ยูโอบี(ไทย) จำกัด ยังแนะนำนักลงทุนว่า นักลงทุนควรทยอยลงทุนในทองคำและควรมีไว้ในพอร์ตการลงทุนของตัวเอง นอกจากจะให้ผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวแล้ว ยังสามารถใช้เป็นสินทรัพย์เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อที่ดี และสามารถใช้กระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนในหุ้นได้ดีเพราะมีความสัมพันธ์ (Correlation) กับตลาดหุ้นค่อนข้างต่ำ การลงทุนในทองคำจึงตอบสนองความต้องการของนักลงทุนที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี

    ขณะเดียวกันมองว่าระดับราคาทอง ณ ปัจจุบันยังสามารถปรับเพิ่มขึ้นได้อีก แม้ราคาในปัจจุบันได้ปรับเพิ่มขึ้นมาอย่างต่อเนื่องจนนักลงทุนลังเลที่จะเข้าลงทุน แต่ทางบริษัทและนักวิเคราะห์หลายๆ แห่งมองว่าราคาทองคำยังไม่แพงเกินไปและมีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มขึ้นได้อีกด้วยหลายๆ ปัจจัย เช่น ธนาคารกลางหลายๆ ประเทศกลับมาถือทองคำมากขึ้น กระแสเงินลงทุนจากกองทุน Gold ETF ต่างๆ (ETF Inflows)ที่เพิ่มมากขึ้นต่อเนื่อง แต่ซัพพลายมีจำกัดและมีต้นทุนการผลิตสูง รวมทั้งปัญหาหนี้สาธารณะของสหรัฐฯและประเทศพัฒนาแล้ว

    "คาดการณ์ราคาทองคำเฉลี่ยในปีนี้ว่าน่าจะอยู่ที่ประมาณ 1,300 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ ขณะที่ดอยช์แบงก์ คาดการณ์ว่าราคาทองเมื่อจบไตรมาสที่ 3 จะอยู่ที่ 1,275 เหรียญสหรัฐ และจบสิ้นปีอยู่ที่ 1,400 เหรียญสหรัฐ ซึ่งทำให้เฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 1,245 เหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ยังเชื่อว่าราคาเฉลี่ยในปีหน้าจะเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 1,450 เหรียญสหรัฐ"

    ขณะที่ กิดาการ สุวรรณธรรมา ผู้อำนวยการฝ่ายธุรกิจอนุพันธ์บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บอกว่า การที่รัฐบาลประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐและยุโรปอัดฉีดเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในช่วงที่ผ่านมาประกอบกับเศรษฐกิจเอเชียที่ฟื้นตัวมากกว่าภูมิภาคอื่นๆ ส่งผลให้ยังมีความต้องการทองคำเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อภาวะเงินเฟ้อ (Inflation Hedge) และยังคงความเป็นสินทรัพย์ที่มีความปลอดภัย (Safe Haven)

    "เราคาดว่าในปีนี้ราคาทองคำน่าจะมีโอกาสปรับเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 1,250-1,300 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ เทียบเท่าราคาโกลด์ฟิวเจอร์สที่บริเวณ 18,700-19,500 บาท และเป็นไปได้สูงที่จะเกิดขึ้นในช่วงไตรมาส4 โดยเป็นการปรับขึ้นเทียบจากสิ้นปี 2552 ราว 18%นักลงทุนสามารถทำกำไรได้จากการเข้าสะสมทองคำหรือถือสถานะ Long โกลด์ฟิวเจอร์ส ในจังหวะอ่อนค่าหรือพักฐานที่มีโอกาสลงไปทดสอบบริเวณ 1,100-1,150 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ เทียบเท่าราคาโกลด์ฟิวเจอร์ส ที่บริเวณ 16,500-17,200 บาท"

    Mutual Fund - Manager Online

    .



    .



    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระพุทธเจ้าหลวง ทรงเป็นรัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 9 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสวยราชสมบัติ เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง (พ.ศ. 2411) รวมสิริดำรงราชสมบัติ 42 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันเสาร์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) ด้วยโรคพระวักกะ รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา
    พระองค์ทรงปกครองอาณาประชาราษฎร ให้ร่มเย็นเป็นสุข ทรงโปรดการเสด็จประพาสต้น เพื่อให้ได้ทรงทราบถึงความเป็นอยู่ที่แท้จริงของราษฎร ทรงสนพระทัยในวิชาความรู้ และวิทยาการแขนงต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และนำมาใช้บริหารประเทศให้ เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว พระองค์จึงได้รับถวายพระราชสมัญญานามว่า สมเด็จพระปิยมหาราช และมีความหมายว่า พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน

    พระราชประวัติ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ (ต่อมาภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการเปลี่ยนแปลงพระนามเจ้านายฝ่ายในให้ถูกต้องชัดเจนตามโบราณราชประเพณีนิยมยุคถัดมาเป็น สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ได้รับพระราชทานนามว่า สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร
    พระองค์ทรงมีพระขนิษฐาและพระอนุชารวม 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ และ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
    วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2404 สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ ได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP> และเมื่อ พ.ศ. 2409 พระองค์ทรงผนวชตามราชประเพณี ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังจากการทรงผนวช พระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ เมื่อปี พ.ศ. 2410 โดยทรงกำกับราชการกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ และกรมทหารบกวังหน้า <SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-0>[2]</SUP>
    วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตภายหลังทรงเสด็จออกทอดพระเนตรสุริยุปราคา โดยก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคตนั้น ได้มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า "พระราชดำริทรงเห็นว่า เจ้านายซึ่งจะสืบพระราชวงศ์ต่อไปภายหน้า พระเจ้าน้องยาเธอก็ได้ พระเจ้าลูกยาเธอก็ได้ พระเจ้าหลานเธอก็ได้ ให้ท่านผู้หลักผู้ใหญ่ปรึกษากันจงพร้อม สุดแล้วแต่จะเห็นดีพร้อมกันเถิด ท่านผู้ใดมีปรีชาควรจะรักษาแผ่นดินได้ก็ให้เลือกดูตามสมควร" ดังนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเสด็จสวรคต จึงได้มีการประชุมปรึกษาเรื่องการถวายสิริราชสมบัติแด่พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ซึ่งในที่ประชุมนั้นประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ ได้เสนอสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ซึ่งที่ประชุมนั้นมีความเห็นพ้องเป็นเอกฉันท์ ดังนั้น พระองค์จึงได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดา <SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> โดยในขณะนั้น ทรงมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังนั้น จึงได้แต่งตั้งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะทรงมีพระชนมพรรษครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-1>[2]</SUP>
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราชรวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทร มหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตยรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว"
    ในขณะที่กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ ปรากฏพระปรมาภิไธยต่างออกไปเล็กน้อย ดังนี้<SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP>
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ มหามงกุฎราชวรางกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตร โสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินธร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา จึงทรงลาผนวชเป็นพระภิกษุ และได้มีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ 2 ขึ้น เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยในครั้งนี้ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราช รวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยโรคพระวักกะ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 เวลา 2.45 นาฬิกา รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา <SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>
    [แก้] พระราชลัญจกรประจำพระองค์

    [​IMG]
    พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5


    พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว เป็นตรางา ลักษณะกลมรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. โดยมีตรา พระเกี้ยว หรือ พระจุลมงกุฏ ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา และทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์เพชร โดยพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการเจริญรอยจำลองมาจากพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    การสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ดังนั้น จึงเลือกใช้ พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์ <SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP> <SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP>
    [แก้] พระมเหสี พระราชินี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในรัชกาลที่ 5

    </DD></DL>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด 92 พระองค์ โดย 36 พระองค์มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 56 พระองค์ไม่มี และพระองค์ทรงมีพระราชโอรส-ธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์
    [แก้] พระราชกรณียกิจที่สำคัญ


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ เหตุการณ์สำคัญในรัชกาลที่ 5

    </DD></DL>พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ 5 ได้แก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีเลิกทาส การป้องกันการเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และจักรวรรดิอังกฤษ ได้มีการประกาศออกมาให้มีการนับถือศาสนาโดยอิสระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามสามารถปฏิบัติการในศาสนาได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ได้มีมีการนำระบบจากทางยุโรปมาใช้ในประเทศไทย ได้แก่ระบบการใช้ธนบัตรและเหรียญบาท ใช้ระบบเขตการปกครองใหม่ เช่น มณฑลเทศาภิบาล จังหวัดและอำเภอ และได้มีการสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง เมืองนครราชสีมา ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช 2433 นอกจากนี้ได้มีงานพระราชนิพนธ์ ที่สำคัญ
    [แก้] การเสียดินแดน


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ การเสียดินแดนของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์

    </DD></DL>[​IMG]
    ภาพการรบระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ที่ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ ซึ่งนำไปสู่การเสียดินแดนของไทยให้แก่ฝรั่งเศสเป็นจำนวนมาก


    [​IMG]
    พระบรมราชนุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ


    [แก้] การเสียดินแดนให้ฝรั่งเศส

    รวมแล้วในคราวนี้ ไทยเสียเนื้อที่ประมาณ 66,555 ตารางกิโลเมตร
    [แก้] การเสียดินแดนให้อังกฤษ

    [แก้] พระราชนิพนธ์


    ทรงมีพระราชนิพนธ์ ทั้งหมด 10 เรื่อง<SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP>
    [แก้] ราชตระกูล


    <CENTER>พระราชตระกูลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    </CENTER><CENTER><TABLE style="FONT-SIZE: 90%; LINE-HEIGHT: 110%" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR align=middle><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี)</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>พระอัครชายา (ดาวเรือง)</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #ffc" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD><TD colSpan=6 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>พระชนกทอง</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระรูปศิริโสภาค มหานาคนารี (สั้น)</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #fb9" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD colSpan=9 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>เศรษฐีจีนฮกเกี้ยนแซ่ตัน</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>เจ้าขรัวเงิน</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>น้องสาวของท่านผู้หญิงน้อย
    (ภรรยาของเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่))
    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #ffc" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี</TD><TD colSpan=6 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี)</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>พระอัครชายา (ดาวเรือง)</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #fcc" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD colSpan=12 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระศรีสุลาไลย</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #ffc" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์

    </TD><TD colSpan=6 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #9fe" colSpan=4 rowSpan=2>หม่อมราชวงศ์ทับ</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>เจ้าจอมมารดาทรัพย์</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #fb9" colSpan=4 rowSpan=2>สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี</TD><TD colSpan=9 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>ไม่ทราบ</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #ffc" colSpan=4 rowSpan=2>พระชนนีน้อย</TD><TD colSpan=6 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-BOTTOM: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px; BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #bfc" colSpan=4 rowSpan=2>คุณม่วง</TD><TD colSpan=3 rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง




    1. <LI id=cite_note-0>^ จิรวัฒน์ อุตตมะกุล, สมเด็จพระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5, สำนักพิมพ์มติชน, 2546 ISBN 974-322-964-7 <LI id=cite_note-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD-1>^ <SUP>2.0</SUP> <SUP>2.1</SUP> วุฒิชัย มูลศิลป์ และคณะ, พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์, อัลฟ่า มิเล็นเนียม, ISBN 974-91048-5-4 <LI id=cite_note-2>^ แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, หม่อมราชวงศ์, พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระราชนิเวศน์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, สำนักพิมพ์มติชน, 2549 ISBN 974-323-641-4 <LI id=cite_note-3>^ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ <LI id=cite_note-4>^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, เล่ม 27, ตอน 0ง, 30 ตุลาคม พ.ศ. 2453, หน้า 1782 <LI id=cite_note-5>^ ตราราชวงศ์จักรี และพระราชลัญจกร ประจำพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ บ้านฝันดอตคอม <LI id=cite_note-6>^ สนเทศน่ารู้ : พระราชลัญจกรประจำรัชกาล, สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    2. ^ พระปิยมหาราช ทรงเป็นกวีเอก อีกพระองค์หนึ่ง ชึ่งมีผลงานพระราชนิพนธ์ ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">
    พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม
    (ราชวงศ์จักรี)
    (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=3>[แสดง]
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">สมัยกรุงสุโขทัย</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พ่อขุนศรีอินทราทิตย์พ่อขุนบานเมืองพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพระยาเลอไทพระยางั่วนำถมพระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 2พระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=7></TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">สมัยกรุงศรีอยุธยา</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระรามราชาธิราชสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระเจ้าทองลันสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระอินทราชาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมารสมเด็จพระไชยราชาธิราชสมเด็จพระยอดฟ้าขุนวรวงศาธิราช <SMALL>(มิได้เทียบเทียมเท่าพระมหากษัตริย์พระองค์อื่น)</SMALL> •สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสมเด็จพระเชษฐาธิราชสมเด็จพระอาทิตยวงศ์สมเด็จพระเจ้าปราสาททองสมเด็จเจ้าฟ้าไชยสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเพทราชาสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">สมัยกรุงธนบุรี</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">สมัยกรุงรัตนโกสินทร์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช <SMALL>(รัชกาลปัจจุบัน)</SMALL>

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3><SMALL>พระนามที่เป็นตัวหนา คือ พระองค์ที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญานามว่า มหาราช</SMALL></TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>


    รายพระนามกษัตริย์ที่ได้รับสมญานามว่ามหาราชของโลก
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปเอเชีย</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระเจ้าพรหมมหาราช · พ่อขุนรามคำแหงมหาราช · พ่อขุนเม็งรายมหาราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราช · สมเด็จพระนารายณ์มหาราช · สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช · พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พระเจ้าเซจงมหาราช · พระเจ้าอโศกมหาราช · พระเจ้าอโนรธามังช่อ · พระเจ้าบุเรงนอง · พระเจ้าอลองพญา · จักรพรรดิเฉียนหลง · จิ๋นซีฮ่องเต้ · เจงกีส ข่าน · ฮั่นอู่ตี้ · จักรพรรดิคังซี · พระเจ้ากนิษกะ · พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 · พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 · พระเจ้าไชยเชษฐา · พระเจ้าราชาราชะมหาราช · อัคบาร์มหาราช · พระเจ้ายู้ · พระเจ้ากวางแกโตมหาราช · พระเจ้าแทโจมหาราช · พระเจ้าจางซูมหาราช · พระเจ้าซองด๊อกมหาราช · จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส · พระเจ้าดงเมียงยอง

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปยุโรป</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">อเล็กซานเดอร์มหาราช · จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · แคทเธอรีนมหาราชินี · พระเจ้าฟรีดริชมหาราช · ซาร์ปีเตอร์มหาราช · สมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช · พระเจ้าอองรีมหาราช · พระเจ้าไทกราเนสมหาราช · พระเจ้าอีวานมหาราช · วลาดิเมียร์มหาราช · คอนสแตนตินมหาราช · ธีโอโดเซียสมหาราช · จักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 · พระเจ้าธีโอดอริคมหาราช · จักรพรรดิออตโตที่ 1

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปแอฟริกา</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">ฟาโรห์รามเสสมหาราช · แอสเกียมหาราช

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ตะวันออกกลาง</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">แฮรอดมหาราช · ไซรัสมหาราช · ดาไรอัสมหาราช · แอนทิโอคัสมหาราช · มิทริเดทีสมหาราช · ซาปูร์มหาราช · อับบาสมหาราช · เซอร์ซีสมหาราช · กาหลิบอูมัวร์ · สุลต่านสุลัยมานมหาราช · ชาห์กะรีมข่านมหาราช · ชาห์เรซามหาราช

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปอเมริกาเหนือ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">คาเมฮาเมฮามหาราช · ม็อคเตซูมามหาราช
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable2 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" colSpan=3>[แสดง]
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระมหากษัตริย์</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=5></TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระบรมวงศานุวงศ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">บุคคลสำคัญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สุนทรภู่ · พระยาอนุมานราชธน · ปรีดี พนมยงค์ · หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · กุหลาบ สายประดิษฐ์ · พุทธทาสภิกขุ · เอื้อ สุนทรสนาน · หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3>ดูเพิ่ม: สถานีย่อย · มรดกโลกในไทย</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable3 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>


    พระนามทรงกรมของพระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่ 4
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส · กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร · กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ · กรมขุนพินิตประชานาถ · กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ · กรมพระจักรพรรดิพงษ์ · กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ · กรมหลวงพิชิตปรีชากร · กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ · กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร · กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · กรมขุนสิริธัชสังกาศ · กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ · กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ · กรมพระยาวชิรญาณวโรรส · กรมพระสมมตอมรพันธ์ · กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป · กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา · กรมขุนขัตติยกัลยา · กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ · กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี · กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย
    </CENTER>


    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 5050/1000000Post-expand include size: 222479/2048000 bytesTemplate argument size: 156090/2048000 bytesExpensive parser function count: 6/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:4253-0!1!0!!th!4 and timestamp 20100821083018 -->​
    ดึงข้อมูลจาก "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - วิกิพีเดีย".
    <!-- /bodytext --><!-- catlinks -->หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2396 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2453 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 4 | รัชกาลที่ 5 | พระมหากษัตริย์ไทย | มหาราช | นักเขียนชาวไทย | ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า | ราชวงศ์จักรี | พระราชบุตรในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี | กวีชาวไทย | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. | พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ตั้งแต่เยาว์วัย | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 2 | ชาวไทยเชื้อสายมอญ | ชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซีย | ชาวไทยเชื้อสายจีน
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์)


    วัดบวรนิเวศวิหาร


    นิตยสารธรรมจักษุ ปีที่ ๘๐ ฉบับที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๐


    [​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร


    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์


    พระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์​

    นับแต่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๖ ในรัชกาลที่ ๔ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา ๑๕ ปี ฉะนั้น ในรัชกาลที่ ๔ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชจนเกือบตลอดรัชกาล เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษ ตอนต้นรัชกาลเท่านั้น
    เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส <SUP>(๑)</SUP>
    มาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้โปรดสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช ตลอดช่วงต้นแห่งรัชกาล เป็นเวลาถึง ๒๓ ปี ฉะนั้น ในช่วงต้น รัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่ถึง ๒๓ ปี จึงได้ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ เป็นสมเด็จพระสังฆราช นับเป็นพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    พระประวัติในเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ และเจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ อันเป็นวันเริ่มสวดมนต์ ตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ จึงได้พระราชทานนามว่า พระองค์เจ้าฤกษ์
    ทรงผนวช
    พ.ศ. ๒๓๖๕ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุ สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอยู่ในสำนักพระญาณสมโพธิ (รอด) ครั้งทรงผนวชเป็นสามเณรได้ ๔ พรรษา ประชวรไข้ทรพิษต้องลาผนวชออกมารักษาพระองค์ เมื่อหายประชวรแล้ว สมเด็จกรมพระราชบวรมหาศักดิพลเสพ ในรัชกาลที่ ๓ ทรงจัดการให้ทรงผนวชเป็นสามเณรอีกครั้งหนึ่ง
    พ.ศ. ๒๓๗๒ พระชนมายุครบทรงผนวชเป็นพระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ทรงลาผนวชออกสมโภช แล้วแห่พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ เจ้าฟ้าอาภรณ์ ที่จะทรงผนวชเป็นเป็นสามเณรในเวลานั้น ในการทรงผนวชเป็นพระภิกษุนั้น สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นนุชิตชิโนรส กับพระวินัยรักขิต วัดมหาธาตุ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    [​IMG]เมื่อทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงผนวชเป็นพระภิกษุอยู่ ณ วัดมหาธาตุนั้น เช่นกัน ในเวลานั้น (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงพระเจริญพระชนมายุกว่า ๕ พรรษา) เป็นเหตุให้ทรงเลื่อมใสในลัทธิธรรมวินัยตามอย่างพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ภายหลังจึงได้ทรงอุปสมบทซ้ำอีกครั้งหนึ่งในนทีสีมา โดยพระสุเมธาจารย์ (พุทธวังสะ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ <SUP>(๒)</SUP>
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมจนทรงแตกฉานในภาษาบาลี แต่ไม่ทรงเข้าสอบเพื่อเป็นเปรียญ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพัดยศสำหรับเปรียญเอก ที่เคยพระราชทานแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เมื่อครั้งยังมิได้ทรงเป็นพระราชาคณะให้ทรงถือเป็นเกียรติยศ สืบมา พระนิพนธ์อันเป็นเครื่องแสดงถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีของพระองค์ก็คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธานซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลีว่าด้วยเรื่องการวิเคราะห์คืบพระสุคตอันเป็นมาตราวัดที่มีกล่าวถึงในทาง พระวินัย นอกจากนี้ ก็ได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เป็น ภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง นับว่าทรงเป็นปราชญ์ทาง ภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุครัตนโกสินทร์
    ในรัชกาล ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะสมณศักดิ์ เสมอพระราชาคณะสามัญ พระราชทานตาลปัตรแฉกถมปัดเป็นพัดยศ
    พ.ศ. ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะยังทรงผนวชอยู่ ทรงเป็นพระเถราจารย์ประธานแห่งพระสงฆ์ธรรมยุตินิกายทรงลาผนวชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นรัชกาลที่ ๔ จึงได้ทรงสถาปนาพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าฤกษ์ เป็นกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงอิศริยยศเป็นประธานาธิบดีแห่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ซึ่งขณะนั้นเรียกว่า “ธรรมยุติกนิกายิกสังฆมัธยมบวรนิเวสาธิคณะ” ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองรองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆปริณายก คือสมเด็จพระสังฆราชอยู่ในขณะนั้น สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเป็นพระองค์แรก <SUP>(๓)</SUP>
    ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์
    พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ขณะทรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) ขณะทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ พระสาสนโสภณ เป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ เมื่อทรงผนวชแล้ว เสด็จประทับที่พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม ในพระบรมมหาราชวังชั้นใน โดยทรงเชิญเสด็จสมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ และนิมนต์พระราชาคณะผู้ใหญ่ต่างวัดเข้าไปอยู่ด้วยพอครบคณะสงฆ์ ทรงผนวชอยู่ ๑๕ วันก็ทรงลาผนวช <SUP>(๔)</SUP>
    หลังจากเสด็จออกทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชปรารภที่จะถวายมหาสมณุตมาภิเษกพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ในตำแหน่งที่สมเด็จพระสังฆราช แต่สมเด็จมหาสมณเจ้าฯ พระองค์นั้นไม่ทรงรับ ทรงถ่อมพระองค์อยู่ว่า เป็นพระองค์เจ้าในพระราชวังบวรฯ จักข้ามเจ้านายที่เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งทรงเจริญพระชนมายุกว่าก็มี จักเป็นที่ทรงรังเกียจของท่าน จึงทรงรับเลื่อนเพียงเป็นกรมพระ เสมอด้วยเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในชั้นเท่านั้น <SUP>(๕) </SUP>จึงทรงพระกรุณาโปรดให้เลื่อนพระ อิศริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ <SUP>(๖)</SUP>
    การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อนพระอิศริยยศ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่รับถวายมหาสมณุตมาภิเษก ในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุดเท่ากับทรงเป็นสมเด็จ พระสังฆราชดังปรากฏในคำประกาศเลื่อนกรมว่า “สมควรเป็นสังฆปรินายกประธานาธิบดี มีสมณศักดิ์อิศริยยศใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆ์บรรพสัชทั้งปวงในฝ่ายพุทธจักร” <SUP>(๗) </SUP>ฉะนั้น ในช่วงต้นรัชกาล มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๓๔ เป็นเวลา ๒๓ ปี จึงว่างสมเด็จพระสังฆราช
    ทรงรับมหาสมณุตมาภิเษก
    [​IMG]พ.ศ. ๒๔๓๔ อันเป็นบั้นปลายแห่งพระชนม์ชีพแห่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงถวายมหาสมณุตมาภิเษก ขณะเมื่อทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเจริญพระชนมายุถึง ๘๒ พรรษาแล้ว มาในคราวนี้ ทรงยอมรับถวายมหาสมณุตมาภิเษก เพราะเจ้านายชั้นเดียวกันสิ้นพระชนม์แล้วทั้งสิ้น มีเจ้านายผู้ใหญ่เจริญพระชนมายุเหลืออยู่แต่พระองค์เพียงพระองค์เดียว <SUP>(๘)</SUP>
    การพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก (ของเดิมเขียน มหาสมณุตมาภิเศก) ทรงพระกรุณาโปรดให้ตั้งพระราชพิธีสงฆ์ในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร มีเทียนชัยและเตียงพระสวดภาณวารตั้งพระแท่นเศวตฉัตร ในนั้น ตั้งพระแท่นสรงที่ศาลากำแพงแก้ว โรงพิธีพราหมณ์ตั้งริมคูนอกกำแพงบริเวณนั้นออกมา มีสวดมนต์ตั้งน้ำวงด้ายวัน ๑ พระสงฆ์ ๒๐ รูป รุ่งเช้าจุดเทียนชัยสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นโปรดให้กรมหมื่นวชิรญาณวโรรสทรงจุด พระสงฆ์เข้าพระราชพิธี ๓๐ รูป สวดมนต์ ๓ เวลาและสวดภาณวาร ๓ วัน ๓ คืน เช้าวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ สรงแล้ว เสด็จขึ้นพระแท่นเศวตรฉัตร มีประกาศกระแสพระบรมราชโองการทรงสถาปนาแล้ว ทรงรับพระสุพรรณบัฏ เครื่องยศ ดอกไม้ธูปเทียนและต้นไม้ทองเงินของหลวงแล้ว ทรงถวายศีล เป็นเสร็จการรับมหาสมณุตมาภิเษกเพียงเท่านี้ ต่อนั้นทรงธรรม ๔ กัณฑ์อนุโลมตามบรมราชาภิเษกกัณฑ์ทศพิธราชธรรมจรรยาเปลี่ยนเป็นไตรสิกขาและ ทรงรับดอกไม้ธูปเทียนของ พระสงฆ์พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ <SUP>(๙)</SUP>
    <TABLE class=MsoNormalTable id=table1 style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BACKGROUND: #fffff5; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: maroon 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; WIDTH: 95%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top width="95%">
    ประกาศการมหาสมณุตมาภิเศก


    ศุภมัสดุ พระพุทธสาสนกาล เป็นอดีตภาคล่วงแล้ว ๒๔๓๔ พรรษา ปัตยุบันกาล จันทรคตินิยม สสสังวัจฉร กรรติกมาศกาฬปักษ์ พาระสีดิถี ศุกรวาร สุริยคติกาล รัตนโกสินทรศก ๑๑๐ พฤศจิกายนมาศ สัตตวีสติมวารปริเฉทกาลกำหนด
    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุรัตนราชรวิวงศ์ วรุตมพงศ์บริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรัตนบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนารถ มหามกุฏราชวรางกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฐไพบูลย์ บูรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ ธัญญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมาล ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษสรรพ เทเวศรานุรักษ์ วิสิฐศักดิสมญา พินิตประชานารถเปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินคร วรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธร อเนกชนนิกรสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเสวตรฉัตราดิฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยมหาสวามินทร์ มเศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิอรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบพิตรพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ทรงพระราชดำริว่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ได้ดำรงพระยศเป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมผู้ใหญ่ แลเปนสังฆปรินายกปธานาธิบดี มีสมณะศักดิใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆบรรพสัช ทั่วพระราชอาณาเขตร มาตั้งแต่วันศุกร เดือน ๓ ขึ้น ๖ ค่ำ ปีระกาเบญจศก จุลศักราช ๑๒๓๕ ล่วงมาจนกาลบัดนี้ มีพระชนมายุเจริญยิ่งขึ้นจนไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดในมหาจักรีบรมราชตระกูลนี้ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ที่ยังดำรงอยู่ก็ดี จะได้มีพระชนมายุยืนยาวมาเสมอด้วยพระชนมายุสักพระองค์เดียว เป็นเหตุให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แลพระบรมวงศานุวงศ์ทรงยินดีมีความเคารพนับถือยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน
    อีกประการหนึ่งฝ่ายบรรพชิต บรรดาพระสงฆ์ซึ่งมีสมณะศักดิ์ในเวลานี้ ก็ไม่มีผู้ใดซึ่งจะมีพรรษาอายุเจริญยิ่งกว่าพระชนมายุแลพรรษา ก็ย่อมเป็นที่ยินดีเคารพนับถือยิ่งใหญ่ในสมณะมณฑลทั่วทุกสถาน
    อนึ่งแต่ก่อนมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานมหาสมณุตมาภิเศกฉด่พระนจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ก็ด้วยทรงพระราชปรารภพระชนมายุซึ่งเจริญยิ่งกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวง
    อีกประการหนึ่ง ด้วยการที่ทรงผนวชมาช้านาน ทรงคุณธรรมทางปฏิบัติในพระพุทธสาสนา แลได้เป็นครูอาจารย์แห่งราชตระกูลแลมหาชน เปนอันมากเปนที่ตั้ง ก็ถ้าจะเทียบแต่ด้วยคุณธรรมการปฏิบัติในทางพระพุทธสาสนาฤๅด้วยการที่ได้เป็นครูอาจารย์ของพระบรมวงศานุวงศ์แลมหาชนเปนอันมากนี้ก็พิเศษกว่า ด้วยได้ทรงเป็นพระอุปัธยาจารย์ในพระเจ้าแผ่นดิน และพระบรมวงศานุวงศ์มีเจ้าฟ้า แลพระองค์เจ้าต่างกรม แลพระองค์เจ้า จนตลอดข้าราชการเป็นอันมาก จนถึงในครั้งนี้ก็ยังได้ทรงเป็นพระอุปัธยาจารย์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งยังทรงผนวชเปนสามเณรอยู่ในบัดนี้ เพราะฉะนั้นบรรดาบรมราชตระกูลแลตระกูลทั้งปวง ทั้งในสมณะมณฑลทั่วทุกหมู่เหล่ายอมมีความเคารพนับถือในพระองค์ทั้งสองประการ คือเปนพระเจ้าบรมวงศ์ซึ่งทรงมีพระชนมายุเจริญยิ่งกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวงแลทั้งเป็นพระอุปัธยาจารย์ด้วยอีกฝ่ายหนึ่ง จึงมีความนิยมยินดีที่จะใคร่ให้ได้ดำรงพระยศอันยิ่งใหญ่ เสมอกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส โดยรับมหาสมณุตมาภิเศกแลเลื่อนกรม เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จพระให้เต็มตามความยินดีเลื่อมใส จะได้เป็นที่เคารพสักการบูชา เป็นที่ชื่นชมยินดีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แลพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการผู้ใหญ่ ผู้น้อยแลอเนกนิกรมหาชนบรรดาซึ่งนับถือพระพุทธสาสนาทั่วหน้า
    จึงมีพระบรมราชโองการมาณพระบัณฑูรสุรสิงหนาทโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการมหาสมณุตมาภิเศก แลเลื่อนพระอิศริยยศ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ขึ้นเป็นกรมสมเด็จพระ มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า
    พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ บวรรังษีสุริยพันธุ์ ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุตร ปฏิบัติสุทธิคณะนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยบรรพชิต สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชาปัญญาอรรค มหาสมณุดม บรมพงศาธิบดี จักรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทรบดินทร์สูริย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤษฐสมณศักดิธำรง มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตมมหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ ไวยัติยญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรยคุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคาริยรัตน์ สยามาธิโลกยปฏิพัทธ พุทธบริสัษยเนตร สมณคณินทราธิเบศร์ สกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการมหาปาโมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร เสด็จสถิตย์ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร พระอารามหลวง (มุสิกนาม) ให้ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ ตามพระราชกำหนดอย่างพระองค์เจ้าต่างกรมตำแหน่งใหญ่ ในพระบรมมหาราชวัง แลดำรงพระยศฝ่าย สมณะศักดิ์เปนเจ้าคณะใหญ่แห่งพระสงฆ์ทั้งกรุงเทพ ฯ แลหัวเมืองทั่วพระราชอาณาเขตร พระราชทานนิตยภัตรบูชาเดือนละ ๑๒ ตาลึง ขออาราธนาให้ทรงรับธุระพระพุทธสาสนาเปนภาระสั่งสอนช่วยระงับอธิกรณ์พระภิกษุสงฆ์สามเณรทั่วไปโดยสมควรแก่พระอิศริยยศสมณศักดิ จงทรงเจริญพระชนมายุพรรณศุขพลปฏิภาณคุณสารสมบัติสรรพศิริสวัสดิ พิพัฒมงคลวิบุลยศุภผลจิรฐิติกาลในพระพุทธสาสนาเทอญ ฯ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงพระอัจฉริยภาพในหลายด้าน ซึ่งคนส่วนมากไม่ค่อยจะได้รู้จัก ประการแรก ทรงเป็นปราชญ์ ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีอยู่จำนวนไม่มากนัก ผลงานด้านภาษาบาลีที่สำคัญของพระองค์ก็คือพระนิพนธ์เรื่องสุคตวิทิตถิวิธาน ซึ่งทรงวิเคราะห์ และอธิบายเรื่องคืบพระสุคต พระนิพนธ์เรื่องนี้ ทรงพระนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ในปลายรัชกาลที่ ๓ และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในลังกา ในตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สำหรับในประเทศไทยนั้น เพิ่งจะมารู้จักพระนิพนธ์เรื่องนี้เมื่อต้นรัชกาลที่ ๖ นอกจากพระนิพนธ์เรื่องนี้แล้ว พระองค์ยังทรงพระนิพนธ์เรื่องอื่นๆ เป็นภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง ส่วนพระนิพนธ์ในภาษาไทยก็ทรงไว้หลายเรื่องเช่นกัน ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม และทรงพระปรีชาสามารถทั้งในทางร้อยแก้วและร้อยกรอง ที่สำคัญ เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ โครงพระราชประวัติในรัชกาลที่ ๔
    ทรงเป็นสถาปนิก
    พ.ศ. ๒๓๙๖ อันเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริที่จะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งองค์เดิมเป็นพระเจดีย์ขนาดย่อม ให้เป็นพระมหาเจดีย์สำหรับเป็นที่สักการบูชาของมหาชนสืบไทย จึงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่ยังทรงเป็นกรมหมื่นออกแบบพระเจดีย์ และทรงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์ เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาฯ ถึงแก่พิราลัย ก็โปรดให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) เป็นผู้บัญชาการทำการปฏิสังขรณ์ต่อมาจนสำเร็จ พระปฐมเจดีย์ดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ จึงเป็นผลงานออกแบบของสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ <SUP>(๑๐)</SUP>
    ทรงเป็นนักโบราณคดี
    เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ ได้เสด็จธุดงค์ไปยังหัวเมืองต่างๆเป็นเหตุให้ทรงพบศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และจารึกอื่นๆ ในเวลาต่อมาอีกมาก และพระองค์ทรงพยายามศึกษา จนสามารถทรงอ่านข้อความในจารึกดังกล่าวนั้นได้ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติไทย อย่างมหาศาล สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ซึ่งทรงเป็นศิษย์ใกล้ชิดในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ก็ได้ทรงดำเนินรอยตาม เป็นเหตุให้ทรงเชี่ยวชาญในทางโบราณคดีพระองค์หนึ่งของไทยในยุคนั้น ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทย ได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่างๆ ในประเทศไทยไว้มากและได้ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ (อักษรขอม) เป็นพระองค์แรก <SUP>(๑๑)</SUP>
    ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์
    นอกจากจะทรงสนพระทัยในการศึกษาทางโบราณคดีแล้ว สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ยังทรงสนพระทัยในเรื่องประวัติศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากผลงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่ทรงพระนิพนธ์ไว้หลายเรื่อง เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นต้น
    ทรงเป็นนักดาราศาสตร์และโหราศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงเป็นที่เลื่องลือว่าเชี่ยวชาญในทางโหราศาสตร์เป็นอันมากแต่ไม่ทรงนิยมการพยากรณ์ ในด้านดาราศาสตร์ก็ทรงเชี่ยวชาญเป็นอย่างยิ่ง ได้ทรงพระนิพนธ์ตำราปักขคณนา (คือตำราการคำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร พระนิพนธ์อันเป็นผลงานของพระองค์ในด้านนี้ไม่ค่อยได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่คนทั่วไปจึงไม่ค่อยรู้จักพระอัจฉริยภาพ ของพระองค์ในเรื่องดังกล่าวเหล่านี้มากนัก
    ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวันติดต่อกันเป็นเวลาถึง ๔๕ ปี เริ่มแต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๙ ในรัชกาลที่ ๓ จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ ในรัชกาลที่ ๕ เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย นับว่าทรงมีความวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทรงเรียกบันทึกของพระองค์ว่า “จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน” และในจดหมายเหตุนี้ยังได้ทรงบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญๆ ไว้ด้วย นับเป็นจดหมายเหตุทางประวัติที่มีค่ามากเรื่องหนึ่ง
    ทรงเป็นกวี
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงพระนิพนธ์เรื่องราวต่างๆ ไว้มาก ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ในส่วนที่เป็นภาษาไทยนั้นทรงพระนิพนธ์เป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ไว้ก็จำนวนมาก เช่น โคลงพระราชประวัติรัชกาลที่ ๔ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงเป็นกวีนักอักษรศาสตร์ที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย
    เมื่อกล่าวถึงเรื่องพระกริ่ง คนส่วนมากก็คงจะเคยได้ยินเรื่องพระกริ่งปวเรศ ซึ่งนิยมนับถือกันว่าเป็นยอดแห่งพระกริ่งในสยามพระกริ่งปวเรศเป็นพุทธศิลป์ที่สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ได้ทรงพระดำริสร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕ นับเป็นการให้กำเนิดพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และได้เป็นแบบอย่างให้มีการสร้างพระกริ่ง กันขึ้นในเวลาต่อมาจนกระทั่งทุกวันนี้
    พระอวสานกาล
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ตลอดถึงพระบรมวงศานุวงศ์เป็นอันมาก ทรงเป็นที่ปรึกษาในกิจการบ้านเมืองที่สำคัญๆ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ มาตลอดพระชนมชีพ ดังจะเห็นได้จากความในพระราชหัตถเลขาที่กราบทูลสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น บางตอนว่า “ทุกวันนี้หม่อมฉันเหมือนตัวคนเดียว ได้อาศัยอยู่แค่สมเด็จกรมพระกับสมเด็จเป็นที่พึ่งที่ปรึกษา เป็นพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ ขอให้ทรงพิเคราะห์การให้ละเอียดด้วย”
    ในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงประชวรต้อกระจก ในที่สุดพระเนตรมืด ครั้ง พ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงประชวรพระโรคกลัดพระบังคนหนัก จัดเข้าในพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อเช้าตรู่ของวันพฤหัสบดีที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ สิริรวมพระชนมายุได้ ๘๓ พรรษา ทรงครองวัดบวรนิเวศเป็นเวลา ๔๑ ปี ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียง ๑๑ เดือนเศษ ได้พระราชทานพระโกศกุดั่งใหญ่ทรงพระศพ
    พระศพสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ประดิษฐานอยู่ ณ พระตำหนักเดิม (คือที่เสด็จประทับ) วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลาถึง ๘ ปี จึงได้พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๔๔๓
    ทรงสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนาม
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะเมื่อทรงดำรงพระสมณฐานันดรเป็น สมเด็จพระมหาสังฆปริณายก ที่ สมเด็จพระสังฆราชนั้น ยังไม่มีคำนำพระนามที่บ่งบอกถึงพระเกียรติยศ ในทางสมณศักดิ์ คือเรียกพระนามไปตามพระอิศริยยศแห่งบรมราชวงศ์ว่า “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จ พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” มาในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” ในคราวเดียวกันกับที่ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ จึงได้เรียกกันว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่นั้นเป็นต้นมา

    เชิงอรรถ
    ๑. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ กรมพระดำรงราชานุภาพ กรุงรัตนโกสินทร์ ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๐๖ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร หน้า ๑๒๖-๘
    ๒. เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๒๘ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ความทรงจำ สำนักพิมพ์คลังวิทยา กรุงเทพฯ ๒๕๑๗ หน้า ๗๓
    ๓. เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๒๙-๑๓๐
    ๔. ตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร พิมพ์โดยพระบรมราชโองการในงานถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ที่พระเมรุท้องสนามหลวง พ.ศ. ๒๔๖๕ หน้า ๖๘-๙
    ๕. เรื่องเดียวกัน หน้า ๗๖-๘
    ๖. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ อ้างแล้ว หน้า ๑๓๐
    ๗. เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๓๑
    ๘. ตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร อ้างแล้ว หน้า ๗๗
    ๙. เรื่องเดียวกัน หน้า ๗๖-๗
    ๑๐. เรื่องเดียวกัน หน้า ๕๑
    ๑๑. กรมศิลปากร จารึกสมัยสุโขทัย จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสฉลอง ๗๐๐ ปีลายสือไทย พ.ศ. ๒๕๒๖ หน้า ๒๒๕

    ?ÐǑ?Ԡ?Á?В?ǠÈǃԂ҅??ó쯦lt;/a>



    .


    .


    .




    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...