พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969

    ขอบคุณมากค่ะ
     
  2. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969
    เพิ่งเคยได้ยินว่ามีอาหารเจของสุนัข ไอเดียดีจัง
    วันนี้จะลองไปทาน
    ขอบคุณมากค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กุมภาพันธ์ 2009
  3. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่าผมว่าถ้า ทางวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วมันเป็น อย่างนั้น และถ้าบังเอิญที่รอยแตกเมื่อขยายดูเห็นเป็นเนื้อใยเกาะกันงดงาม ย่อมไม่หนีเนื้อลับ ลวง พราง หรือ ปล่าวครับ หุ หุ
     
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  5. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    555 ต้องคุมไม่ให้สลบครับ เดี๋ยวพลาดไป หุหุ
     
  6. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    CHINA​
    6 February 2009​
    China gold stocks​
    Stock Code Rating
    Price
    Target
    Price
    (DCF)
    Upside/
    Downside
    (%)​
    Sino Gold 1862 OP A$4.90 A$6.00 22.4
    Zhaojin Mining 1818 OP HK$7.00 HK$8.10 15.7%
    Zijin Mining 2899 UP HK$4.40 HK$3.00 -31.8%
    Prices as at 5 February.
    Source: Macquarie Research, February 2009​
    Analysts​
    Jim Copland​
    612 8232 0397 jim.copland@macquarie.com
    Xiao Li​
    86 21 2412 9009 xiao.li@macquarie.com
    Andrew Dale​
    852 3922 3587 andrew.dale@macquarie.com
    When the going gets tough, get gold​
    Event​
    Gold has been performing strongly in the past month. Gold ETF investment
    demand has been one of the key drivers, with aggregate positions now at
    40moz (1,244t). Encouragingly, there is data to suggest that gold has broken
    its strong historical correlation with the Euro-USD, as it does periodically, and
    is re-establishing the correlation in a higher trading range.

    Impact​
    Gold is still a safe haven. In the short term, a key driver continues to be
    investment demand as a safe haven against global financial turmoil. Indeed,
    gold continues to represent one of the relatively few appealing asset classes.
    While gold performed well relative to base metals and most other
    commodities in 2008, it did suffer somewhat by association with the
    commodity complex as it sold off in the market
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันมาฆบูชา
    http://www.dhammathai.org/day/maka.php

    ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ ค่ำ เ ดื อ น ๓
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=3 align=right bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    "มาฆะ" เป็นชื่อของเดือน ๓ มาฆบูชานั้น ย่อมาจากคำว่า"มาฆบุรณมี" แปลว่าการบูชาพระในวันเพ็ญ เดือน ๓ วันมาฆบูชาจึงตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ แต่ถ้าปีใดมีเดือน อธิกมาส คือมีเดือน ๘ สองครั้ง วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ เป็นวันสำคัญวันหนึ่ง ในวันพุทธศาสนา คือวันที่มีการประชุมสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพุทธศาสนา ที่เรียกว่า "จาตุรงคสันนิบาต" และเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแสดง โอวาทปฎิโมกข์ แก่พระสงฆ์สาวกเป็นครั้งแรก ณ เวฬุวันวิหาร กรุงราชคฤห์ เพื่อให้พระสงฆ์นำไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อจะยังพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป

    คำว่า "จาตุรงคสันนิบาต" แยกศัพท์ได้ดังนี้ คือ "จาตุร" แปลว่า ๔ "องค์" แปลว่า ส่วน "สันนิบาต" แปลว่า ประชุม ฉะนั้นจาตุรงคสันนิบาตจึงหมายความว่า "การประชุมด้วยองค์ ๔" กล่าวคือมีเหตุการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นพร้อมกันในวันนี้ คือ

    ๑. เป็นวันที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหาร
    ในกรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย
    ๒. พระภิกษุสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจาก
    พระพุทธเจ้าทั้งสิ้น
    ๓. พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์
    ๔. เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงกำลังเสวยมาฆฤกษ

    การปฎิบัติตนสำหรับพุทธศาสนาในวันนี้ก็คือ การทำบุญ ตักบาตรในตอนเช้า หรือไม่ก็จัดหาอาหารคาวหวานไปทำบุญฟังเทศน์ที่วัด ตอนบ่ายฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา ในตอนกลางคืน จะพากันนำดอกไม้ ธูปเทียน ไปที่วัดเพื่อชุมนุมกันทำพิธีเวียนเทียน รอบพระอุโบสถ พร้อมกับพระภิกษุสงฆ์โดยเจ้าอาวาสจะนำว่า นะโม ๓ จบ จากนั้นกล่าวคำ ถวาย ดอกไม้ธูปเทียน ทุกคนว่าตาม จบแล้วเดิน เวียนขวา ตลอดเวลาให้ระลึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จนครบ ๓ รอบ แล้วนำดอกไม้ ธูปเทียนไปปักบูชาตามที่ทางวัด เตรียมไว้ เป็นอันเสร็จพิธี



    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    กิจกรรมต่างๆ ที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา
    ๑. ทำบุญใส่บาตร
    ๒. ไปวัดเพื่อปฏิบัติธรรม และฟังพระธรรมเทศนา
    ๓. ไปเวียนเทียนที่วัด
    ๔. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือนและสถานที่ราชการ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จาตุรงคสันนิบาต การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ ๑. วันนั้นดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (เพ็ญเดือนสาม ๒. พระสงฆ์
    ๑๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์เหล่านั้นทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา ๖ ๔. พระ
    สงฆ์เหล่านั้นทั้งหมดล้วนเป็นเอหิภิกขุ ดู มาฆบูชา
    http://www.dhammathai.org/buddhistdic/dish42.php


    โอวาทปาฏิโมกข์ หลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่
    พระพุทธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป ผู้ไปประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ณ พระเวฬุ
    วนาราม ในวันเพ็ญเดือน ๓ ที่เราเรียกกันว่าวันมาฆบูชา (ถรรถกถากล่าวว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
    นี้ แก่ที่ประชุมสงฆ์ตลอดมา เป็นเวลา ๒๐ พรรษา ก่อนที่จะโปรดให้สวดปาฏิโมกข์อย่างปัจจุบันนี้แทนต่อมา), คาถา
    โอวาทปาฏิโมกข์ มีดังนี้ (โอวาทปาติโมกข์ ก็เขียน)
    สพฺพปาปสฺส อกรณํกุสลสฺสูปสมฺปทา
    สจิตฺตปริโยทปนํเอตํ พุทธาน สาสนํฯ
    ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
    นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา
    น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี
    สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ
    อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สํวโร
    มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสนํ
    อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ
    แปล : การไม่ทำความชั่วทั้งปวง ๑ การบำเพ็ญแต่ความดี ๑ การทำจิตของตนให้ผ่องใส ๑ นี้เป็นคำสอนของ
    พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
    ขันติ คือความอดกลั้น เป็นตบะอย่างยิ่ง, พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่านิพพาน เป็นบรมธรรม, ผู้ทำร้ายคนอื่น
    ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต,ผู้เบียดเบียนคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ
    การไม่กล่าวร้าย ๑ การไม่ทำร้าย ๑ ความสำรวมในปาฏิโมกข์ ๑ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร ๑ ที่นั่ง
    นอนอันสงัด ๑ ความเพียรในอธิจิต ๑ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
    ที่เข้าใจกันโดยทั่วไป และจำกันได้มาก ก็คือ ความในคาถาแรกที่ว่า ไม่ทำชั่ว ทำแต่ความดี ทำจิตใจให้ผ่องใส
    http://www.dhammathai.org/buddhistdic/bowl441.php
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันมาฆบูชา

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    [​IMG]

    วันมาฆบูชา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" เพราะเป็นวันที่พระพุทธองค์ทรงประทานหลักโอวาทปาฏิโมกข์ อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา แก่พระอรหันตสาวกผู้เป็นเอหิภิกขุทั้ง 1,250 องค์ ที่มาประชุมพร้อมกันเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมายในวันมาฆปุรณมีเป็นอัศจรรย์

    วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อังกฤษ: Magha Puja) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.86.E0.B8.B0_0-0>[1]</SUP> "มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปุรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (มักอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ หรือเดือนมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน คือเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช อันเป็นปีแรกแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ที่เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ในวันนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 องค์นั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP>
    เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีมาฆบูชาในประเทศพุทธเถรวาท จนมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พระองค์ได้ทรงปรารภถึงเหตุการณ์ครั้งพุทธกาลในวันเพ็ญเดือน 3 ดังกล่าวว่า เป็นวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญยิ่ง ควรมีการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่ตั้งแห่งความศรัทธาเลื่อมใส จึงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชกุศลมาฆบูชาขึ้น<SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP> โดยการประกอบพระราชพิธีคงคล้ายกับวันวิสาขบูชา คือมีการบำเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ มีการพระราชทานจุดเทียนตามประทีปเป็นพุทธบูชาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระอารามหลวงต่าง ๆ เป็นต้น โดยในช่วงแรกพิธีมาฆบูชาคงเป็นการพระราชพิธีภายใน ยังไม่แพร่หลายทั่วไป จนต่อมาความนิยมจัดพิธีมาฆบูชาจึงได้ขยายออกไปทั่วราชอาณาจักร
    ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทย<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.86.E0.B8.B0_0-1>[1]</SUP> โดยพุทธศาสนิกชนทั้งพระบรมวงศานุวงศ์<SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP> พระสงฆ์ และประชาชน จะมีการประกอบพิธีต่าง ๆ เช่น การตักบาตร การฟังพระธรรมเทศนา การเวียนเทียน เป็นต้น เพื่อเป็นการบูชารำลึกถึงพระรัตนตรัยและเหตุการณ์สำคัญดังกล่าว ที่ถือได้ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.97.E0.B8.B5..E0.B8.A1._.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.B9.E0.B8.95.E0.B8.A3_5-0>[6]</SUP> กล่าวคือหลักคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา อันได้แก่ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญความดีให้ถึงพร้อม และการทำจิตของตนให้ผ่องใส เพื่อเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งมวล
    นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชา ให้เป็น "วันกตัญญูแห่งชาติ" เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยวัยรุ่นสาวมักจะเสียตัวในวันวาเลนไทน์หลายหน่วยงานจึงพยายามรณรงค์ให้วันมาฆบูชาเป็นวันแห่งความรัก (อันบริสุทธิ์) แทน
    สำหรับในปี พ.ศ. 2552 นี้ วันมาฆบูชาจะตรงกับ วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ

    [แก้] เหตุการณ์สำคัญที่เกิดในวันมาฆบูชาในพุทธประวัติ


    [แก้] ความสำคัญ


    "วันมาฆบูชา" เป็นวันที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์แก่มหาสังฆสันนิบาตในมณฑลวัดเวฬุวันมหาวิหาร ซึ่งในวันนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการคือ
    1. พระอรหันต์สาวก 1,250 รูปที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆ ได้กลับมาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ เวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ
    2. พระอรหันต์สาวกหรือพระสงฆ์ทั้ง 1,250 รูปนี้ล้วนเป็นล้วนเป็นเอหิภิกขุที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสิ้น เรียกว่าวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา
    3. พระอรหันต์สาวกทั้ง 1,250 รูปนี้ ต่างได้มาประชุมพร้อมเพรียงกันโดยมิได้นัดหมาย
    4. วันที่พระสงฆ์ 1,250 องค์มาชุมนุมกันโดยมิได้นัดหมายนี้ ตรงกับวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันเพ็ญกลางเดือนสาม)
    ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ 4 อย่าง จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "จาตุรงคสันนิบาต" (มาจากศัพท์บาลี จาตุร+องฺค+สนฺนิปาต แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสี่ประการ) โดยประชุมกัน ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์ หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว 9 เดือน (45 ปี ก่อนพุทธศักราช)

    [แก้] มูลเหตุ

    [​IMG]
    มีผู้กล่าวว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้พระสาวกทั้ง 1,250 องค์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย มาจากในวันเพ็ญเดือน 3 ตามคติพราหมณ์ เป็นวันพิธีศิวาราตรี พระสาวกเหล่านั้นซึ่งเคยนับถือศาสนาพราหมณ์มาก่อนจึงได้เปลี่ยนจากการรวมตัวกันทำพิธีชำระบาปตามพิธีพราหมณ์ มารวมกันเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าแทน<SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP>


    หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 และได้ทรงประกาศพระศาสนาและส่งพระอรหันตสาวกออกไปจาริกเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ ล่วงแล้วได้ 9 เดือน ในวันที่ใกล้พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) พระอรหันต์ทั้งหลายเหล่านั้นต่างได้ระลึกว่า วันนี้เป็นวันสำคัญของศาสนาพราหมณ์ อันเป็นศาสนาของตนอยู่เดิม ก่อนที่จะหันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า และในลัทธิศาสนาเดิมนั้นเมื่อถึงวันเพ็ญเดือนมาฆะ เหล่าผู้ศรัทธาพราหมณลัทธินิยมนับถือกันว่าวันนี้เป็นวันศิวาราตรี โดยจะทำการบูชาพระศิวะด้วยการลอยบาปหรือล้างบาปด้วยน้ำ แต่มาบัดนี้ตนได้เลิกลัทธิเดิมหันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าแล้ว จึงควรเดินทางไปเข้าเฝ้าบูชาฟังพระสัทธรรมจากพระพุทธเจ้า พระอรหันต์เหล่านั้นซึ่งเคยปฏิบัติศิวาราตรีอยู่เดิม จึงพร้อมใจกันไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมาย

    [แก้] จาตุรงคสันนิบาต

    [​IMG]
    กลุ่มป่าไผ่ร่มรื่น ในกลุ่มโบราณสถานวัดเวฬุวันมหาวิหาร สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์


    โดยพระอรหันต์ทั้งหลายนั้นต่างไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ อันเป็นที่ประทับ โดยมีคณะทั้ง 4 คือ คณะศิษย์ของชฎิล 3 พี่น้อง คือ คณะพระอุรุเวลกัสสปะ (มีศิษย์ 500 องค์) คณะพระนทีกัสสปะ (มีศิษย์ 300 องค์) คณะพระคยากัสสปะ (มีศิษย์ 200 องค์) และคณะของพระอัครสาวกคือคณะพระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ (มีศิษย์ 250 องค์) รวมนับจำนวนได้ 1,250 รูป (จำนวนนี้ไม่ได้นับรวมชฎิล 3 พี่น้อง และพระอัครสาวกทั้งสอง<SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP>)
    การเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าในวันมาฆฤกษ์นี้ เป็นไปโดยมิได้มีการนัดหมาย และเป็นการเข้าประชุมของพระอรหันต์จำนวนมากเป็นมหาสังฆสันนิบาต และประกอบด้วย "องค์ประกอบอัศจรรย์ 4 ประการ" คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 องค์นั้น ได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นพระสงฆ์ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง , พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6 และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4 ดังกล่าวแล้ว

    [แก้] ทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์

    พระพุทธเจ้าเมื่อทรงทอดพระเนตรเห็นมหาสังฆสันนิบาตอันประกอบไปด้วยเหตุอัศจรรย์ดังกล่าว จึงทรงเห็นเป็นโอกาสอันสมควรที่จะแสดง "โอวาทปาฎิโมกข์" อันเป็นหลักคำสอนสำคัญที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาแก่ที่ประชุมพระสงฆ์เหล่านั้น เพื่อวางจุดหมาย หลักการ และวิธีการ ในการเข้าถึงพระพุทธศาสนาแก่พระอรหันตสาวกและพุทธบริษัททั้งหลาย พระพุทธองค์จึงทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์เป็นพระพุทธพจน์ 3 คาถากึ่ง ท่ามกลางมหาสังฆสันนิบาตนั้น มีใจความดังนี้ว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.97.E0.B8.B5..E0.B8.A1._.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.B9.E0.B8.95.E0.B8.A3_5-1>[6]</SUP>

    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TH>คาถาต้นฉบับ</TH><TH>คำแปล</TH></TR><TR><TD>
    • ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
    <DL><DD>นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา <DD>น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี <DD>สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ </DD></DL>
    • สพฺพปาปสฺส อกรณํ
    <DL><DD>กุสลสฺสูปสมฺปทา <DD>สจิตฺตปริโยทปนํ <DD>เอตํ พุทฺธานสาสนํฯ </DD></DL>
    • อนูปวาโท อนูปฆาโต
    <DL><DD>ปาติโมกฺเข จ สํวโร <DD>มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ <DD>ปนฺตญฺจ สยนาสนํ <DD>อธิจิตฺเต จ อาโยโค <DD>เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ </DD></DL></TD><TD>
    <DL><DD>พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า นิพพานเป็นบรมธรรม <DD>ผู้ทำร้ายคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต <DD>ผู้เบียดเบียนคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ </DD></DL>
    • การไม่ทำความชั่วทั้งปวง 1 การบำเพ็ญแต่ความดี 1
    <DL><DD>การทำจิตของตนให้ผ่องใส 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย </DD></DL>
    • การไม่กล่าวร้าย 1 การไม่ทำร้าย 1 ความสำรวมในปาฏิโมกข์ 1
    <DL><DD>ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร 1 ที่นั่งนอนอันสงัด 1 <DD>ความเพียรในอธิจิต 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย </DD></DL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    • โดยพระพุทธพจน์คาถาแรกทรงกล่าวถึง พระนิพพาน ว่าเป็นจุดมุ่งหมายหรืออุดมการณ์อันสูงสุดของบรรพชิตและพุทธบริษัท อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ดังพระบาลีว่า "นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา"
    • พระพุทธพจน์คาถาที่สองทรงกล่าวถึง "วิธีการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อ" คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง (ศีล) การบำเพ็ญแต่ความดี (สมาธิ) และการทำจิตของตนให้ผ่องใสเป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวง (ปัญญา)<SUP class=reference id=cite_ref-8>[9]</SUP>
    • ส่วนพระพุทธพจน์คาถาสุดท้าย ทรงกล่าวถึงหลักการปฏิบัติของพระสงฆ์ผู้ทำหน้าที่เผยแผ่พระศาสนา 6 ประการ คือ การไม่กล่าวร้ายใคร, การไม่ทำร้ายใคร , การมีความสำรวมในปาฏิโมกข์ทั้งหลาย, การเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร และการรู้จักที่นั่งนอนอันสงัด
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สถานที่สำคัญเนื่องด้วยวันมาฆบูชา (พุทธสังเวชนียสถาน)

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ ราชคฤห์ และ วัดเวฬุวันมหาวิหาร

    </DD></DL><TABLE class=infobox style="CLEAR: right; BORDER-RIGHT: #af4630 3px solid; BORDER-TOP: #af4630 3px solid; FONT-SIZE: 85%; BACKGROUND: #fffee8; FLOAT: right; BORDER-LEFT: #af4630 3px solid; BORDER-BOTTOM: #af4630 3px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR style="FONT-SIZE: larger; BACKGROUND: #af4630"><TD><SMALL>จุดหมายแสวงบุญใน
    แดนพุทธภูมิ
    </SMALL>
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>พุทธสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล</TH></TR><TR><TD>ลุมพินีวัน &middot; พุทธคยา
    สารนาถ &middot; กุสินารา
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>สาวัตถี &middot; ราชคฤห์
    สังกัสสะ &middot; เวสาลี
    ปัตนะ &middot; คยา
    โกสัมพี &middot; กบิลพัสดุ์
    เทวทหะ &middot; เกสาริยา
    ปาวา &middot; พาราณสี
    นาลันทา
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>อารามสำคัญในสมัยพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>วัดเวฬุวันมหาวิหาร
    วัดเชตวันมหาวิหาร
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>สถานที่สำคัญหลังพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>สาญจิ &middot; มถุรา
    ถ้ำแอลโลลา &middot; ถ้ำอชันตา
    มหาวิทยาลัยนาลันทา
    </TD></TR><TR><TD>แม่แบบ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การกำหนดให้วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาในประเทศไทย

    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ดำริให้มีพิธีมาฆบูชาขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย


    การประกอบพิธีในวันมาฆบูชาได้เริ่มมีขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงเล็งเห็นว่าวันนี้เป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในพระพุทธศาสนา คือเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ฯลฯ ควรจะได้มีการประกอบพิธีบำเพ็ญกุศลต่าง ๆ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา โดยในครั้งแรกนั้นได้ทรงกำหนดเป็นเพียงการพระราชพิธีบำเพ็ญกุศลเป็นการภายใน แต่ต่อมาประชาชนก็ได้นิยมนำพิธีนี้ไปปฏิบัติสืบต่อมาจนกลายเป็นวันประกอบพิธีสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันหนึ่งไป
    เนื่องจากในประเทศไทย พุทธศาสนิกชนได้มีการประกอบพิธีในวันมาฆบูชาสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 และนับถือกันโดยพฤตินัยว่าวันนี้เป็นวันสำคัญวันหนึ่งในทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยมาตั้งแต่นั้น<SUP class=reference id=cite_ref-17>[18]</SUP> โดยเมื่อถึงวันนี้พุทธศาสนิกชนจะร่วมใจกันประกอบพิธีบำเพ็ญกุศลต่าง ๆ กันเป็นงานใหญ่ ดังนั้นเมื่อถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงทรงประกาศให้วันมาฆบูชาเป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.86.E0.B8.B0_0-2>[1]</SUP> สำหรับชาวไทยจะได้ร่วมใจกันบำเพ็ญกุศลในวันมาฆบูชาโดยพร้อมเพรียง
    ในปัจจุบันยังคงปรากฏการประกอบพิธีมาฆบูชาอยู่ในประเทศไทยและประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย เช่น ลาว และกัมพูชา (ซึ่งเป็นส่วนที่ไทยได้เสียให้แก่ฝรั่งเศสในสมัยรัชกาลที่ 5) โดยไม่ปรากฏว่ามีการประกอบพิธีนี้ในประเทศพุทธมหายานอื่นหรือประเทศพุทธเถรวาทนอกนี้ เช่น พม่า และศรีลังกา ซึ่งคงสันนิษฐานได้ว่า พิธีมาฆบูชานี้เริ่มต้นจากการเป็นพระราชพิธีของราชสำนักไทยและได้ขยายไปเฉพาะในเขตราชอาณาจักรสยามในเวลานั้น ต่อมาดินแดนไทยในส่วนที่เป็นประเทศลาวและกัมพูชาได้ตกเป็นดินแดนในอารักขาของฝรั่งเศส และได้รับเอกราชในเวลาต่อมา พุทธศาสนิกชนในประเทศทั้งสองที่ได้รับคตินิยมการปฏิบัติพิธีมาฆบูชาตั้งแต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม คงได้ถือปฏิบัติพิธีมาฆบูชาอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้มีการยกเลิก จึงทำให้คงปรากฏพิธีมาฆบูชาในประเทศดังกล่าวจนถึงปัจจุบัน

    [แก้] วันมาฆบูชาในปฏิทินสุริยคติ

    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TH width=50>ปี</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH></TR><TR><TH>ปีชวด</TH><TD>3 มีนาคม พ.ศ. 2539</TD><TD>21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551</TD><TD>8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563</TD></TR><TR><TH>ปีฉลู</TH><TD>21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540</TD><TD>9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552</TD><TD>26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564</TD></TR><TR><TH>ปีขาล</TH><TD>11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541</TD><TD>28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553</TD><TD>16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565</TD></TR><TR><TH>ปีเถาะ</TH><TD>1 มีนาคม พ.ศ. 2542</TD><TD>18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554</TD><TD>6 มีนาคม พ.ศ. 2566</TD></TR><TR><TH>ปีมะโรง</TH><TD>19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543</TD><TD>7 มีนาคม พ.ศ. 2555</TD><TD>24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567</TD></TR><TR><TH>ปีมะเส็ง</TH><TD>8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544</TD><TD>25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556</TD><TD>12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568</TD></TR><TR><TH>ปีมะเมีย</TH><TD>26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545</TD><TD>14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีมะแม</TH><TD>16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546</TD><TD>4 มีนาคม พ.ศ. 2558</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีวอก</TH><TD>5 มีนาคม พ.ศ. 2547</TD><TD>22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีระกา</TH><TD>23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548</TD><TD>11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีจอ</TH><TD>13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549</TD><TD>1 มีนาคม พ.ศ. 2561</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีกุน</TH><TD>3 มีนาคม พ.ศ. 2550</TD><TD>19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562</TD><TD>???</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] การประกอบพิธีทางศาสนาในวันมาฆบูชา


    [แก้] พระราชพิธี

    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม


    พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลในวันมาฆบูชานี้ โดยปกติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นองค์ประธานในการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศล และบางครั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทน โดยสถานที่ประกอบพระราชพิธีจะจัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สำนักพระราชวังจะออกหมายกำหนดการประกาศการพระราชพิธีนี้ให้ทราบทั่วไปเป็นประจำทุกปี ในอดีตจะใช้ชื่อเรียกการพระราชพิธีในราชกิจจานุเบกษาแตกต่างกัน บางครั้งจะใช้ชื่อ "การพระราชกุศลมาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต"<SUP class=reference id=cite_ref-18>[19]</SUP> หรือ "การพระราชกุศลมาฆบูชา"<SUP class=reference id=cite_ref-19>[20]</SUP> หรือแม้ "มาฆบูชา" <SUP class=reference id=cite_ref-20>[21]</SUP> ส่วนในรัชกาลปัจจุบัน สำนักพระราชวังจะใช้ชื่อเรียกหมายกำหนดการที่ชัดเจน เช่น "หมายกำหนดการ พระราชกุศลมาฆบูชา พุทธศักราช ๒๕๒๒"<SUP class=reference id=cite_ref-21>[22]</SUP>
    รายละเอียดการประกอบพระราชพิธีนี้ในพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือน<SUP class=reference id=cite_ref-22>[23]</SUP> ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระบรมราชาธิบายเกี่ยวกับการพระราชพิธีในเดือนสาม คือพระราชพิธีบำเพ็ญกุศลในวันมาฆบูชาไว้ มีใจความว่า
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [แก้] วันสำคัญอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับวันมาฆบูชา


    [แก้] วันคล้ายวันปลงพระชนมายุสังขาร

    [​IMG]
    ปาวาลเจดีย์ เมืองเวสาลี สถานที่ ๆ พระพุทธองค์ทรงทำการปลงพระชนมายุสังขารในวันเพ็ญเดือนสามแห่งพรรษาสุดท้ายของพระชนมชีพ


    นอกจากเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตในวันเพ็ญเดือน 3 ในพรรษาแรกของพระพุทธเจ้าแล้ว ในวันเพ็ญเดือน 3 แห่งพรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้า (คราวที่ทรงพระชนมายุ 80 พรรษา) ก็ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญขึ้นอีกเหตุการณ์หนึ่งคือ พระพุทธองค์ได้ทรง "ปลงพระชนมายุสังขาร" กล่าวคือทรงทำนายว่าในวันเพ็ญเดือน 6 ที่จะมาถึง พระองค์จะเข้าสู่มหาปรินิพพาน จึง "ถือได้ว่าวันมาฆบูชาเป็นวันคล้ายวันสำคัญของพระพุทธศาสนาสองเหตุการณ์สำคัญ คือวันที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ และวันที่ทรงทำการปลงพระชนมายุสังขาร" (แต่โดยทั่วไปจะทราบแต่เพียงว่าวันนี้เป็นวันที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์)

    [แก้] วันกตัญญูแห่งชาติ (ประเทศไทย)

    ในปี พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของวันมาฆบูชา (ที่อาจถือได้ว่าเป็นวันแห่งความรักของพระพุทธศาสนา) โดยถือว่าเหตุการณ์สำคัญที่เหล่าพระสาวกทั้ง 1,250 รูป ได้กลับมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าด้วยความรักในพระองค์หลังจากได้ออกไปเผยแพร่พระศาสนาโดยมิได้นัดหมายดังกล่าวเป็นสิ่งที่แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีอันบริสุทธิ์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาในปฏิทินจันทรคติในวันเพ็ญเดือนสาม มักจะตกใกล้กับช่วง"เทศกาลวาเลนไทน์" อันเป็นเทศกาลวันแห่งความรักของคริสต์ศาสนา ซึ่งวัยรุ่นไทยบางกลุ่มมักยึดถือคติค่านิยมวันแห่งความรักในวันวาเลนไทน์ผิด ๆ โดยนิยมยึดถือกันว่าเป็นวันแห่งความรักของคนหนุ่มสาว หรือแม้กระทั่งถือว่าเป็น "วันเสียตัวแห่งชาติ"<SUP class=reference id=cite_ref-27>[28]</SUP> ซึ่งส่งผลกระทบต่อค่านิยมทางจริยธรรมและศีลธรรมของวัยรุ่นไทย รัฐบาลไทยในสมัยนั้นจึงได้ประกาศให้วันมาฆบูชาเป็นวันกตัญญูแห่งชาติ "เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เหมาะสมแก่วัยรุ่นไทย ให้หันมาสนใจกับความรักอันบริสุทธิ์ที่ไม่หวังสิ่งตอบแทน" แทนที่จะไปมัวเมากับความรักใคร่ชู้สาวหรือเรื่องฉาบฉวยทางเพศของหนุ่มสาว อันจะก่อให้เกิดปัญหาแก่สังคมตามมา
    การผลักดันให้มีวันกตัญญูแห่งชาติ มีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2546 โดยเคยมีการตั้งกระทู้ถามในสภาผู้แทนราษฎรให้พิจารณากำหนดให้มีวันกตัญญูแห่งชาติ แต่ก็ได้รับการปฏิเสธจากผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยอ้างว่าในประเทศไทยมีวันสำคัญแห่งชาติที่เกี่ยวกับการแสดงความกตัญญูมากพอแล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-28>[29]</SUP> ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการรวมตัวของนักพูดชื่อดังหลายท่าน เช่น ดร.ผาณิต กันตามระ นายสุรวงศ์ วัฒนกุล ดร.อภิชาติ ดำดี ผู้พิพากษาเฉลิมชัย จารุไพบูลย์ ดร.โอภาส กิจกำแหง และนายถาวร โชติชื่น เป็นต้น ซึ่งท่านเหล่านี้ได้ทำหนังสือถึงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ให้ส่งเสริมให้วันมาฆบูชาเป็นวันกตัญญูแห่งชาติอีกวันหนึ่งด้วย โดยได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง<SUP class=reference id=cite_ref-29>[30]</SUP>
    โดยวันกตัญญูแห่งชาตินี้ นอกจากจะมีขึ้นเพื่อเป็นการแสดงออกถึงวันแห่งความรักอันบริสุทธิ์ของชาวพุทธแล้ว ยังมีขึ้นเพื่อส่งเสริมค่านิยมให้คนไทยยึดถือความกตัญญู โดยอาจมีการพูดคุย ส่งการ์ดอวยพร มอบของขวัญหรือช่อดอกไม้แก่ผู้มีพระคุณของเรา เป็นการแสดงความระลึกถึงพระคุณด้วยความหวังดีของผู้ให้ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ การแสดงออกซึ่งน้ำใจหรือคำพูดก็ตาม

    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.86.E0.B8.B0-0>^ <SUP>1.0</SUP> <SUP>1.1</SUP> <SUP>1.2</SUP> ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกำหนดวันหยุดราชการ นักขัตฤกษ์ประจำปี (พระพุทธศักราช ๒๔๕๖), เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๖, หน้า ๕๓๓ <LI id=cite_note-1>^ วันสำคัญของเรา, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2520, หน้า 6 <LI id=cite_note-2>^ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548 <LI id=cite_note-3>^ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.พระราชพิธีสิบสองเดือน .พิมพ์ครั้งที่ 14, 41 : ศิลปาบรรณาคาร, 2516 <LI id=cite_note-4>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ พระราชกุศลมาฆบูชา พุทธศักราช ๒๕๕๑, เล่ม ๑๒๕, ตอน ๗ ข, ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑, หน้า ๑๐ <LI id=cite_note-.E0.B8.97.E0.B8.B5..E0.B8.A1._.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.B9.E0.B8.95.E0.B8.A3-5>^ <SUP>6.0</SUP> <SUP>6.1</SUP> พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร <LI id=cite_note-6>^ ความเป็นมาวันมาฆบูชา.เว็บไซต์เรียนพระไตรปิฎก <LI id=cite_note-7>^ ปุ้ย แสงฉาย. หลักพระปฐมสมโพธิ พระพุทธประวัติ ฉบับสมบรูณ์ หน้า 262 <LI id=cite_note-8>^ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). คัมภีร์วิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ รจนา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธนาเพรส. ๒๕๕๑ <LI id=cite_note-9>^ Bagri, S.C. Buddhist Pilgrimages & Tours in India. Nodida : Trishul Publication, 1992 <LI id=cite_note-10>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ธนัญชานิสูตร <LI id=cite_note-11>^ อรรถกถาพระไตรปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ โอปัมมวรรค อรรถกถารถวินีตสูตร <LI id=cite_note-12>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ทรงรับพระเวฬุวันเป็นสังฆิกาวาส <LI id=cite_note-13>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ <LI id=cite_note-14>^ พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).พุทธสถานในอินเดีย - เวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541. <LI id=cite_note-15>^ ไพโรจน์ คุ้มไพโรจน์.ตามรอยบาทพระศาสดา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2539. <LI id=cite_note-16>^ อมตานันทะ,พระ และคณะ. เอกสารโครงการค้นคว้าพุทธสถานในแดนพุทธองค์ทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : เอกสารตีพิมพ์ถ่ายสำเนาจากต้นฉบับ, ม.ป.ป. <LI id=cite_note-17>^ เทวประภาส มากคล้าย เปรียญ.. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น : ประเพณีวัฒนธรรมและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของวัดและหมู่บ้านคุ้งตะเภา. อุตรดิตถ์: วัดคุ้งตะเภา, ๒๕๕๑. <LI id=cite_note-18>^ ราชกิจจานุเบกษา, การพระราชกุศลมาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต, เล่ม ๓๒, ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๒๐ <LI id=cite_note-19>^ ราชกิจจานุเบกษา, การพระราชกุศลมาฆบูชา, เล่ม ๒๘, ๑๐ มีนาคม ร.ศ. ๑๓๐, หน้า ๒๖๔๔ <LI id=cite_note-20>^ ราชกิจจานุเบกษา, มาฆบูชา, เล่ม ๕, ตอนที่ ๕๗, ๘ เมษายน จ.ศ.๑๘๘๘, หน้า ๔๑๔ <LI id=cite_note-21>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ พระราชกุศลมาฆบูชา พุทธศักราช ๒๕๒๒, เล่ม ๙๖, ตอนที่ ๑๗, ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒, ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗ <LI id=cite_note-22>^ เบญจมาศ พลอินทร์.2523.วรรณคดีขนบประเพณี พระราชพิธีสิบสองเดือน.กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. <LI id=cite_note-23>^ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระ 2396-2453.2506.พระราชพิธีสิบสองเดือน/พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.พระนคร.องค์การค้าของคุรุสภา. <LI id=cite_note-24>^ ประวัติการประกอบพิธีมาฆบูชา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. เรียกข้อมูลเมื่อวันที่ 23-1-52 <LI id=cite_note-25>^ วันสำคัญของเรา, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2520, หน้า 6 <LI id=cite_note-26>^ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา. เว็บไซต์ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ (TKC:Thailand Knowledge Center). เรียกข้อมูลเมื่อ 23-1-52 <LI id=cite_note-27>^ เพศสัมพันธ์ วันเทศกาล ฮิต Poll ระบุ วันเสียตัวแห่งชาติ. สำนักพิมพ์ข่าวสด. เรียกข้อมูลวันที่ 24-1-52 <LI id=cite_note-28>^ ราชกิจจานุเบกษา, กระทู้ถามที่ ๑๒๑๙ ร. เรื่อง การกำหนดให้มีวันกตัญญูแผ่นดินในประเทศไทย ของ นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, เล่ม ๑๒๐, ตอนที่ ๑๑๒ ก, ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖, หน้า ๓๒
    2. ^
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ดร.อาจอง เตือน น้ำท่วมกรุงเทพแน่! ถ้าไม่กั้นอ่าวไทย

    http://hilight.kapook.com/view/33591


    [​IMG]


    คำเตือนจาก "ดร.อาจอง" ไม่สร้างเขื่อนกั้นอ่าวไทยต้องย้ายกทม.ใน 6 ปี (ประชาชาติธุรกิจ)

    ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ออกโรงเตือนวิกฤตโลกร้อน กทม.จะได้รับผลกระทบจากน้ำทะเลค่อยๆขึ้นสูง แนะถ้าไม่สร้างเขื่อนกั้นอ่าวไทย ต้องย้ายเมืองหลวงใน 6 ปี เหตุน้ำท่วมกรุงเทพฯ

    นอกจากบทบาทนักการศึกษาผู้ใจบุญ ทุกวันนี้ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ในวัย 69 ปี ยังเดินสายให้ความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนตามโรงเรียนและสถานศึกษาทั่วประเทศอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย

    ดร.อาจองอธิบายว่า ขณะนี้สภาพภูมิอากาศกำลังแปรปรวนจากสภาวะโลกร้อน ซึ่งอาจทำให้คนไทยได้เห็นหิมะตกแบบเดียวกับในประเทศเวียดนาม รวมถึงรอยร้าวของเปลือกโลกที่อาจทำให้แผ่นดินไหวใต้เขื่อนใหญ่ จะทำให้เกิดน้ำท่วมไหลเข้าถึงกรุงเทพฯภายใน 35 ชั่วโมง

    "...ขณะนี้สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับโลกคือ ดิน ฟ้า อากาศที่เปลี่ยนแปลง เราจะเห็นว่าประเทศไทยเราปีนี้อากาศเย็นลง ซึ่งก็เกิดขึ้นเพราะขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ร้อนขึ้นมาก และดูดเอาความร้อน น้ำแข็งละลาย ดังนั้นโดยเฉลี่ยอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นจริงๆ แต่ประเทศไทยโดยเฉลี่ยอุณหภูมิลดลง เพราะว่าไปร้อนที่อื่น แต่อย่างไรก็ตามโดยเฉลี่ยอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างน่ากลัว ประเทศไทยของเราเองก็หนีไม่พ้น ในที่สุดก็จะร้อนขึ้น"

    ดร.อาจอง กล่าวว่า เรื่องโลกร้อนที่จะส่งผลกระทบกับประเทศไทยโดยตรง มี 2 อย่างใหญ่ คือ ผลกระทบจากระดับน้ำทะเลที่จะค่อยๆ สูงขึ้น และการที่เปลือกโลกเริ่มเคลื่อนไหวจนเกิดรอยร้าว ซึ่งจะทำให้เกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยมากขึ้น นี่คือ 2 อย่างที่เราต้องเตรียมตัวให้ดี

    "เรื่องของน้ำทะเลที่สูงขึ้น ถ้าเราไม่สร้างเขื่อนกั้นตรงอ่าวไทย ก็ต้องคิดย้ายเมืองหลวงจากกรุงเทพฯไปที่อื่นภายใน 6 ปี เพราะอีก 15 ปีข้างหน้า น้ำจะเริ่มท่วมกรุงเทพฯ ฉะนั้นเราก็จะอยู่ไม่ได้ แต่การย้ายเราต้องวางแผนล่วงหน้าสัก 10 ปี ต้องวางแผนให้ดี เราจะสร้างเมืองใหม่ขึ้นมาอย่างไร ต้องมีการเตรียมตัวให้พร้อม และทำให้ดี"

    ส่วนเรื่องเปลือกโลกเคลื่อนตัวจะทำให้มีรอยเลื่อนเกิดขึ้นหลายจุด ตั้งแต่ภาคเหนือ ตั้งแต่ จ.แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย ลงมาถึงลำปาง อุตรดิตถ์ ส่วนทางด้านภาคตะวันตก ก็จะมี จ.ตราด และกาญจนบุรี ลงไปทางใต้ ก็ตั้งแต่ จ.ประจวบฯ ลงไปเรื่อยจนถึง จ.ภูเก็ต กระบี่ ก็จะเริ่มเกิดรอยร้าว

    กรมทรัพยากรธรณีได้ทำแผนที่ว่ารอยร้าวอยู่ตรงไหน ตรงไหนจะเกิดมากเกิดน้อย แต่รอยร้าวจะไม่สามารถทำอะไรเราได้มากมาย ถ้าหากเรารู้ว่าแผ่นดินไหวอาจจะเกิดขึ้น และมีการเตรียมตัวที่ดี เช่น ภาคเหนือ เราสามารถอยู่ได้ แต่ต้องสร้างบ้านให้แข็งแรงเท่านั้นเอง

    "ส่วนภาคกลางที่น้ำจะท่วม ผมคิดว่าน่าจะปกป้องเอาไว้แทนที่จะปล่อยให้ท่วม เพราะนี่คืออู่ข้าวของเราที่เราปลูกข้าวมากที่สุดในโลก ฉะนั้นยังไงก็ต้องสร้างเขื่อนกั้น ดร.สมิทธ ธรรมสโรช บอกว่า ต้องสร้างเขื่อนกลางทะเล ผมคิดว่าอาจจะลำบากและค่าใช้จ่ายสูง แต่ผมคิดว่าเราน่าจะสร้างรอบทะเลดีกว่า อาจจะโค้งหน่อยตามสภาพภูมิประเทศ แต่จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้ และสามารถป้องกันไม่ให้ภาคกลางไม่ให้น้ำท่วม ไม่ให้น้ำทะเลหนุนเข้ามาได้"

    "และประการสำคัญ หากเราไม่ป้องกันคือ สถานที่สำคัญในบ้านเมืองเราอาจจะหายไป เช่น วัดพระแก้ว หรือ จ.พระนครศรีอยุธยาซึ่งมีวัดจำนวนมาก ดังนั้นการสร้างเขื่อนจะสามารถป้องกันไม่ให้เราสูญเสียสิ่งสำคัญเหล่านี้ได้ แต่เราก็ต้องลงทุน ไม่ใช่รอจนกระทั่งสายเกินไป ซึ่งถ้าจะสร้างเขื่อนก็ต้องสร้างให้เสร็จภายใน 6 ปีนับจากนี้ ถ้าปล่อยให้น้ำเค็มเข้ามาถึงคลองประปาก็จะไม่มีน้ำจืดเหลือแล้ว"

    "อดีตนักวิทยาศาสตร์องค์การนาซ่าเตือนว่า สิ่งที่ดีที่สุดขณะนี้ก็คือต้องสร้างเขื่อนกั้นไว้ก่อน รัฐบาลต้องคิดและวางแผนตั้งแต่วันนี้ ต้องทำเป็นวาระแห่งชาติ และจะกลายเป็นสิ่งที่ดีถ้าเราพูดถึงภัยอันตรายส่วนรวมแล้ว มนุษย์ก็จะได้เลิกทะเลาะกันเสียที เพราะเรามีภัยธรรมชาติที่เป็นศัตรูร่วมกัน ถ้าไม่ป้องกันอย่างใดอย่างหนึ่ง กรุงเทพฯและภาคกลางหลายจังหวัดจมน้ำแน่นอน ฉะนั้นรัฐบาลต้องเร่งตัดสินใจ คนไทยไม่ว่าจะพวกเสื้อเหลืองและเสื้อแดงต้องเลิกทะเลาะกัน คนไทยต้องสามัคคีและปฏิบัติธรรมให้มากๆ"

    "ถ้าเราช่วยกัน เราก็จะอยู่ด้วยร่วมกันได้ และใช้เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย เราก็จะอยู่ได้ด้วยตัวของเราเอง ท่ามกลางวุ่นวายที่จะเกิดขึ้นในโลกอนาคตอันใกล้" ดร.อาจองกล่าวในตอนท้าย


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก ประชาชาติธุรกิจ
    [​IMG]
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
     
  14. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  15. katicat

    katicat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2008
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +524
    ลานจาตุรงคสันนิบาตที่แท้จริง เวลาเราหันหน้าเข้าหาพระพุทธรูป ลานดังกล่าวจะอยู่ทางขวามืออีกด้านหนึ่งของสระน้ำค่ะ จะเป็นที่โล่งว่างธรรมดาไม่มีอะไรเป็นที่สังเกตุเลย
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอบคุณครับ

    สำหรับท่านที่ไม่เคยไป น่าจะมีข้อมูลเวลาที่จะไป

    .
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไว้สัปดาห์หน้า ผมจะนำพระวังหน้า มามอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง

    รายละเอียดโปรดติดตามนะครับ

    งานสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ลุล่วงไปแล้วประมาณ 80 กว่าเปอร์เซ็น ยังขาดงบประมาณอีกประมาณ 1.5 ล้านบาท มาร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

    สำหรับบางพิมพ์ หากไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องทำบุญเยอะหน่อยนะครับ

    แจ้งให้ทราบล่วงหน้า โมทนาสาธุครับ

    หมายเหตุ 1 ผมไม่ถ่ายรูปพระพิมพ์ลงในเว็บครับ

    หมายเหตุ 2 หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชา เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไปครับ

    หมายเหตุ 3 ท่านใดจองและร่วมทำบุญก่อน มีสิทธิ์ได้ก่อน

    โดยท่านที่ร่วมทำบุญ ต้องสแกนหรือถ่ายรูปใบอนุโมทนาบัตรหรือสลิปการโอนเงินที่เป็นชื่อของท่านให้ผมทราบก่อน แล้วผมจะส่งพระพิมพ์ให้ ส่วนค่าจัดส่ง,ค่ากล่องและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ผมเป็นผู้จ่ายให้เองครับ
    ----------------------------------------------


    หมายเหตุ หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชานั้น เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องร่วมทำบุญและรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไป และเป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    หมายเหตุ 1 พระวังหน้า ที่ผมนำมามอบให้กับผู้ที่ทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ และผมได้บอกบุญในกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้ เป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    แต่หากจะนำไปเพื่อเป็นพุทธานุสติ และหรือการห้อยคอเพื่อคุ้มครองตนเอง และหรือการบูชาต่างๆ เพื่อเป็นการบูชาพระคุณองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุกสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ( การบูชาพระคุณพระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุธเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า เนื่องจากการนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกเพิ่มเติม) ,การบูชาพระคุณองค์พระมหากษัตริย์ไทยทุกๆพระองค์ ,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ,องค์อุปราชวังหน้า รัตนโกสินทร์ทุกๆพระองค์ และทั้งช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า ,วังหลวง ,วังหลัง ,ช่างราษฎร์ทุกๆท่านและเทพเทวาทั้ง 16 ชั้นฟ้าและที่อยู่ในองค์พระพิมพ์(พระเครื่อง)ครับ

    ซึ่งเรื่องที่ผมได้บอกนั้น เป็นความเชื่อ ,ความเห็นของผม รวมทั้งคณะของผม ซึ่งก็แล้วแต่ท่านผู้ร่วมทำบุญและท่านผู้อ่านทุกๆท่าน จะมีความคิดเห็นอย่างไร ก็สุดแล้วแต่ครับ

    โมทนาบุญทุกประการกับทุกๆท่านครับ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับพระวังหน้า ที่ผมจะนำมามอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญ จะมีทั้งพระพิมพ์ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร(อาจจะ 1 พระองค์หรือหลายพระองค์)อธิษฐานจิต และ/หรือ สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีอธิษฐานจิตครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  20. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,310
    อนุโมนาครับวันนี้ได้นอนกลับมาก็ได้นอนเพิ่งตื่น ไม่ทราบว่าถ้านอนดึกหลายๆวันจะเนไรไหมครับช่วงนี้นอนตี1แทบทุกวัน
     

แชร์หน้านี้

Loading...