พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"Ya & You" เหมืองข้อมูลยา ที่คุณอยากรู้ก่อนใช้
    http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000097073
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>20 สิงหาคม 2551 14:49 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>โฉมหน้าเว็บไซต์ Ya & You ให้ทุกคนสืบค้นได้เร็วไว และอุ่นใจทุกครั้งที่ใช้ยา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ya & you ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับยา แม้กระทั่งว่าข้อควรกระทำหากลืมกินยา (ภาพจาก เนคเทค)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ผศ.ดร.ภูรี อนันตโชติ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>อยากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับยาเมื่อไหร่ แค่คลิ๊กเข้าไปในเว็บไซต์ ya & you ก็จะได้รู้ทุกเรื่องเกี่ยวกับยา (ภาพจาก www.buckeyeinstitute.org)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เคยสังเกตไหมว่า เมื่อเราไม่สบาย และไปพบแพทย์ทีไร มักได้รับยาหลากหลายชนิดและรูปแบบ โดยที่เราไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับยาเหล่านั้นมากนัก หรือเคยสงสัยหรือไม่ว่า ยาที่เราเก็บไว้นาน จนตัวหนังสือบนฉลากเลือนรางไป แล้วเป็นยาอะไร? และยังรับประทานได้อยู่หรือไม่? แต่ก็ไม่รู้ว่าจะถามใครดี จากนี้แค่เพียงคลิ๊กเข้าไปในเว็บไซต์ "Ya & You" เราก็จะได้รู้ทุกเรื่องเกี่ยวกับยา

    การใช้ยาผิดประเภท หรือผิดขนาด อาจเป็นสาเหตุของการรักษาที่ไม่ได้ผล และยังก่อให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ซึ่งปัญหานี้อาจมีที่มาจากการที่แพทย์ หรือเภสัชกร มีเวลาจำกัดที่จะอธิบายข้อมูลของยาให้คนไข้ฟังอย่างละเอียด หรือผู้ป่วยเองไม่กล้าซักถามข้อสงสัยจากแพทย์ รวมถึงยาที่ผู้ป่วยได้รับ มักเป็นยาที่ถูกแบ่งมาจากยากระปุกใหญ่ของสถานพยายาลนั้นๆ จึงไม่มีเอกสารยาไว้สำหรับคนไข้ทุกคน

    เพื่อให้ปัญหาเหล่านี้น้อยลงหรือหมดไป มูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา (วพย.) จึงเกิดแนวความคิดที่จะสร้างฐานข้อมูลและระบบสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาและการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี จึงนำโจทย์นี้มาปรึกษาหารือร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) จนเกิดเป็นความร่วมมือกันพัฒนาเว็บไซต์ "Ya & You" หรือ "ยากับคุณ" (www.yaandyou.net) ภายใต้สโลแกนเก๋ไก๋ "สืบค้นไว อุ่นใจเมื่อใช้ยา

    ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพันธ์ความรู้ เนคเทค เล่าว่า โครงการวิจัยและพัฒนาเว็บไซต์ "Ya & You" มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งเพิ่งเริ่มโครงการเมื่อต้นปี 2551 โดยในช่วงปีแรก จะเน้นรวบรวมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา และการใช้ยาแผนปัจจุบัน

    ในปีที่ 2 จะเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อย เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน และข้อมูลของยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดต่างๆ

    เมื่อเข้าสู่ช่วงปีสุดท้าย จะพัฒนาให้ระบบสามารถสืบค้น และแสดงผลด้วยภาพและเสียง แทนการสืบค้นด้วยตัวหนังสือ สำหรับผู้พิการทางสายตาและหู รวมถึงเพิ่มเติมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งจำหน่ายยา และอุปกรณ์การรักษาพยาบาลที่หาซื้อได้ยาก เช่น รถเข็น เป็นต้น

    เว็บไซต์นี้พัฒนาขึ้น โดยการรวมเอาเทคโนโลยี 6 อย่าง ที่เนคเทคมีอยู่แล้ว มาผสมผสานเข้าด้วยกับ ได้แก่ เทคโนโลยีฐานข้อมูลและคลังข้อมูล สำหรับรวบรวม จัดเก็บข้อมูลต่างๆ ส่วนที่เหลือเป็นเทคโนโลยีสำหรับการค้นหาและการนำเสนอ ได้แก่

    เทคโนโลยีการสืบค้นแบบอัจฉริยะ (Intelligent Search) เช่น สืบค้นได้แม้สะกดคำค้นไม่ถูกต้องทั้งหมด 100% หรือสืบค้นจากรูปภาพยา ด้วยการถ่ายภาพยาที่ต้องการทราบข้อมูล แล้วอัพโหลดเข้าสู่ระบบสืบค้นในเว็บไซต์ รวมทั้งการสืบค้นด้วยการออกเสียงแทนการพิมพ์, เทคโนโลยีเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการวิเคราะห์และสร้างความสัมพันธ์ของยาในคลังข้อมูล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ยา,

    เทคโนโลยีการประมวลผลข้อความ ภาพ และเสียงพูด เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการเข้าถึงข้อมูลได้ของผู้พิการ, เทคโนโลยีในรูปแบบวิกิ (Wiki) และบล็อก (Blog) เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ สามารถเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ๆ ได้อยู่เสมอ และเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้แก่กัน ของแพทย์และเภสัชกร
    ขณะเดียวกันก็แบ่งปันความรู้ให้กับประชาชนด้วย และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตแม็ป (Internet Map) หรืออินเทอร์เน็ต จีไอเอส (Internet GIS) ใช้ในการแสดงผลการสืบค้นข้อมูลบนแผนที่หรือบนแผนผัง เช่น การแสดงตำแหน่งของร้านขายยาบางชนิดที่มีเพียงไม่กี่แห่งในประเทศไทย บนแผนที่ประเทศไทย

    "คล้ายกับในต่างประเทศ ที่มีการศึกษาวิจัยพฤติกรรมลูกค้าที่เข้ามาซื้อของในซูเปอร์มาร์เก็ต โดยการบันทึกข้อมูลลูกค้า เวลาที่เข้ามาจับจ่าย และประเภทของสินค้าที่ซื้อกลับไป ซึ่งก็พบว่าช่วงบ่ายของวันเสาร์-อาทิตย์ พ่อบ้านส่วนใหญ่ที่มาซื้อเบียร์ มักซื้อผ้าอ้อมสำเร็จรูปด้วย เจ้าของซูเปอร์มาเก็ตก็เลยอำนวยความสะดวกให้ลูกค้าด้วยการจัดวางเบียร์และผ้าอ้อมสำเร็จรูปไว้ใกล้กัน" ดร.จุฬารัตน์ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจน

    "ในส่วนของยา เมื่อเรามีเหมืองข้อมูลยา เราก็มาศึกษาวิเคราะห์หาว่าข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง และเราจะสามารถนำความสัมพันธ์นั้นมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง เราอาจค้นหาความสัมพันธ์ของยาแต่ละชนิดที่เราไม่เคยทราบมาก่อน เช่น คนที่เป็นหลายโรค ทั้งเบาหวาน ความดัน และโรคหัวใจ จะสามารถใช้ยาชนิดไหนได้บ้าง หรือเมื่อได้ยาตัวใหม่มา จะใช้ได้หรือไม่ อย่างไร ก็สามารถสืบค้นข้อมูลจากในเว็บไซต์ก่อนจะใช้ยานั้นได้" ดร.จุฬารัตน์ อธิบาย

    สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับยาที่นักวิจัยนำมาบรรจุไว้ในเว็บไซต์ ya & you นั้น ผศ.ดร.ภูรี อนันตโชติ กรรมการมูลนิธี วพย. บอกว่ารวบรวมข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ดรัก ไดเจสต์ (Drug Digest) และ เมดไลน์ พลัส (Medline Plus) ซึ่งเป็นเว็บไซต์ฐานข้อมูลเกี่ยวกับยาของสหรัฐอเมริกาที่มีความน่าเชื่อถือค่อนข้างมาก ซึ่งทำขึ้นเพื่อให้ผู้บริโภคใช้เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลการใช้ยาเช่นเดียวกัน

    "ทีมงานจะต้องตรวจสอบข้อมูลยาให้ตรงกันทั้ง 2 เว็บไซต์ และแปลเป็นภาษาไทย โดยจะมีเภสัชกรที่มีความเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องโดยละเอียดอีกทีหนึ่ง แต่หากข้อูมูลของ 2 เว็บไซต์ดังกล่าวไม่ตรงกัน ก็ต้องหาข้อมูลจากแหล่งอื่นเพิ่มเติมเพื่อยืนยันความถูกต้อง โดยขณะนี้รวบรวมข้อมูลของยาแผนปัจจุบันได้แล้วกว่า 10,000 ตำรับ จากทั้งหมดที่มีอยู่ในสถิติของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กว่า 30,000 ตำรับ" ผศ.ดร.ภูรี อธิบาย

    การแสดงผลการค้นหาข้อมูลของยาที่ต้องการทราบ จะประกอบด้วย ชื่อสามัญ ชื่อการค้า ประเภทหรือรูปแบบของยา ข้อบ่งใช้ยา วิธีใช้ยา อาการข้างเคียงจากการใช้ยา ซึ่งแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ อาการทั่วไป เช่น ปวดศีรษะ หน้าแดง และอาการที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งอาการข้างเคียงระดับนี้จะแสดงให้เห็นด้วยตัวอักษรสีแดงอย่างชัดเจน รวมถึงข้อมูลการเก็บรักษายา สิ่งที่ควรแจ้งแพทย์และเภสัชกรรับทราบ และควรทำอย่างไรหากลืมรับประทานยา

    เว็บไซต์ ya & you จัดว่าเป็นเครื่องมือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่จะได้รับรู้ข้อมูลใหม่ๆ ของยาได้ไม่ยาก และให้ข้อมูลแก่ประชาชนก่อนตัดสินใจซื้อยาใช้เอง แต่อย่างไรก็ดี ผศ.ดร.ภูรี ชี้แจงว่า การจัดทำเว็บไซต์ให้ข้อมูลยา ไม่ได้มุ่งหมายส่งเสริมให้ประชาชนซื้อยากินเอง ทั้งยังระบุไว้ชัดเจนในเว็บไซต์ด้วยว่าควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนจะใช้ยาทุกชนิด เพียงแต่ยังมีประชาชนบางส่วนที่มักซื้อยากินเอง จึงหวังว่าเว็บไซต์นี้จะให้ข้อมูลประชาชนก่อนที่จะตัดสินใจชื้อยาใดๆ

    ดร.จุฬารัตน์ บอกเพิ่มเติมอีกว่า เนื่องจากต้องมีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จึงจะใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์นี้ได้โดยตรง แต่อย่างไรก็ตาม ทางโครงการมีนโยบายจะเผยแพร่ความรู้เรื่องยาให้แก่หน่วยงานด้านสาธารณสุขระดับชุมชนในท้องถิ่นต่างๆ โดยตรงด้วย เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับยากันอย่างทั่วถึง และสำหรับเว็บไซต์ ya & you คาดว่าน่าจะเริ่มเปิดให้บริการได้ในช่วงปลายปีนี้.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    สมเด็จกังใสคราบกรุขึ้นสวยมาก...ส่วนพระลอยองค์ได้มานานเหมือนกันนำไปล้างแล้ว วางนานเป็นเดือนก็ยังไม่ดำ...ใครผ่านไปผ่านมาก็รีบแสวงหานะครับอย่ามัวแต่มีทิฏฐิว่ามันเป็นการสร้างเรื่องของพวกมือผีเอย พวกแสวงหาผลประโยชน์เอย ขืนชักช้าวันหน้าคงต้องเสียใจว่า ตูไม่น่าเลย มัวแต่มาเสียเวลาโพสแย้งเขาร่ำไป แทนที่เอาเวลาไปแสวงหาจะได้พระสวยๆราคาเบาๆ(อย่าลืมไปทำบุญด้วยล่ะเดี๋ยวโดนว่าอีก)...เพราะยิ่งช้าวาสนายิ่งลดลง(เพราะจะหายากขึ้นเรื่อยๆ)...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 สิงหาคม 2008
  3. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่ ไครรู้ช่วยตอบที อิอิ

    เป้นพระสมเด้จพิมพ์ใหญ่ครับแต่ไม่ทราบว่าวัดไหนพิมพ์นี้เนื้อนี้ท่านไดมีบ้างถ้ารู้ช่วยแนะนำด้วยครับว่าวัดไหน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • A1.JPG
      A1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      165.6 KB
      เปิดดู:
      157
    • A2.JPG
      A2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      171.5 KB
      เปิดดู:
      342
    • A3.JPG
      A3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      157.8 KB
      เปิดดู:
      274
    • A4.JPG
      A4.JPG
      ขนาดไฟล์:
      155.5 KB
      เปิดดู:
      91
    • A5.JPG
      A5.JPG
      ขนาดไฟล์:
      158.7 KB
      เปิดดู:
      121
    • A6.JPG
      A6.JPG
      ขนาดไฟล์:
      152.7 KB
      เปิดดู:
      106
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  7. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    องค์นี้มีคนหลังไมค์มาถามหลายอยู่...ได้มาเพราะบังเอิญไปเจอตำรวจนายหนึ่งท่านเป็นสารวัตรหรือผกก.นี่แหละผมก็ลืมไปแล้ว ท่านแนะผมว่าไอ้น้องอย่ามัวโอ้เอ้ของพี่ก็มีอยู่องค์หนึ่ง ว่าแล้วเขาก็ควักมาโชว์ให้ดู...ผมเลยตัดสินใจเลย...เลยนำมาลงให้ดูอีกรอบครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ด้วยเจตนาดี ผู้ที่มีพระวังหน้าทุกๆคน

    เราเองไม่ทราบว่า เงินที่ได้นำมาสร้างพระวังหน้า ,พระวังหลวง ,พระวังหลัง หรือแม้กระทั่งตามวัดต่างๆเช่น วัดระฆัง ,วัดบางขุนพรหม ฯลฯ

    เงินนั้นเป็นเงินในท้องพระคลังมหาสมบัติ(วังหลวง) หรือเงินในท้องพระคลัง(วังหน้า) หรือไม่

    หรือเป็นเงินส่วนพระองค์ของหลวงปู่กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

    หรือเงินส่วนตัวของขุนนางชั้นผู้ใหญ่ หรือไม่ นี่เป็นเรื่องของทรัพย์แผ่นดิน

    การสร้างขึ้นหากนำไปถวายเป็นกฐินหลวง นี่จะเบิ้ลเข้าไป รวมเรื่องหนี้สงฆ์ด้วย

    หากทำไว้จะปลอดภัยกับตนเอง หากไม่ได้รับพระพิมพ์และวัตถุมงคลต่างๆ(ของวังหน้า ,วังหลวง ,วังหลัง และวัดต่างๆทั้งในและรอบพระนคร) ที่มาจากการทำบุญครับ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 19 คน ( เป็นสมาชิก 6 คน และ บุคคลทั่วไป 13 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, เชน, littlelucky+, nanodent, nongnooo+, ลีลาวดี </TD></TR></TBODY></TABLE>

    คลับคล้ายคลับคลาว่า เคยเห็น เคยจับต้อง ไม่แน่ใจเหมือนกัน หุหุหุ
     
  10. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เป็นพิมพ์อารายครับ ดูสวยดีครับ เนื้อผงบุทอง อ่ะเปล่าครับ หุ หุ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เนื้อเป็นทองคำครับ (แต่ขอไม่แจ้งน้ำหนัก)
    ไม่รู้ว่าของใคร กะว่าจะไปดักตีหัวขโมยพระซะหน่อย ยอมผิดศีล 2 ข้อ เหอๆๆๆๆๆ

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การบูชาพระธาตุ

    พระบรมสารีริกธาตุ นั้นถือว่าเป็นปูชนียวัตถุที่ทรงด้วยคุณค่า ทั้งทางด้านประวิติศาสตร์ และศาสนา ทั้งยังเป็นสิ่งที่สูงค่า ควรแก่การเคารพบูชาอย่างสูงสุด หากท่านผู้ใดมี หรือเก็บรักษาไว้ ขอให้ท่านจงเก็บรักษาและบูชาด้วยความเคารพ เนื่องจากพระบรมสารีริกธาตุนั้นหาได้ยาก และยังเป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดในไตรภพที่มนุษย์และเทวดาพึงสักการะ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    การจะบูชาพระบรมสารีริกธาตุนั้นก่อนอื่นต้องชำระล้างร่างกาย ทำจิตใจ ให้สะอาดผ่องใส จัดหาดอกมะลิใส่ภาชนะบูชา ตั้งสักการะ ณ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ แล้วจุดธูปและเทียน ตั้งใจให้เป็นสมาธิ กราบ 3 ครั้ง แล้วจึงตั้งนะโม 3 จบ กล่าวคำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    คำกล่าวบูชาพระบรมสารีริกธาตุ มีอยู่มากมายทั้งภาษาบาลี และภาษาไทย แต่ที่พบเห็นกันอยู่โดยทั่วไป และกระทำได้โดยง่ายนั้นคือ

    คำกล่าวพรรณนาพระบรมสารีริกธาตุ


    " อะหัง วันทามิ ทูระโต

    อะหัง วันทามิ ธาตุโย
    อะหัง วันทามิ สัพพะโส "


    * คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ก็สามารถนำมาใช้กล่าวบูชาได้เช่นกัน *


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    การบูชาพระธาตุนั้น นอกเหนือจากการบูชาด้วย " อามิสบูชา " เช่น การบูชาด้วยดอกไม้ ธูปเทียน และ เครื่องหอมต่างๆแล้ว การบูชาด้วยการ " ปฏิบัติบูชา " ซึ่งเป็นวิธีที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เป็นอีกวิธีการหนึ่ง ที่นิยมปฏิบัติควบคู่ไปด้วย ในการบูชาซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุทั้งหลาย โดยทั่วไปนิยมปฏิบัติตามแนวอริยมรรค 8 ประการ สรุปโดยย่อได้แก่

    1. การบูชาด้วยศีล ซึ่งศีลเป็นพื้นฐานและเป็นที่ตั้งมั่นแห่งการทำความดี เป็นเกราะป้องกันความชั่วทั้งปวง ไม่ทำให้จิตใจเศร้าหมอง ทำให้เกิดความพร้อมต่อการปฏิบัติสมาธิ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ)

    2. การบูชาด้วยสมาธิ ซึ่งการสวดมนต์ภาวนา นั่งสมาธิ ดูลมหายใจเข้า-ออก เป็นการฝึกความเข้มแข็งของจิต ให้มีกำลังในการพิจารณาหลักธรรมต่างๆได้ตามความเป็นจริง (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ)

    3. การบูชาด้วยปัญญา คือการใช้ปัญญาพิจารณาหลักความเป็นจริง ตามหลักไตรลักษณ์ (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)



    <TABLE borderColor=#666666 cellSpacing=1 cellPadding=10 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f2f2f2>นอกจากนี้ การบูชาพระธาตุยังได้ประโยชน์ ในด้านเป็นอนุสติอีกด้วย ดังนี้คือ

    พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า (พระบรมสารีริกธาตุ)
    ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม (ธรรมที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ (พระสงฆ์สาวกธาตุ)
    สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน (ศีลที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา (เทวดารักษาพระธาตุ)
    อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน (แดนพระนิพพานที่พระอริยเจ้าได้ก้าวล่วง)
    มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน (แม้พระอริยเจ้าก็ต้องตาย)
    กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด (เมื่อตายแล้วก็เหลือเพียงกระดูก)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <HR width="35%" noShade>
    วิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ


    สำหรับบ้านที่มีพระบรมสารีริกธาตุไว้บูชาอยู่แล้วคงจะทราบดี เป็นที่น่าแปลกคือ พระบรมสารีริกธาตุนั้น สามารถเพิ่ม หรือลดจำนวนได้เอง โดยสามารถเสด็จไปไหนมาไหนเองก็ได้ แม้ว่าจะเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิทดีสักเท่าใดก็ตาม โดยเชื่อกันว่าหากไม่ดูแลรักษาเอาใจใส่ ประดิษฐานไว้ในที่ไม่สมควร หรือขาดการถวายความเคารพแล้ว พระบรมสารีริกธาตุอาจเสด็จหายจากสถานที่นั้นๆก็เป็นได้ โดยทางตรงกันข้าม หากได้รับการปฏิบัติบูชาดี ผู้สักการบูชา มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ อยู่ในศีลธรรม พระบรมสารีริกธาตุก็อาจเพิ่มจำนวนได้เช่นกัน


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีอัญเชิญโดยทั่วๆไปมีดังนี้

    1. จัดที่บูชาให้สะอาด
    2. ตั้งพานมะลิบูชา (ถ้ามี)
    3. นำน้ำสะอาดใส่ขันสัมฤทธิ์ตั้งไว้หน้าที่บูชา (ตามวิธีโบราณ)
    4. ชำระล้างร่างกายให้สะอาด
    5. ทำจิตใจให้ปลอดโปร่ง มีสมาธิ
    6. สมาทานศีล
    7. ระลึกถึงพระพุทธคุณ (ตั้งนะโม 3 จบ แล้วสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ อิติปิโสฯ)
    8. สวดคาถาอัญเชิญพระธาตุ ดังนี้


    " อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต "


    <CENTER>หรือ </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>" อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ " </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    * การเสด็จมาอาจมีด้วยกันหลายวิธี เช่น เสด็จมาเอง มีผู้มอบให้ แบ่งองค์ ฯลฯ

    <CENTER></CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา
    http://www2.se-ed.net/buddha-relics/page6.htm

    ผู้โพส malila
    http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2163

    -----------------------------------------

    บทกล่าวอัญเชิญและบูชาพระธาตุ แบบต่างๆ

    --------------------------------------------------------------------------------
    บทบูชาพระธาตุ บทสวดเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ/หรือ พระธาตุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายบท มีทั้งบทบาลี บทภาษาไทย หรือ ทั้งบาลีและแปลควบคู่กันไป แต่ละที่ก็แตกต่างกัน เท่าที่พอจะรวบรวมและพิมพ์ได้มีดังนี้ คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง) อิติปิ โส ภะคะวา, นะมามิหัง ตัง ภะคะวันตัง, ปะระมะสารีริกธาตุยา สัทธิง, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สุตถา เทวะ มะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวาติ.

    บทสวดบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง
    พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ
    คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์
    สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง
    เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น
    อะหังวันทามิธาตุโย
    ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย
    อะหังวันทามิสัพพะโส
    ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง
    อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา
    ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ

    วันทาหลวง(ย่อ)
    วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธา-ตุ มหาโพธิง
    พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก เทวะโลเกพรัหมะโลเก ชัมพูทีเปลังกาทีเป
    สะรีระธา-ตุ โย เกสา ธา-ตุ โย อะระหันตะ ธา-ตุ โย เจติยัง คันธะกุฏิง
    จะตุราสี ติสสะหัสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหัง วันทามิ สัพพะโสฯ

    คำบูชาพระธาตุในจักรวาลทั้งหลาย
    จัตตาฬิส สะมาทันตา เกสา โลมา นะขา ปีจะ
    เทวา หะรันติ เอเตกัง จักกะวาฬะ กัง ปะรัมปะรา
    ปูชิตา นะระเทเวหิ อะหัง วันทามิ ธา-ตุ โยฯ
    คำบูชาพระธาตุแบบไม่จำเพาะเจาะจง
    อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    ถ้าประสงค์จะบูชาพระธาตุแบบเจาะจงให้นำฉายาของท่านวางหน้าคำว่า"ธาตุโย"เช่น

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อะหัง วันทามิ สารีริกะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุพระสิวลี
    อะหัง วันทามิ สิวลีธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    อะหัง วันทามิ ภูริทัตตะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบยาว
    อะเน กะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะ เนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปะโมเจถะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยังยัง ตังตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิมหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิ มะหันตา ภินนะมุคคา จะมัชฌิมา ภินนะฑัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเส เม ปะตันตุฯ

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปตราบเท่าชีวิต ข้าฯขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ขออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุที่สถิตอยู่ทั่วทุกหนแห่ง ขนาดใหญ่เท่าเมล็ดถั่วหัก แก้วมุกดา ขนาดกลางเท่าเมล็ดข้าวสารหัก และขนาดเล็กเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด จงเสด็จตกลงเบื้องบนประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้าของข้าฯในที่ทุกสถาน เทอญฯ

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบย่อ
    นับตั้งแต่นี้ จนสิ้นชีวิต พลีชีพอุทิศ พระรัตนตรัย ขอพระบรมธาตุ สถิตทั่งไกล คุ้มครองผองภัย สู่เศียรข้าฯเทอญฯ
    อารัมภกถา คัมภีร์ถูปวงศ์ - ตำนานว่าด้วยการสร้างพระเจดีย์ (แต่งโดย พระวาจิสสรเถระ ภิกษุชาวลังกา)
    ยัสมิง สยิงสุ ชินธาตุวรา สมันตา ฉัพพัณณรังสิวิสเรหิ สมุชชะลันตา ตัสสะ โลกะหิตะ เหตุ ชินนัสสะ ถูปัง ตัง ถูปะมัพภุตตะมัง สิรสา นมิตตะวา
    พระบรมธาตุอันประเสริฐ ทั้งหลายของพระพุทธเจ้ารุ่งเรืองอยู่โดยรอบด้วยถ่องแถวแห่งพระรัศมี 6 ประการประดิษฐานอยู่ ณ พระสถูปเจดีย์องค์ใด ข้าพเจ้าขอน้อมบูชา พระสถูปอันบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเป็นเหตุให้เกิดประโยชน์แก่โลก อันน่าอัศจรรย์ยิ่งนั้น ด้วยเศียรเกล้า

    คำไหว้พระจุฬามณีเจดีย์
    นะโม 3 จบ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯ จะไหว้พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ

    นะโม ข้าฯจะไหว้พระธรรมเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯจะไหว้พระสังฆเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้วพระจุฬามณี เจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโนติ

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    ปูชิตา นะระเทเวหิ, สัพพัฏฐาเน ปะติฎฐิตา,
    สิระสา อาทะเรเนวะ, อะหัง วันทามิ ธาตุโย,
    โย โทโส โมหะจิตเตนะ, วัตถุตตะเย กะโต มะยา,
    โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สัพพะปาปัง วินัสสะตุ,
    ธาตุโย วันทะมาเนนะ*, ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
    สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสาฯ
    (* ถ้าผู้สวดเป็นหญิง เปลี่ยนคำว่า วันทะมาเนนะ เป็น วันทะมานายะ)

    ..........ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้านมัสการ พระบรมสารีริกธาตุ แห่งองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานในที่ทุกสถาน ด้วยเศียรเกล้า
    ..........แม้บาปทั้งปวง ที่เคยล่วงเกินด้วยใหลหลง ข้าพระองค์ขอขมาโทษ ได้ทรงโปรดงดโทษนั้น ให้มีอันวินาศสิ้นสูญไป
    ..........ด้วยเดชะกุศลผลบุญ ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้น้อมเกล้านมัสการพระบรมสารีริกธาตุในกาลครั้งนี้ แม้สรรพอันตรายทั้งปวง จงอย่างได้บังเกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ.

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง)
    อะหัง วันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย
    ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.
    ข้าพเจ้าขอนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสบแต่ความสุขสวัสดี ตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ

    คำไหว้พระธาตุ
    ยาปาตุภูตา อะตุลา
    นุภาวาจีรัง ปะติฏฐา
    สัมภะกัปปะ ปุเรเทเวนะ
    ตุตตา อุตตะราภีทับยานะมานิ
    หันตัง วะระชินะธาตุง

    คำนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ .
    .........อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอยอกรบวรวันทนา ประนมนิ้วหัตถาขึ้นเหนือเศียร ต่างรัตนประทีปธูปเทียนแก้วเจ็ดประการ แลโกสุมสุมามาลย์ประทุมชาติอันโชติช่วงช่อชั้นวิจิตร แจ่มจำรัสสุนทโรภาส ด้วยเมื่อองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถศาสดาจารย์ญาณสัพพัญญูบรมครูเจ้า เสด็จเข้าสู่พระปรินิพพาน พระองค์ทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้ สิริพระบรมธาตุทั้งหลายน้อยใหญ่ตวงได้สิบหกทะนานทอง พระรากขวัญทั้งสองพระเขี้ยวแก้วสี่ กับพระศรีอุณหิศหนึ่ง นับรวมกันได้ครบเป็นเจ็ดองค์ นี้แลคงตามสภาวะเดิม อันจะแหลกลาญด้วยเพลิงสังหารนั้นหามิได้ แต่พระอัฐิน้อยใหญ่ทั้งหลายนั้นไซร้พลันเพลิงไหม้สังหารละเอียดลง ยังคงแต่พระบรมสารีริกธาตุสามสถาน ใหญ่น้อยปานกลางมีประมาณต่างกันพระบรมธาตุขนาดใหญ่นั้น มีประมาณเท่าเมล็ดถั่วหักตักตวงได้ห้าทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานประมาณแม้นเหมือนหนึ่งพรรณทองอุไร พระบรมธาตุขนาดกลางนั้นไซร้ มีประมาณเท่าเมล็ดข้าวสารหัก ตักตวงได้ห้าทะนานทรงพระบวรสัณฐานประมาณเหมือนพรรณแววแก้วผลึกอันเลื่อนลอย พระบรมธาตุขนาดน้อยประมาณแม้นเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาดตวงได้หกทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานดังพรรณ สีดอกบุปผชาติพิกุลอดุลย์ใสสี พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ หมู่มนุษย์และเทวะนิกรอมรอินทร์พรหมภิรมย์ พากันเชิญเสด็จไปประดิษฐานรักษาไว้ พระบรมธาตุองค์ใหญ่ คือ พระรากขวัญซ้าย สถิตอยู่ชั้นพรหมา พระรากขวัญเบื้องขวากับพระนลาตะอุณหิศ เสด็จสถิตอยู่เมืองอนุราชสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องบน อยู่ดาวดึงษาสวรรค์ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องล่างนั้น สถิตอยู่เกาะแก้วลังกาสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องบนอยู่เมืองคันธาระวิไสย พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องล่างนั้นไซร้ สถิตอยู่เมืองนาคสถาน แต่พระบรมสารีริกธาตุทั้งสิบหกทะนานนั้น ประดิษฐานไว้ในแผ่นพื้นภูมิภาคแห่งพระนครทั้งแปด คือ เมืองราชคฤหบุรี เมืองเวสาลีสวัสดิ์ เมืองกบิลพัสดุ์มหานคร เมืองอัลปะกะบุรีรมย์ แลบ้านพราหมณ์นิคมเขต เมืองเทวะทะหะประเทศ เมืองปาวายะบุรินทร์ และเมืองโกสินรายน์ พระเกศา โลมา นะขา ทันตา ทั้งหลาย เรี่ยรายประดิษฐานอยู่ทุกทิศทั่วทั้งจักรวาล ฝ่ายพระพุทธบริขารคือ บาตรแลจีวรท่อนผ้าสันถัตรัดประคดใน สมุกเหล็กไฟกล่องเข็มผ้ากรองน้ำธะมะการก วัสสิกะสาฏก ผ้าชุบสรง หนังนิสิทน์มีดโกนตลกบาตรเครื่องลาด แท่นพระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาทธาตุบริขารทั้งหลายนี้ องค์ขัติยาธิบดีพราหมณ์มหาศาลผู้เลื่อมใสกมลมาล ประกอบไปด้วยศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ได้อัญเชิญพระบรมธาตุบริขารสิบหกสิ่งนี้ไปประดิษฐานไว้ทั้งสิบเมือง ต่างกระทำสักการบูชารุ่งเรืองเห็นปรากฏ
    ..........
     
  13. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    [​IMG]

    พระสมเด็จองค์นี้ ของใครเอ่ย มารับสารภาพซะดีๆ หุหุหุ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 19 คน ( เป็นสมาชิก 6 คน และ บุคคลทั่วไป 13 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, เชน, littlelucky+, nanodent, nongnooo+, ลีลาวดี </TD></TR></TBODY></TABLE>

    คลับคล้ายคลับคลาว่า เคยเห็น เคยจับต้อง ไม่แน่ใจเหมือนกัน หุหุหุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    เป็นพิมพ์อารายครับ ดูสวยดีครับ เนื้อผงบุทอง อ่ะเปล่าครับ หุ หุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เนื้อเป็นทองคำครับ (แต่ขอไม่แจ้งน้ำหนัก)
    ไม่รู้ว่าของใคร กะว่าจะไปดักตีหัวขโมยพระซะหน่อย ยอมผิดศีล 2 ข้อ เหอๆๆๆๆๆ

    ม่ายทราบว่าถ้าเปรียบเทียบกับสมเด็จอัศนี นี่พอสูสีมั้ยครับ ไม่ทราบยังพอมีให้บูชาอยู่รึเปล่าครับ คิกๆๆๆๆ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  14. ทองอ้วน

    ทองอ้วน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +135
    โอ..ไม่อยากเชื่อเลยครับ ว่ามีสมเด็จวัดระฆังเนื้อทองคำด้วยนะเนี๊ย (ping)
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เนื้อคนละเนื้อครับ
    ผมกำลังตามหาเจ้าขององค์นี้อยู่เลย ไม่รู้ว่าใคร อย่าให้รู้ตัวน๊ะว่าใคร จะตามไปถึงบ้าน เหอๆๆๆๆ

    .
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สร้างขึ้นเฉพาะพระราชวงศ์ และขุนนางชั้นสูงมากๆ

    มีทั้งที่ทันสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และไม่ทัน

    ส่วนที่ไม่ทันก็มีทั้งก่อน ปี พ.ศ.2428 (ช่วงปี พ.ศ.2415-2428

    และ หลัง ปี พ.ศ.2428 (ช่วงปี พ.ศ.2428-2451) ครับ

    .
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม

    [​IMG]
    (ผมผู้ถ่ายรูปมา)

    [​IMG][​IMG]
    (คุณเพชร ผู้ถ่ายรูป)

    ส่วนบริเวณหน้าอก (เช่น ปอด ,หัวใจ ฯลฯ)

    ผมเชื่อว่า มีคนเคยได้เห็นน้อยมากครับ

    [​IMG]

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ (พระเสโทธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม

    แต่สันฐานในลักษณะพระเสโทธาตุ สามารถพบเห็นได้ทั่วไป

    กราบ กราบ กราบ กราบ กราบ
    sithiphong

    ในการนัดพบครั้งต่อไป ผมจะอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ (พระเสโทธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม ไปมอบให้กับทุกๆท่านที่ไปพบกัน แต่จะเป็นส่วนไหนนั้น ผมจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งครับ
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ดูเผินๆจะคิดว่าปลาจาระเม็ด รูปร่างคล้ายกันมาก
    [​IMG][​IMG]

    นี่ครับ เวลานำมานึ่งบ๊วย..ที่ตลาดมหาชัย มีร้านอาหารชื่ออิ่มทิพย์อาหารทะเล เปิดมากว่า 20 ปี อร่อยมาก ไปสมุทรสาครทีไร ก็จะแวะทานปลาเต๋าเต้ยกัน...
    [​IMG]
     
  19. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่ะส่วนผมไปทานร้านอาหารบ้านคลองคุ ทอดน้ำปลาหรือกระเทียม กับกุ้งทอดกระเทียม หุ หุ ไปทานกัน 2คน ซัดไปซะ สองพันกว่าบาทครับ...
     
  20. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    อะไรกันนี่ ไปๆมาๆ ผมไม่เคยทานอยู่คนเดียว ไม่ได้ละครับ เห็นแล้วอยากจะทานมั่งจริงๆ
    ไว้วันหลังต้องชวนแฟน พาคุณพ่อคุณแม่ไปทานกันเสียหน่อยละครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...