ติดตามสถานะการณ์

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สุกิจSukit, 8 มิถุนายน 2013.

  1. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    04.11.20

    ใก้ลจะถึง เทศกาล ที่ ขาช็อป ชื่นชอบกันแล้วนะคะ นั่นคือ Black Friday (ในนอร์เวย์ จะเป็น Black week ค่ะ)

    ✨Black Friday ปีนี้ตรงกับ วันที่ 27.11.20

    1.เทศกาล ลดราคาสินค้าครั้งยิ่งใหญ่ประจำปี ในปีนี้ Posten และ Viker ทำนายว่า จะมีการทำลายสถิติการจับจ่ายซื้อของในช่วงนี้ และ พวกเขาคาดว่าจะได้เห็น การส่งแพ็คเกจ มากมายแบบที่พวกเขาไม่เคยเห็นมาก่อน ยาวไปจนถึง เทศกาลคริสต์มาส อีกด้วย

    2.จากรายงานประจำไตรมาสที่ 2 ของ Posten ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันพุธที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า เนื่องจาก การระบาด ทำให้ผู้คนนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นานขึ้นเพื่อสั่งซื้อสินค้ามากกว่าจะไปซื้อที่ร้าน ปีนี้ ยอดการซื้อของออนไลน์ เพิ่มขึ้น 42 % เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2019

    3.มีการพัฒนาใหม่ๆของ ร้านค้า ด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ร้านค้า ที่ต้องปิด เนื่องจากการะบาด หันมาทำ การตลาดแบบออนไลน์ มากยิ่งขึ้น ทำให้เกิดการหมุนเวียนของการ ซื้อสินค้าออนไลน์ และมี กลุ่มลูกค้าใหม่ๆ ที่ ซื้อของ จาก ร้านค้าออนไลน์ ที่สามารถซื้อหาได้ง่าย และ มีบริการจัดส่งถึงบ้าน

    4.Harald Jachwitz Andersen ผู้อำนวยการ Virke Handel กล่าวว่า ทุกๆปี Virke จะมีการประมาณการว่า พวกเราแต่ละคนจะใช้จ่ายไปกับอาหารคริสต์มาส /ของประดับตกแต่ง และ ของขวัญเป็นจำนวนเท่าใด เมื่อปีที่แล้วตัวเลขเฉลี่ยนต่อคนอยู่ที่ 10,850 Kr แต่ปีนี้ คาดว่าจะสูงกว่านี้มาก เนื่องจาก เราใช้เงินน้อยลง ในการ ไปกินข้าวที่ ร้านอาหาร/โรงภาพยนตร์/คอนเสิร์ต ฯลฯ และ เราไม่ได้เดินทาง ไปต่างประเทศ รวมถึง ไม่ได้ข้ามพรมแดนไปซื้อสินค้า ทั้งหมดนี้ คือเหตุผลที่เรามี เงินเหลือพอ ที่จะมาซื้อของมากขึ้นได้

    5.ในปีนี้มีศูนย์การค้าหลายแห่งในนอร์เวย์ ที่ตัดสินใจยกเลิก Black Friday เนื่องจากสถานการณ์การระบาด แม้ว่า Black Friday จะถูกยกเลิกในหลายแห่งในปีนี้ แต่ ผอ. ของ Virke Handel เชื่อว่า จะมีข้อเสนอใหม่ ในช่วงเวลาที่ยาวนานกว่าเดิม เช่น จาก Black week อาจกลายเป็น Black month เพื่อให้ผู้คนได้มีเวลา เลือกซื้อของมากขึ้น โดยที่ไม่ต้องแย่งกัน และ ข้อเสนอที่ดีจำนวนมาก จะถูก เพิ่มขึ้นมาใน ร้านค้าออนไลน์

    6.ตามตัวเลขล่าสุดจาก สำนักงานสถิตินอร์เวย์ (SSB) อุตสาหกรรมเสื้อผ้า และ เครื่องสำอาง มีช่วงเวลาที่ยากลำบาก ยอดขายเสื้อผ้า ใน ประเทศนอร์เวย์ ลดลงถึง 9.4 % เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันกับเมื่อปีที่แล้ว สำหรับ อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง ลดลงร้อยละ 12.2 % และ ธุรกิจที่มีสถานการณ์เลวร้ายที่สุด คือ การขายรองเท้า ซึ่งลดลงมากถึง 19.5 %
    .
    อ่านรวมข่าว และ มาตรการโคโรน่าต่างๆของ ประเทศนอร์เวย์
    http://norgetiltak.blogspot.com/

    อ่าน นอร์เวย์สไตล์วาไรตี้
    https://www.blockdit.com/norwaystyle

    #นอร์เวย์ #ข่าวนอร์เวย์ #norway #รายงานข่าวประจำวัน
    .
    แปลภาษาไทยโดย Facebook เรื่องแปล - ข่าวนอร์เวย์
    https://www.facebook.com/whatisgoingoninnorway

    ผู้ทำข่าวต้นฉบับ :
    KAREN SETTEN

    ข่าวต้นฉบับ Tv2 :
    https://www.tv2.no/nyheter/11739199

     
  2. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Herd immunity ภาคสี่ the unfinished story
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 01/11/20

    Herd immunity ภูมิคุ้มกันหมู่ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในวงนักวิชาการ นักการเมือง เมื่อมีกลุ่มนักวิชาการ epidemiologist สองกลุ่มที่ล้วนมาจากสถาบันที่มีชื่อเสียง แต่มีความเห็นไปคนละทางในการได้มาซึ้งภูมิคุ้มกันด้วย Herd immunity

    กลุ่มแรกประกอบด้วยนักวิชาการจากสถาบันที่มีชื่อเสียงเริ่มจากนัก Epidemiologist 3 สถาบัน Oxford , Stanfordและ Harvard มีนักวิชาการ 2,500 คนร่วมลงนาม Great Barrington Declaration ในวันที่ 4 ตุลาคม ที่เมือง Barrington รัฐ Massachusetts คัดค้านการ lockdowns และเห็นด้วยกับการใช้ herd immunity

    Drฺ Bhattacharya และDr. Kulkdorf นัก Epidemology จาก Stanfordและ Harvard ซึ้งอยู่ในกลุ่มที่สนับสนุน herd immunity ได้ให้สัมภาษณ์ว่าขณะนี้เรื่อง herd immunity ในอเมริกาเป็นเรื่องการเมืองไปแล้ว แทนที่จะเป็นเรื่องวิชาการอย่างเดียว เพราะเมื่อมีการชุมนุมของ black lives matter นัก Epidemologist 1,300 คนร่วมลงนามว่าการชุมนุมเป็น good public health practice แต่นักวิชาการกลุ่มเดียวกันกลับมาคัดค้าน herd immunity

    นักวิชาการทั้งสองยังกล่าวว่าตามหลักที่สำคัญใน public health ต้องมองผลในระยะยาว ไม่ใช้ระยะสั้น การ lockdowns ทำให้คนที่เป็นกลุ่มความเสี่ยงตำ่ คนหนุ่มสาว working class people ไม่ได้ออกไปทำงาน โดยเฉพาะคนยากจนที่ไม่อาจจะ working from home ได้ ทั่วโลกมีคน 130 ล้านคนต้องอดหยาก starvation เพราะการ lockdown อัตราการตายจาก Covid 19 ในคนที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ต่ำกว่า 1%

    การ lockdown ทำให้ระบบการฉีดวัคซีนของหลายๆประเทศล่มสลาย ดังนั้นหลังจาก Covid 19 จะเกิดโรคต่างๆที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนกลับมาระบาดอีก เช่น ไอกรน โปลิโอ

    นักวิชาการอีกกลุ่ม ส่านใหญ่มาจากฝากฝั่งอเมริกา นำโดยนักepidemiologist จาก Yale ออกมาค้านทันที ประกาศ John Snow memorandums ในนิตยสาร Lancet คัดค้านการใช้ Herd immunity สนับสนุนการ lockdown มีนักวิชาการ 80 คนที่ร่วมลงนาม ประธาน WHO และ Dr. Fauci ต่างออกมาแถลงสนับสนุน และโจมตีว่าการใช้ herd immunity เป็นอันตราย และเสี่ยงเกินไป John Snow เป็นบิดาแห่ง Epidemology เป็นชาวอังกฤษ เกิดในปี 1850

    ที่จะดูจะน่าขบขันคือ Dr. Fauci ผู้เชี่ยวชาญทาง infection ไม่ใช้ epidemiologist ออกมาแถลงถ้าใครมีความรู้ทาง epidemiology ก็คงไม่เห็นด้วยกับการใช้ herd immunity แต่ Dr. Fauci คงลืมไปว่า กลุ่ม Great Barrington Declaration ล้วนเป็น epidemiologist จากสถาบันชั้นนำของโลก เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ top ten ของโลก ก็ยากที่จะไม่ฟังความเห็นของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้

    สิ่งที่ทำให้เกิดความกระอักกระอ่วนใจอีกสิ่งคือ นิตยสาร Scientific Amarican ออกมาโจมตีคนที่ไม่เชื่อหลักฐานอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ ซึ้งคงมุ่งโจมตีไปที่ Trump แต่ก็มี side effect ถึง Dr. Fauci โดยไม่ตั้งใจ scientific American ออกบทความมาโจมตีการใช้ herd immunity

    และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 200ปีของนิตยสารทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่ของอเมริกา New England Journal of Medicine ที่มีบทบรรณาธิการโจมตีนักการเมืองคือ Trump ในการจัดการ Covid 19

    คำถามเดิมๆ ตลอด 9เดือนที่ Covid 19 ระบาด สวีเดนประสบความสำเร็จในการใช้ Herd immunity หรือไม่

    อีกคำถามคือ herd immunity เหมาะจะนำมาใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันหรือไม่

    คำตอบคือ herd immunity ถ้าจะนำมาใช้ คงจะใช้ได้กับบางประเทศเท่านั้น

    Herd immunity ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ ที่ไม่มีมาตรการที่ดี มีประชาชนมากและหนาแน่น และเกิดขึ้นเองเนื่องจากการควบคุมดูแลการระบาดไม่ได้คือหายนะ มีคนตายมากมาย ระบบสาธารณสุขล่มสลาย อย่างที่เกิดขึ้นในอินเดีย บราซิล

    ที่เมือง Manaus ในลุ่มน้ำ AmaZon คน 60%ติดเชื้อ Covid 19 โดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว ไม่มีการแจ้งเตือน เจ้าหน้าที่ไม่คาดว่าจะมีการระบาด เริ่มจากงานฉลอง Carnival คนหนึ่งใน 500 คนของเมืองนี้ต้องเสียชีวิต

    แต่ที่น่าสนใจคือ เปรู ซึ้งมีมาตรการ lockdowns ที่เข้มงวดที่สุดของโลก กลับมีอัตราการตายสูงที่สุด คือ 34,400 คนต่อประชากร 32ล้านคน ความจริงตัวเลขคนตายในเปรูอาจสูงถึง 80,000 คน การ lockdowns ที่เข้มงวดก็ไม่รับประกันความสำเร็จ

    สวีเดนไม่ต้องเผชิญกับ second wave เหมือนประเทศยุโรปอื่นๆ ถึงแม้ยังคงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นแต่อย่างช้าๆ ไม่มากขึ้นอย่างน่าตกใจเหมือน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน เบลเยี่ยม เช็คโก และประเทศยุโรปอื่นๆ ซึ้งต่างมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากอย่างน่ากลัว

    จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว สวีเดนคงเป็นประเทศที่เหมาะสมที่จะทำ herd immunity มากที่สุด เพราะประชาชนมีเพียง 10 ล้านคน และส่วนใหญ่อยู่กันไม่หนาแน่น เป็นสังคมที่มี high trust รัฐบาลและประชาชนมีความเชื่อใจกัน ประชาชนพร้อมปฎิบัติตาม ตลอด 9 เดือนที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนมาตราการตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา

    Concept ของสวีเดนก็คือ Covid 19 จะอยู่เป็นเวลานาน ถ้า strictly lockdown ประชาชนจะอ่อนล้าเหนื่อยหน่าย ซึ้งเราได้เห็นแล้วในหลายๆประเทศ มีการประท้วงการ lockdowns ที่ London

    และแม้แต่ที่ สาธารณรัฐเช็ค ประเทศที่เคยมี public obedience สูงยังมีการประท้วง เพราะความอ่อนล้าและเหนื่อยหน่ายต่อการ lockdowns ขณะนี้ระบบสาธารณสุขของเช็คกำลังใกล้จะล่มสลาย เช่นเดียวกันกับประเทศยุโรบตะวันออกอื่นๆ ซึ้งล้วน lockdowns อย่างได้ผลใน first wave เช็คมีอัตราการตายสูงสุดเพราะจำนวนคนป่วยที่มากขึ้น จำนวนคนติดเชื้อ 115 คนต่อประชากร 100,000 คน ต่อวัน ค่าเฉลี่ยของ EU 33 คนต่อ 100,000 คน ต่อวัน

    ทั้งๆที่ทำได้ดีมากใน first wave มีมาตรการ lockdown ดีที่สุด เร็วที่สุด. พอเกิด second wave เขื่อนแตก เอาไม่อยู่ สาธารณรัฐเช็คมีอัตราการติดเชื้อสูงสุดในยุโรปรองจากเบลเยี่ยม วันที่ 21 ตุลาคมมีคนตายวันเดียว 62 คน เช็คมีประชาชน 10 ล้านคนเท่าสวีเดน

    เป็นบทเรียนสำคัญสำหรับประเทศต่างๆว่าการ lockdown ที่ดีและความสำเร็จใน first wave ไม่รับประกันสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน second wave อาจเกิดจากความอ่อนล้าจาก firstwave ประเทศยุโรปตะวันออกที่ควบคุมได้ดีจากการ lockdowns ใน first wave ล้วนต้องเผชิญกับ second wave ที่หนักหนากว่า first wave ทั้งสิ้น

    Ross Clark เขียนใน Telegraph ว่าถ้า Boris Johnson เชื่อ Sir Patrick ใช้ herd immunity อังกฤษจะคงไม่ต้องมาลำบากกับการ lockdown ถึงสองรอบ และทุกอย่างก็จะดีขึ้นเหมือนสวีเดน เศรษฐกิจก็คงกลับมาแล้ว ไม่ต้องมาเผชิญกับภาวะตกงานอันสาหัส และการที่จะต้อง lockdowns เหมือนติดคุกอีกรอบ อาจนานถึงหกเดือน ตาม graph ของ Sir Patrick เป็น bell curve จะ peak ราวปลายเดือน เมษา และเดือนตุลาคมก็จะสิ้นสุดการระบาด เขาคัดค้านการ lockdowns รอบสอง เพราะจะทำให้การระบาดยื่นเวลาออกไปอีกถึงกลางฤดูหนาว ถ้าไม่ lockdowns จะจบลงเร็วขึ้นจาก herd immunity

    เบลเยี่ยมจะหนักหนาสาหัสที่สุดมีผู้ติดเชื้อใหม่ 135 คนต่อ 100,000 ต่อวัน

    สวีเดนไม่มีการปิดโรงเรียน เด็กๆสามารถไปโรงเรียนตามปกติ ห้ามรวมตัวกันเกิน 50 คน คนอายุมากกว่า 70 ให้ทำ self isolation ร้านอาหาร bar gym ยังคงเปิดบริการได้

    สวีเดนมีปัญหาในการ isolate ผู้สูงอายุในช่วงแรก ทำให้อัตราตายในช่วงแรกสูง แต่นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน อัตราตาย 10 ต่อประชาชน 100,000 คน ซึ้งเท่ากับเยอรมัน

    สำหรับผู้เดินทางมาจากส่วนอื่นของยุโรป ที่สวีเดนจะมีการ quarantines แค่ 7 วันแทนที่จะเป็น 14 วัน เหมือนประเทศอื่นๆ เพราะคิดว่ามีโอกาสน้อยในช่วง 7 วันหลัง และคิดว่าผลทางจิตใจจะสูงถ้าต้อง quarantines ต่อ

    สำหรับคนในครอบครัวที่อาศัยกับผู้ป่วยถ้าในวันที่ 5 ตรวจ test negative ไม่ต้อง quarantine ต่อจนครบ 14 วัน

    คำถามอีกข้อที่กลุ่มสนับสนุน herd immunity จะต้องตอบคือถ้าปล่อยให้มีคนติดเชื้อเพิ่มจะมีคนที่มีปัญหา long Covid 19 ซึ้งว่ากันว่ามี 5%-15% แต่ยังต้องศึกษาในรายละเอียดว่าความรุนแรงของปัญหาจะมีมากจริงๆหรือ เพราะคนที่ปัญหามากน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของคนที่มีอาการมากและเคยต้องรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล การศึกษาของ King college พบว่า risk factor ที่จะเป็น long Covid คือคนสูงอายุ และคนที่มีอาการ 5 อย่างขึ้นไป เเต่คนที่มีอาการน้อยและไม่มีอาการก็อาจเป็น long covid ได้ ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด คนมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการประมาณว่ามีถึง 80 %

    กลุ่ม long Covid กลุ่มใหญ่ที่พูดถึงคือกลุ่มที่เรียกว่า chronic fatigue syndrome ซึ้งเป็นกลุ่มโรคที่มี complex ของการรักษามาตั้งแต่ก่อนเกิด Covid ระบาด เพราะเกี่ยวกับ จิตวิทยาและ secondary gain โดยเฉพาะในระบบการแพทย์แบบอเมริกัน แต่แพทย์ส่วนหนึ่งเชื่อว่า chronic fatigue syndrome หลังจากติดเชื้อ Covid เนื่องจากมีความเสียหายของระบบประสาท hypothalamus

    ตามหลักของ John Snow ทำ lockdowns เพื่อรักษาชีวิตในช่วงแรก แต่ต้องกลับมามีปัญหาอีกในระยะต่อมา แต่หลักของ herd immunity และกลุ่ม Barrington คือยอมสละชีวิตบ้างในระยะแรก โดยเฉพาะคนแก่ เพื่อไม่ต้องมีปัญหาในระยะต่อมา แต่มีแง่คิดในด้านจริยธรรม

    ข้อมูลใหม่สุดจากการศึกษาของ Imperial college จากผู้ติดเชื้อ Covid 19 จำนวน 365,000 คน พบว่า antibody ที่ตรวจพบจะลดลงถึง 26 % จากการตรวจเดือนมิถุนายนและเดือนกันยายน ทำให้พวกที่ค้านการใช้ herd immunity ยกเป็นเหตุผลว่า herd immunity คงไม่ได้ผล แต่ความจริงผู้ติดเชื้อเหล่านี้ยังมีภูมิคุ้มกันที่สำคัญคือ T cell อยู่

    ที่สำคัญมีข้อมูลที่เคยรายงานจาก Iceland ร่วมกับ Harvard เป็นรายงานจากการติดตามผู้เคยติดเชื้อจำนวน 30,000 คนพบว่ามีผลตรงกันข้ามกับการศึกษาของ Imperial college คือ antibody ที่ตรวจพบในคนเคยติดเชื้อ Covid 19 ยังคงพบจำนวนมากอยู่หลังจาก 4 เดือน ดังนั้นอาจมีปัจจัยบางอย่างที่เรายังไม่รู้ในการศึกษาของ Imperial college

    แต่จากสถิติทั้งในยุโรปและอเมริกาถึงแม้จะมีคนติดเชื้อเพิ่มขึ้นมาก เเต่อัตราการตายจาก Covid 19 ตำ่ลงมากเมื่อเทียบกับในช่วงแรก ดังนั้นข้อแย้งจากกลุ่มที่สนับสนุนการ lockdowns ที่ว่าอาจจะทำให้คนตายจำนวนมาก คงมีนำ้หนักน้อยลง

    ในขณะนี้ระบบการแพทย์ของยุโรปและอเมริกาต้องรับภาระอย่างหนักเพื่อดูแลคนไข้ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจาก second wave อาจจะหนักหนามากกว่าช่วง peakในfirst wave ในขณะที่ สวีเดนสบายๆเหมือนเคย

    มีepidemiologist บางคนให้ความเห็นว่าถ้าใช้ herd immunity จะมีเพียง wave เดียว และไม่ต้องยืดยาวมาถึงฤดูหนาว ซึ้งต้องเกิดความยุ่งยากมากขึ้น

    ดังนั้นประเทศที่มีระบบสาธารณสุขและการแพทย์ที่ดี มีระบบ tracting และ testing ที่ดี การใช้ herd immunity อาจจะคุ้มค่ากับการได้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และ public health ในระยะยาว

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    ผู้อำนวยการ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร
















     
  3. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Herd immunity ภาคสี่ the unfinished story
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 01/11/20

    Herd immunity ภูมิคุ้มกันหมู่ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในวงนักวิชาการ นักการเมือง เมื่อมีกลุ่มนักวิชาการ epidemiologist สองกลุ่มที่ล้วนมาจากสถาบันที่มีชื่อเสียง แต่มีความเห็นไปคนละทางในการได้มาซึ้งภูมิคุ้มกันด้วย Herd immunity

    กลุ่มแรกประกอบด้วยนักวิชาการจากสถาบันที่มีชื่อเสียงเริ่มจากนัก Epidemiologist 3 สถาบัน Oxford , Stanfordและ Harvard มีนักวิชาการ 2,500 คนร่วมลงนาม Great Barrington Declaration ในวันที่ 4 ตุลาคม ที่เมือง Barrington รัฐ Massachusetts คัดค้านการ lockdowns และเห็นด้วยกับการใช้ herd immunity

    Drฺ Bhattacharya และDr. Kulkdorf นัก Epidemology จาก Stanfordและ Harvard ซึ้งอยู่ในกลุ่มที่สนับสนุน herd immunity ได้ให้สัมภาษณ์ว่าขณะนี้เรื่อง herd immunity ในอเมริกาเป็นเรื่องการเมืองไปแล้ว แทนที่จะเป็นเรื่องวิชาการอย่างเดียว เพราะเมื่อมีการชุมนุมของ black lives matter นัก Epidemologist 1,300 คนร่วมลงนามว่าการชุมนุมเป็น good public health practice แต่นักวิชาการกลุ่มเดียวกันกลับมาคัดค้าน herd immunity

    นักวิชาการทั้งสองยังกล่าวว่าตามหลักที่สำคัญใน public health ต้องมองผลในระยะยาว ไม่ใช้ระยะสั้น การ lockdowns ทำให้คนที่เป็นกลุ่มความเสี่ยงตำ่ คนหนุ่มสาว working class people ไม่ได้ออกไปทำงาน โดยเฉพาะคนยากจนที่ไม่อาจจะ working from home ได้ ทั่วโลกมีคน 130 ล้านคนต้องอดหยาก starvation เพราะการ lockdown อัตราการตายจาก Covid 19 ในคนที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ต่ำกว่า 1%

    การ lockdown ทำให้ระบบการฉีดวัคซีนของหลายๆประเทศล่มสลาย ดังนั้นหลังจาก Covid 19 จะเกิดโรคต่างๆที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนกลับมาระบาดอีก เช่น ไอกรน โปลิโอ

    นักวิชาการอีกกลุ่ม ส่านใหญ่มาจากฝากฝั่งอเมริกา นำโดยนักepidemiologist จาก Yale ออกมาค้านทันที ประกาศ John Snow memorandums ในนิตยสาร Lancet คัดค้านการใช้ Herd immunity สนับสนุนการ lockdown มีนักวิชาการ 80 คนที่ร่วมลงนาม ประธาน WHO และ Dr. Fauci ต่างออกมาแถลงสนับสนุน และโจมตีว่าการใช้ herd immunity เป็นอันตราย และเสี่ยงเกินไป John Snow เป็นบิดาแห่ง Epidemology เป็นชาวอังกฤษ เกิดในปี 1850

    ที่จะดูจะน่าขบขันคือ Dr. Fauci ผู้เชี่ยวชาญทาง infection ไม่ใช้ epidemiologist ออกมาแถลงถ้าใครมีความรู้ทาง epidemiology ก็คงไม่เห็นด้วยกับการใช้ herd immunity แต่ Dr. Fauci คงลืมไปว่า กลุ่ม Great Barrington Declaration ล้วนเป็น epidemiologist จากสถาบันชั้นนำของโลก เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ top ten ของโลก ก็ยากที่จะไม่ฟังความเห็นของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้

    สิ่งที่ทำให้เกิดความกระอักกระอ่วนใจอีกสิ่งคือ นิตยสาร Scientific Amarican ออกมาโจมตีคนที่ไม่เชื่อหลักฐานอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ ซึ้งคงมุ่งโจมตีไปที่ Trump แต่ก็มี side effect ถึง Dr. Fauci โดยไม่ตั้งใจ scientific American ออกบทความมาโจมตีการใช้ herd immunity

    และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 200ปีของนิตยสารทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่ของอเมริกา New England Journal of Medicine ที่มีบทบรรณาธิการโจมตีนักการเมืองคือ Trump ในการจัดการ Covid 19

    คำถามเดิมๆ ตลอด 9เดือนที่ Covid 19 ระบาด สวีเดนประสบความสำเร็จในการใช้ Herd immunity หรือไม่

    อีกคำถามคือ herd immunity เหมาะจะนำมาใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันหรือไม่

    คำตอบคือ herd immunity ถ้าจะนำมาใช้ คงจะใช้ได้กับบางประเทศเท่านั้น

    Herd immunity ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ ที่ไม่มีมาตรการที่ดี มีประชาชนมากและหนาแน่น และเกิดขึ้นเองเนื่องจากการควบคุมดูแลการระบาดไม่ได้คือหายนะ มีคนตายมากมาย ระบบสาธารณสุขล่มสลาย อย่างที่เกิดขึ้นในอินเดีย บราซิล

    ที่เมือง Manaus ในลุ่มน้ำ AmaZon คน 60%ติดเชื้อ Covid 19 โดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว ไม่มีการแจ้งเตือน เจ้าหน้าที่ไม่คาดว่าจะมีการระบาด เริ่มจากงานฉลอง Carnival คนหนึ่งใน 500 คนของเมืองนี้ต้องเสียชีวิต

    แต่ที่น่าสนใจคือ เปรู ซึ้งมีมาตรการ lockdowns ที่เข้มงวดที่สุดของโลก กลับมีอัตราการตายสูงที่สุด คือ 34,400 คนต่อประชากร 32ล้านคน ความจริงตัวเลขคนตายในเปรูอาจสูงถึง 80,000 คน การ lockdowns ที่เข้มงวดก็ไม่รับประกันความสำเร็จ

    สวีเดนไม่ต้องเผชิญกับ second wave เหมือนประเทศยุโรปอื่นๆ ถึงแม้ยังคงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นแต่อย่างช้าๆ ไม่มากขึ้นอย่างน่าตกใจเหมือน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน เบลเยี่ยม เช็คโก และประเทศยุโรปอื่นๆ ซึ้งต่างมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากอย่างน่ากลัว

    จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว สวีเดนคงเป็นประเทศที่เหมาะสมที่จะทำ herd immunity มากที่สุด เพราะประชาชนมีเพียง 10 ล้านคน และส่วนใหญ่อยู่กันไม่หนาแน่น เป็นสังคมที่มี high trust รัฐบาลและประชาชนมีความเชื่อใจกัน ประชาชนพร้อมปฎิบัติตาม ตลอด 9 เดือนที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนมาตราการตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา

    Concept ของสวีเดนก็คือ Covid 19 จะอยู่เป็นเวลานาน ถ้า strictly lockdown ประชาชนจะอ่อนล้าเหนื่อยหน่าย ซึ้งเราได้เห็นแล้วในหลายๆประเทศ มีการประท้วงการ lockdowns ที่ London

    และแม้แต่ที่ สาธารณรัฐเช็ค ประเทศที่เคยมี public obedience สูงยังมีการประท้วง เพราะความอ่อนล้าและเหนื่อยหน่ายต่อการ lockdowns ขณะนี้ระบบสาธารณสุขของเช็คกำลังใกล้จะล่มสลาย เช่นเดียวกันกับประเทศยุโรบตะวันออกอื่นๆ ซึ้งล้วน lockdowns อย่างได้ผลใน first wave เช็คมีอัตราการตายสูงสุดเพราะจำนวนคนป่วยที่มากขึ้น จำนวนคนติดเชื้อ 115 คนต่อประชากร 100,000 คน ต่อวัน ค่าเฉลี่ยของ EU 33 คนต่อ 100,000 คน ต่อวัน

    ทั้งๆที่ทำได้ดีมากใน first wave มีมาตรการ lockdown ดีที่สุด เร็วที่สุด. พอเกิด second wave เขื่อนแตก เอาไม่อยู่ สาธารณรัฐเช็คมีอัตราการติดเชื้อสูงสุดในยุโรปรองจากเบลเยี่ยม วันที่ 21 ตุลาคมมีคนตายวันเดียว 62 คน เช็คมีประชาชน 10 ล้านคนเท่าสวีเดน

    เป็นบทเรียนสำคัญสำหรับประเทศต่างๆว่าการ lockdown ที่ดีและความสำเร็จใน first wave ไม่รับประกันสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน second wave อาจเกิดจากความอ่อนล้าจาก firstwave ประเทศยุโรปตะวันออกที่ควบคุมได้ดีจากการ lockdowns ใน first wave ล้วนต้องเผชิญกับ second wave ที่หนักหนากว่า first wave ทั้งสิ้น

    Ross Clark เขียนใน Telegraph ว่าถ้า Boris Johnson เชื่อ Sir Patrick ใช้ herd immunity อังกฤษจะคงไม่ต้องมาลำบากกับการ lockdown ถึงสองรอบ และทุกอย่างก็จะดีขึ้นเหมือนสวีเดน เศรษฐกิจก็คงกลับมาแล้ว ไม่ต้องมาเผชิญกับภาวะตกงานอันสาหัส และการที่จะต้อง lockdowns เหมือนติดคุกอีกรอบ อาจนานถึงหกเดือน ตาม graph ของ Sir Patrick เป็น bell curve จะ peak ราวปลายเดือน เมษา และเดือนตุลาคมก็จะสิ้นสุดการระบาด เขาคัดค้านการ lockdowns รอบสอง เพราะจะทำให้การระบาดยื่นเวลาออกไปอีกถึงกลางฤดูหนาว ถ้าไม่ lockdowns จะจบลงเร็วขึ้นจาก herd immunity

    เบลเยี่ยมจะหนักหนาสาหัสที่สุดมีผู้ติดเชื้อใหม่ 135 คนต่อ 100,000 ต่อวัน

    สวีเดนไม่มีการปิดโรงเรียน เด็กๆสามารถไปโรงเรียนตามปกติ ห้ามรวมตัวกันเกิน 50 คน คนอายุมากกว่า 70 ให้ทำ self isolation ร้านอาหาร bar gym ยังคงเปิดบริการได้

    สวีเดนมีปัญหาในการ isolate ผู้สูงอายุในช่วงแรก ทำให้อัตราตายในช่วงแรกสูง แต่นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน อัตราตาย 10 ต่อประชาชน 100,000 คน ซึ้งเท่ากับเยอรมัน

    สำหรับผู้เดินทางมาจากส่วนอื่นของยุโรป ที่สวีเดนจะมีการ quarantines แค่ 7 วันแทนที่จะเป็น 14 วัน เหมือนประเทศอื่นๆ เพราะคิดว่ามีโอกาสน้อยในช่วง 7 วันหลัง และคิดว่าผลทางจิตใจจะสูงถ้าต้อง quarantines ต่อ

    สำหรับคนในครอบครัวที่อาศัยกับผู้ป่วยถ้าในวันที่ 5 ตรวจ test negative ไม่ต้อง quarantine ต่อจนครบ 14 วัน

    คำถามอีกข้อที่กลุ่มสนับสนุน herd immunity จะต้องตอบคือถ้าปล่อยให้มีคนติดเชื้อเพิ่มจะมีคนที่มีปัญหา long Covid 19 ซึ้งว่ากันว่ามี 5%-15% แต่ยังต้องศึกษาในรายละเอียดว่าความรุนแรงของปัญหาจะมีมากจริงๆหรือ เพราะคนที่ปัญหามากน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของคนที่มีอาการมากและเคยต้องรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล การศึกษาของ King college พบว่า risk factor ที่จะเป็น long Covid คือคนสูงอายุ และคนที่มีอาการ 5 อย่างขึ้นไป เเต่คนที่มีอาการน้อยและไม่มีอาการก็อาจเป็น long covid ได้ ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด คนมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการประมาณว่ามีถึง 80 %

    กลุ่ม long Covid กลุ่มใหญ่ที่พูดถึงคือกลุ่มที่เรียกว่า chronic fatigue syndrome ซึ้งเป็นกลุ่มโรคที่มี complex ของการรักษามาตั้งแต่ก่อนเกิด Covid ระบาด เพราะเกี่ยวกับ จิตวิทยาและ secondary gain โดยเฉพาะในระบบการแพทย์แบบอเมริกัน แต่แพทย์ส่วนหนึ่งเชื่อว่า chronic fatigue syndrome หลังจากติดเชื้อ Covid เนื่องจากมีความเสียหายของระบบประสาท hypothalamus

    ตามหลักของ John Snow ทำ lockdowns เพื่อรักษาชีวิตในช่วงแรก แต่ต้องกลับมามีปัญหาอีกในระยะต่อมา แต่หลักของ herd immunity และกลุ่ม Barrington คือยอมสละชีวิตบ้างในระยะแรก โดยเฉพาะคนแก่ เพื่อไม่ต้องมีปัญหาในระยะต่อมา แต่มีแง่คิดในด้านจริยธรรม

    ข้อมูลใหม่สุดจากการศึกษาของ Imperial college จากผู้ติดเชื้อ Covid 19 จำนวน 365,000 คน พบว่า antibody ที่ตรวจพบจะลดลงถึง 26 % จากการตรวจเดือนมิถุนายนและเดือนกันยายน ทำให้พวกที่ค้านการใช้ herd immunity ยกเป็นเหตุผลว่า herd immunity คงไม่ได้ผล แต่ความจริงผู้ติดเชื้อเหล่านี้ยังมีภูมิคุ้มกันที่สำคัญคือ T cell อยู่

    ที่สำคัญมีข้อมูลที่เคยรายงานจาก Iceland ร่วมกับ Harvard เป็นรายงานจากการติดตามผู้เคยติดเชื้อจำนวน 30,000 คนพบว่ามีผลตรงกันข้ามกับการศึกษาของ Imperial college คือ antibody ที่ตรวจพบในคนเคยติดเชื้อ Covid 19 ยังคงพบจำนวนมากอยู่หลังจาก 4 เดือน ดังนั้นอาจมีปัจจัยบางอย่างที่เรายังไม่รู้ในการศึกษาของ Imperial college

    แต่จากสถิติทั้งในยุโรปและอเมริกาถึงแม้จะมีคนติดเชื้อเพิ่มขึ้นมาก เเต่อัตราการตายจาก Covid 19 ตำ่ลงมากเมื่อเทียบกับในช่วงแรก ดังนั้นข้อแย้งจากกลุ่มที่สนับสนุนการ lockdowns ที่ว่าอาจจะทำให้คนตายจำนวนมาก คงมีนำ้หนักน้อยลง

    ในขณะนี้ระบบการแพทย์ของยุโรปและอเมริกาต้องรับภาระอย่างหนักเพื่อดูแลคนไข้ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจาก second wave อาจจะหนักหนามากกว่าช่วง peakในfirst wave ในขณะที่ สวีเดนสบายๆเหมือนเคย

    มีepidemiologist บางคนให้ความเห็นว่าถ้าใช้ herd immunity จะมีเพียง wave เดียว และไม่ต้องยืดยาวมาถึงฤดูหนาว ซึ้งต้องเกิดความยุ่งยากมากขึ้น

    ดังนั้นประเทศที่มีระบบสาธารณสุขและการแพทย์ที่ดี มีระบบ tracting และ testing ที่ดี การใช้ herd immunity อาจจะคุ้มค่ากับการได้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และ public health ในระยะยาว

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    ผู้อำนวยการ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร
















     
  4. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Herd immunity ภาคสี่ the unfinished story
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 01/11/20

    Herd immunity ภูมิคุ้มกันหมู่ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในวงนักวิชาการ นักการเมือง เมื่อมีกลุ่มนักวิชาการ epidemiologist สองกลุ่มที่ล้วนมาจากสถาบันที่มีชื่อเสียง แต่มีความเห็นไปคนละทางในการได้มาซึ้งภูมิคุ้มกันด้วย Herd immunity

    กลุ่มแรกประกอบด้วยนักวิชาการจากสถาบันที่มีชื่อเสียงเริ่มจากนัก Epidemiologist 3 สถาบัน Oxford , Stanfordและ Harvard มีนักวิชาการ 2,500 คนร่วมลงนาม Great Barrington Declaration ในวันที่ 4 ตุลาคม ที่เมือง Barrington รัฐ Massachusetts คัดค้านการ lockdowns และเห็นด้วยกับการใช้ herd immunity

    Drฺ Bhattacharya และDr. Kulkdorf นัก Epidemology จาก Stanfordและ Harvard ซึ้งอยู่ในกลุ่มที่สนับสนุน herd immunity ได้ให้สัมภาษณ์ว่าขณะนี้เรื่อง herd immunity ในอเมริกาเป็นเรื่องการเมืองไปแล้ว แทนที่จะเป็นเรื่องวิชาการอย่างเดียว เพราะเมื่อมีการชุมนุมของ black lives matter นัก Epidemologist 1,300 คนร่วมลงนามว่าการชุมนุมเป็น good public health practice แต่นักวิชาการกลุ่มเดียวกันกลับมาคัดค้าน herd immunity

    นักวิชาการทั้งสองยังกล่าวว่าตามหลักที่สำคัญใน public health ต้องมองผลในระยะยาว ไม่ใช้ระยะสั้น การ lockdowns ทำให้คนที่เป็นกลุ่มความเสี่ยงตำ่ คนหนุ่มสาว working class people ไม่ได้ออกไปทำงาน โดยเฉพาะคนยากจนที่ไม่อาจจะ working from home ได้ ทั่วโลกมีคน 130 ล้านคนต้องอดหยาก starvation เพราะการ lockdown อัตราการตายจาก Covid 19 ในคนที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ต่ำกว่า 1%

    การ lockdown ทำให้ระบบการฉีดวัคซีนของหลายๆประเทศล่มสลาย ดังนั้นหลังจาก Covid 19 จะเกิดโรคต่างๆที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนกลับมาระบาดอีก เช่น ไอกรน โปลิโอ

    นักวิชาการอีกกลุ่ม ส่านใหญ่มาจากฝากฝั่งอเมริกา นำโดยนักepidemiologist จาก Yale ออกมาค้านทันที ประกาศ John Snow memorandums ในนิตยสาร Lancet คัดค้านการใช้ Herd immunity สนับสนุนการ lockdown มีนักวิชาการ 80 คนที่ร่วมลงนาม ประธาน WHO และ Dr. Fauci ต่างออกมาแถลงสนับสนุน และโจมตีว่าการใช้ herd immunity เป็นอันตราย และเสี่ยงเกินไป John Snow เป็นบิดาแห่ง Epidemology เป็นชาวอังกฤษ เกิดในปี 1850

    ที่จะดูจะน่าขบขันคือ Dr. Fauci ผู้เชี่ยวชาญทาง infection ไม่ใช้ epidemiologist ออกมาแถลงถ้าใครมีความรู้ทาง epidemiology ก็คงไม่เห็นด้วยกับการใช้ herd immunity แต่ Dr. Fauci คงลืมไปว่า กลุ่ม Great Barrington Declaration ล้วนเป็น epidemiologist จากสถาบันชั้นนำของโลก เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ top ten ของโลก ก็ยากที่จะไม่ฟังความเห็นของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้

    สิ่งที่ทำให้เกิดความกระอักกระอ่วนใจอีกสิ่งคือ นิตยสาร Scientific Amarican ออกมาโจมตีคนที่ไม่เชื่อหลักฐานอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ ซึ้งคงมุ่งโจมตีไปที่ Trump แต่ก็มี side effect ถึง Dr. Fauci โดยไม่ตั้งใจ scientific American ออกบทความมาโจมตีการใช้ herd immunity

    และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 200ปีของนิตยสารทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่ของอเมริกา New England Journal of Medicine ที่มีบทบรรณาธิการโจมตีนักการเมืองคือ Trump ในการจัดการ Covid 19

    คำถามเดิมๆ ตลอด 9เดือนที่ Covid 19 ระบาด สวีเดนประสบความสำเร็จในการใช้ Herd immunity หรือไม่

    อีกคำถามคือ herd immunity เหมาะจะนำมาใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันหรือไม่

    คำตอบคือ herd immunity ถ้าจะนำมาใช้ คงจะใช้ได้กับบางประเทศเท่านั้น

    Herd immunity ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ ที่ไม่มีมาตรการที่ดี มีประชาชนมากและหนาแน่น และเกิดขึ้นเองเนื่องจากการควบคุมดูแลการระบาดไม่ได้คือหายนะ มีคนตายมากมาย ระบบสาธารณสุขล่มสลาย อย่างที่เกิดขึ้นในอินเดีย บราซิล

    ที่เมือง Manaus ในลุ่มน้ำ AmaZon คน 60%ติดเชื้อ Covid 19 โดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว ไม่มีการแจ้งเตือน เจ้าหน้าที่ไม่คาดว่าจะมีการระบาด เริ่มจากงานฉลอง Carnival คนหนึ่งใน 500 คนของเมืองนี้ต้องเสียชีวิต

    แต่ที่น่าสนใจคือ เปรู ซึ้งมีมาตรการ lockdowns ที่เข้มงวดที่สุดของโลก กลับมีอัตราการตายสูงที่สุด คือ 34,400 คนต่อประชากร 32ล้านคน ความจริงตัวเลขคนตายในเปรูอาจสูงถึง 80,000 คน การ lockdowns ที่เข้มงวดก็ไม่รับประกันความสำเร็จ

    สวีเดนไม่ต้องเผชิญกับ second wave เหมือนประเทศยุโรปอื่นๆ ถึงแม้ยังคงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นแต่อย่างช้าๆ ไม่มากขึ้นอย่างน่าตกใจเหมือน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน เบลเยี่ยม เช็คโก และประเทศยุโรปอื่นๆ ซึ้งต่างมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากอย่างน่ากลัว

    จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว สวีเดนคงเป็นประเทศที่เหมาะสมที่จะทำ herd immunity มากที่สุด เพราะประชาชนมีเพียง 10 ล้านคน และส่วนใหญ่อยู่กันไม่หนาแน่น เป็นสังคมที่มี high trust รัฐบาลและประชาชนมีความเชื่อใจกัน ประชาชนพร้อมปฎิบัติตาม ตลอด 9 เดือนที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนมาตราการตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา

    Concept ของสวีเดนก็คือ Covid 19 จะอยู่เป็นเวลานาน ถ้า strictly lockdown ประชาชนจะอ่อนล้าเหนื่อยหน่าย ซึ้งเราได้เห็นแล้วในหลายๆประเทศ มีการประท้วงการ lockdowns ที่ London

    และแม้แต่ที่ สาธารณรัฐเช็ค ประเทศที่เคยมี public obedience สูงยังมีการประท้วง เพราะความอ่อนล้าและเหนื่อยหน่ายต่อการ lockdowns ขณะนี้ระบบสาธารณสุขของเช็คกำลังใกล้จะล่มสลาย เช่นเดียวกันกับประเทศยุโรบตะวันออกอื่นๆ ซึ้งล้วน lockdowns อย่างได้ผลใน first wave เช็คมีอัตราการตายสูงสุดเพราะจำนวนคนป่วยที่มากขึ้น จำนวนคนติดเชื้อ 115 คนต่อประชากร 100,000 คน ต่อวัน ค่าเฉลี่ยของ EU 33 คนต่อ 100,000 คน ต่อวัน

    ทั้งๆที่ทำได้ดีมากใน first wave มีมาตรการ lockdown ดีที่สุด เร็วที่สุด. พอเกิด second wave เขื่อนแตก เอาไม่อยู่ สาธารณรัฐเช็คมีอัตราการติดเชื้อสูงสุดในยุโรปรองจากเบลเยี่ยม วันที่ 21 ตุลาคมมีคนตายวันเดียว 62 คน เช็คมีประชาชน 10 ล้านคนเท่าสวีเดน

    เป็นบทเรียนสำคัญสำหรับประเทศต่างๆว่าการ lockdown ที่ดีและความสำเร็จใน first wave ไม่รับประกันสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน second wave อาจเกิดจากความอ่อนล้าจาก firstwave ประเทศยุโรปตะวันออกที่ควบคุมได้ดีจากการ lockdowns ใน first wave ล้วนต้องเผชิญกับ second wave ที่หนักหนากว่า first wave ทั้งสิ้น

    Ross Clark เขียนใน Telegraph ว่าถ้า Boris Johnson เชื่อ Sir Patrick ใช้ herd immunity อังกฤษจะคงไม่ต้องมาลำบากกับการ lockdown ถึงสองรอบ และทุกอย่างก็จะดีขึ้นเหมือนสวีเดน เศรษฐกิจก็คงกลับมาแล้ว ไม่ต้องมาเผชิญกับภาวะตกงานอันสาหัส และการที่จะต้อง lockdowns เหมือนติดคุกอีกรอบ อาจนานถึงหกเดือน ตาม graph ของ Sir Patrick เป็น bell curve จะ peak ราวปลายเดือน เมษา และเดือนตุลาคมก็จะสิ้นสุดการระบาด เขาคัดค้านการ lockdowns รอบสอง เพราะจะทำให้การระบาดยื่นเวลาออกไปอีกถึงกลางฤดูหนาว ถ้าไม่ lockdowns จะจบลงเร็วขึ้นจาก herd immunity

    เบลเยี่ยมจะหนักหนาสาหัสที่สุดมีผู้ติดเชื้อใหม่ 135 คนต่อ 100,000 ต่อวัน

    สวีเดนไม่มีการปิดโรงเรียน เด็กๆสามารถไปโรงเรียนตามปกติ ห้ามรวมตัวกันเกิน 50 คน คนอายุมากกว่า 70 ให้ทำ self isolation ร้านอาหาร bar gym ยังคงเปิดบริการได้

    สวีเดนมีปัญหาในการ isolate ผู้สูงอายุในช่วงแรก ทำให้อัตราตายในช่วงแรกสูง แต่นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน อัตราตาย 10 ต่อประชาชน 100,000 คน ซึ้งเท่ากับเยอรมัน

    สำหรับผู้เดินทางมาจากส่วนอื่นของยุโรป ที่สวีเดนจะมีการ quarantines แค่ 7 วันแทนที่จะเป็น 14 วัน เหมือนประเทศอื่นๆ เพราะคิดว่ามีโอกาสน้อยในช่วง 7 วันหลัง และคิดว่าผลทางจิตใจจะสูงถ้าต้อง quarantines ต่อ

    สำหรับคนในครอบครัวที่อาศัยกับผู้ป่วยถ้าในวันที่ 5 ตรวจ test negative ไม่ต้อง quarantine ต่อจนครบ 14 วัน

    คำถามอีกข้อที่กลุ่มสนับสนุน herd immunity จะต้องตอบคือถ้าปล่อยให้มีคนติดเชื้อเพิ่มจะมีคนที่มีปัญหา long Covid 19 ซึ้งว่ากันว่ามี 5%-15% แต่ยังต้องศึกษาในรายละเอียดว่าความรุนแรงของปัญหาจะมีมากจริงๆหรือ เพราะคนที่ปัญหามากน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของคนที่มีอาการมากและเคยต้องรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล การศึกษาของ King college พบว่า risk factor ที่จะเป็น long Covid คือคนสูงอายุ และคนที่มีอาการ 5 อย่างขึ้นไป เเต่คนที่มีอาการน้อยและไม่มีอาการก็อาจเป็น long covid ได้ ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด คนมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการประมาณว่ามีถึง 80 %

    กลุ่ม long Covid กลุ่มใหญ่ที่พูดถึงคือกลุ่มที่เรียกว่า chronic fatigue syndrome ซึ้งเป็นกลุ่มโรคที่มี complex ของการรักษามาตั้งแต่ก่อนเกิด Covid ระบาด เพราะเกี่ยวกับ จิตวิทยาและ secondary gain โดยเฉพาะในระบบการแพทย์แบบอเมริกัน แต่แพทย์ส่วนหนึ่งเชื่อว่า chronic fatigue syndrome หลังจากติดเชื้อ Covid เนื่องจากมีความเสียหายของระบบประสาท hypothalamus

    ตามหลักของ John Snow ทำ lockdowns เพื่อรักษาชีวิตในช่วงแรก แต่ต้องกลับมามีปัญหาอีกในระยะต่อมา แต่หลักของ herd immunity และกลุ่ม Barrington คือยอมสละชีวิตบ้างในระยะแรก โดยเฉพาะคนแก่ เพื่อไม่ต้องมีปัญหาในระยะต่อมา แต่มีแง่คิดในด้านจริยธรรม

    ข้อมูลใหม่สุดจากการศึกษาของ Imperial college จากผู้ติดเชื้อ Covid 19 จำนวน 365,000 คน พบว่า antibody ที่ตรวจพบจะลดลงถึง 26 % จากการตรวจเดือนมิถุนายนและเดือนกันยายน ทำให้พวกที่ค้านการใช้ herd immunity ยกเป็นเหตุผลว่า herd immunity คงไม่ได้ผล แต่ความจริงผู้ติดเชื้อเหล่านี้ยังมีภูมิคุ้มกันที่สำคัญคือ T cell อยู่

    ที่สำคัญมีข้อมูลที่เคยรายงานจาก Iceland ร่วมกับ Harvard เป็นรายงานจากการติดตามผู้เคยติดเชื้อจำนวน 30,000 คนพบว่ามีผลตรงกันข้ามกับการศึกษาของ Imperial college คือ antibody ที่ตรวจพบในคนเคยติดเชื้อ Covid 19 ยังคงพบจำนวนมากอยู่หลังจาก 4 เดือน ดังนั้นอาจมีปัจจัยบางอย่างที่เรายังไม่รู้ในการศึกษาของ Imperial college

    แต่จากสถิติทั้งในยุโรปและอเมริกาถึงแม้จะมีคนติดเชื้อเพิ่มขึ้นมาก เเต่อัตราการตายจาก Covid 19 ตำ่ลงมากเมื่อเทียบกับในช่วงแรก ดังนั้นข้อแย้งจากกลุ่มที่สนับสนุนการ lockdowns ที่ว่าอาจจะทำให้คนตายจำนวนมาก คงมีนำ้หนักน้อยลง

    ในขณะนี้ระบบการแพทย์ของยุโรปและอเมริกาต้องรับภาระอย่างหนักเพื่อดูแลคนไข้ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจาก second wave อาจจะหนักหนามากกว่าช่วง peakในfirst wave ในขณะที่ สวีเดนสบายๆเหมือนเคย

    มีepidemiologist บางคนให้ความเห็นว่าถ้าใช้ herd immunity จะมีเพียง wave เดียว และไม่ต้องยืดยาวมาถึงฤดูหนาว ซึ้งต้องเกิดความยุ่งยากมากขึ้น

    ดังนั้นประเทศที่มีระบบสาธารณสุขและการแพทย์ที่ดี มีระบบ tracting และ testing ที่ดี การใช้ herd immunity อาจจะคุ้มค่ากับการได้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และ public health ในระยะยาว

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    ผู้อำนวยการ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร
















     
  5. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    จิตวิทยาของความเชื่อทางการเมือง
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 30/10//20

    ในโลกปัจจุบันความเชื่อในทางการเมืองในประเทศต่างๆมักจะต้องมีสองขั้วของความคิด ไม่ว่าจะเป็นอเมริกาหรือไทยที่มีความขัดแย้งทางความคิดในทางการเมืองมายาวนานนับสิบปี จากเหลืองแดงสู่ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างรุ่น

    ในขั้วความเห็นในทางเมืองในที่ต่างๆของโลกจะมีความคิดขวาคือไปในทาง อนุรักษ์ conservative มักไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงและอีกขั้วคือซ้ายเป็น liberals เชื่อในความเสมอภาค เชื้อชาติ ผิวสี เพศ คนรุ่นใหม่มักอยู่ในกลุ่มนี้ degree ของความเป็นขวาหรือความเป็นซ้ายจะมีมากน้อยต่างกันในแต่ละประเทศ

    กระแส liberation ยิ่งโหมแรงในช่วงการระบาดของ Covid 19 เมื่อคนได้รับความลำบากมากขึ้น ความแตกต่างระหว่างคนรวยคนจนมีมากขึ้น ความเเตกต่างระหว่างรุ่น เมื่อคนรุ่น baby bloomer สะสมความมั่งคั่งไว้ แต่คนรุ่นใหม่ millennium ยังคงตกงานหางานทำไม่ได้

    ความขัดแย้งในทางความคิดที่รุนแรงไม่ใช้เกิดขึ้นในเมืองไทย ในอเมริกากระแสความขัดแย้งระหว่าง conservative และ liberals ก็รุนแรงเช่นกัน จะเห็นได้ชัดว่า CNN และ Fox News พูดเหมือนอยู่คนละโลกเมื่อพูดถึงเรื่องเดียวกัน

    มีปรัชญาในระบอบประชาธิปไตยว่า ให้เคารพในความเห็นต่าง และอยู่รวมกัน แต่ในชีวิตความเป็นจริง ทั้งไทยและอเมริกาทั้งสองขั้วทางความคิด ต่างก็สาดโคลนเข้าหากัน และใช้กลเม็ดทั้งในและนอกตำราเพื่อหาแนวร่วม และมองหาข้อไม่ดีและจุดอ่อนของอีกฝ่ายเพื่อโจมตี

    ในความเชื่อในทางการเมืองนั้นถ้าเชื่อแล้วยากจะเปลี่ยนแปลง แต่ละฝ่ายจะตั้งธงไว้แล้ว และเลือกชื่อข้อมูลที่จะสนับสนุนความคิดของฝ่ายตนเอง

    และคนเราส่วนใหญ่จะเลือกฟัง และรับรู้เฉพาะสิ่งที่สนับสนุนความคิดและความเชื่อของตนเองอย่างเช่นในอเมริกาพวก liberals ก็จะดู CNNอ่าน New York Time พวก conservative นิยม Trump ก็จะดู Fox News อ่านNew York post

    ไม่ต่างจากเมืองไทยพวกเหลือง และ conservative จะดู Nation อ่าน ไทย โพสต์ ส่วนพวกแดงจะอ่าน มติชน ดู voice TV

    ความเชื่อของคนต่างรุ่นที่ต่างกันยังขึ้นกับสิ่งที่เห็นและประสบการณ์ที่ต่างกัน คนรุ่นใหม่ก็เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่เคยเห็นสิ่งที่เกิดขึ้นหรือความประทับใจในสิ่งที่ทำมาในอดีต และคนรุ่นใหม่รับรู้ข้อมูลจากสื่อทั่วโลกจากการเข้าถึงด้วย social media ซึ้งคนรุ่นเก่าไม่มีโอกาสเข้าถึง ความเห็นและความเชื่ออาจเปลี่ยนได้ถ้าได้ข้อมูลหรือพบความจริงใหม่ที่ไม่เคยสัมผัส

    คนรุ่นเก่าสงสัยว่าทำไมคนรุ่นใหม่ความคิดไม่เหมือนรุ่นตน สิ่งสำคัญคือ social media สมัยใหม่ จากกลุ่มต่างๆใน Facebook และ Twitter และสื่อจากต่างประเทศ ทำให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าถึงข่าวสารข้อมูลได้ทั้งทางกว้างและทางลึก

    ในขณะที่คนรุ่นเก่ายังรับข้อมูลจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ซึ้งส่วนหนึ่งเป็นสื่อเลือกข้าง หรือสื่อของฝ่ายการเมือง แถมบางสื่อเป็นรัฐวิสาหกิจขึ้นตรงต่อรัฐบาล และสื่ออิสระที่ไม่เลือกข้าง ก็ไม่สามารถเสนอข่าวในทางลึกได้เนื่องจากติดปัญหาทางกฎหมาย โดยเฉพาะถ้าเกี่ยวกับสถาบัน ทำให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้สิ่งต่างๆได้มากกว่าคนรุ่นเก่า ความเห็นความเชื่อจึงแตกต่างกัน

    ในความเชื่อทางการเมืองเหมือนกับความเชื่อทางศาสนาจะมีความรู้สึกที่รุนแรง การเลือกใช้หลักการและเหตุผลจะมีน้อยลง ไม่เว้นแม้แต่ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวัยวุฒิ

    ความเชื่อทางการเมืองอาจนำมาสู่ความรู้สึกที่รุนแรงเเละนำมาซึ่งโศกนาฏกรรมอย่างที่เกิดขึ้นกับเขมรในยุคเขมรแดง เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เหตุการณ์ปฏิวัติวัฒนธรรมในจีน ความรู้สึกที่รุนแรงนี้แม้แต่ความสัมพันธ์ในครอบครัวก็แตกสลายอย่างไม่น่าเชื่อ เช่นมีข่าวพ่อตัดสัมพันธ์กับลูก ในยุคปฏิวัติวัฒนธรรมในจีนลูกคอยจับผิดพ่อแม่และส่งข่าวให้พรรคคอมมิวนิสต์จีน ความรุนแรงนี้จะถูกกระพือด้วยกระแส IO ของแต่ละฝ่าย

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร

     
  6. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Vaccine war ภาคหก เบื้องหลัง Oxford vaccine
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 28/10/20

    ขบวนการที่จะได้วัคซีนจำนวนมากออกมาให้ได้ใช้ เบื้องหลังมีความซับซ้อนมากพอสมควร โดยเฉพาะวัคซีนสำหรับ Covid 19 สิ่งที่เริ่มต้นจากห้อง lab ของนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นคว้าพัฒนาวัคซีน เมื่อนักวิจัยพัฒนาวัคซีนได้ในขั้นแรกแล้ว ในโลกของทุนนิยม capitalism จำเป็นต้องอาศัยบริษัทยายักษ์ใหญ่ ในการที่ดำเนินการผลิต ซึ้งขบวนการผลิตจำนวนมาก สถาบันทางวิทยาศาสตร์ไม่สามารถดำเนินการเองได้

    เบื้องหลังที่น่าสนใจก็คือ วัคซีน Oxford สำหรับCovid 19 มหาวิทยาลัย Oxford มีนักวิจัยชั้นนำจำนวนมาก โดยเฉพาะการพัฒนาวัคซีน บทเรียนที่ Oxford เคยได้รับเมื่อ 100 ปีที่แล้วที่พัฒนาpenicillin ให้ใช้ในมนุษย์ แต่ผลประโยชน์ทั้งหมดจำนวนมหาศาลตกไปอยู่ที่บริษัทยาที่เข้ามาดำเนินการผลิต

    Penicillin ไม่ใช้บทเรียนเดียวที่ Oxford เคยได้รับจากบริษัทยา Oxford เคยให้บริษัทยายักษ์ใหญ่ Merck เข้าทำการผลิต cold วัคซีน จาก ลิงชิมแพนซี แต่เมื่อดำเนินการไปสักระยะ บริษัท Merck ได้ยกเลิกโครงการ เพราะเห็นว่าขั้นตอนที่ FDA จะอนุมัติ approve คงใช้เวลานาน ไม่คุ้มค่าทางธุรกิจ

    บริษัทยายักษ์ใหญ่เหล่านี้ ก็ต้องคิดแบบธุรกิจ เงินลงทุน ระยะเวลา โอกาสแห่งความสำเร็จ และกำไรสูงสุด เพื่อให้ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ขึ้นไปให้มาก บริษัทยาเหล่านี้ต้องมีความเสี่ยงในเงินที่ลงทุนไปจำนวนมหาศาล ถ้าวัคซีนไม่ประสบความสำเร็จ ทุกครั้งที่มีข่าวไม่ดีเกี่ยวกับเกี่ยวกับการทดลองวัคซีนในคนไข้ใน stage 3 ราคาหุ้นก็จะลง

    ตามขั้นตอนปกติ บริษัทยาจะลงทุนซื้อวัตถุดิบและดำเนินการผลิตต่อเมื่อแน่ใจว่าผ่าน phage 3 แล้ว แต่ในขณะนี้บริษัทยาใหญ่ เช่น Astra Zenaca ได้ดำเนินการผลิตวัคซีน นับร้อยล้าน dose เสร็จแล้วรออยู่ในโกดังที่โรงงานใน อิตาลี พร้อมที่จะส่งมาให้ใช้ถ้าผ่านการอนุมัติจาก FDA ของ EU ถ้าเกิดความล้มเหลว วัคซีนมีปัญหา บริษัทคงขาดทุนมหาศาล

    นักวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาวัคซีน Oxford ก็คือ Professor Adrain Hill และ Professor Gilbert จากสถาบันวัคซีนที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก Jenner Institute ในมหาวิทยาลัย Oxford สถาบันตั้งชื่อตาม Edward Jenner ผู้ค้นคิดวัคซีน small pox

    กลุ่มผู้บริหารของ Oxford ได้เห็นแล้วว่าจำเป็นต้องหาบริษัทยาขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการผลิตและแจกจ่ายวัคซีน COVID 19 จำนวนมหาศาล แต่จากประสบการณ์ก็ไม่ต้องการให้บริษัทยาได้รับผลประโยชน์มหาศาลไปฝ่ายเดียว ในขณะที่ผู้คิดค้นเเละ Oxford ได้เพียงเศษเงิน

    มูลนิธิ ของ Bill Gates คือ Bill& Miranda Gate Foundation ซึ้งเป็นผู้บริจาครายใหญ่ของ Oxford เป็นคนแนะนำให้ใช้บริษัทยาขนาดใหญ่เข้ามาดำเนินการผลิต ตอนแรกกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ใน Oxford จะให้ บริษัทVaccitech ของ Oxford ร่วมกับบริษัทยาหลายๆแห่งดำเนินการผลิต แต่ฝ่ายบริหารของ Oxford พิจารณาดูแล้วมีโอกาสล้มเหลวสูง

    ความจริง Oxford มีบริษัทธุรกิจคือ Vaccitech ซึ้งนักวิทยาศาสตร์ใน Oxford ถือหุ้นอยู่ด้วย แต่เป็นบริษัทขนาดเล็ก ไม่สามารถผลิตวัคซีนจำนวนมากได้ บริษัท Vaccitech ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อเป็น business unit ในการสนับสนุนนำเอา innovation ที่นักวิจัยของ Oxford คิดค้นมาสู่การตลาดเหมือนกันกับที่ Harvard และ Stanford ทำ

    ผู้บริหารของ Oxford ได้เจรจากับ บริษัท Merck ตั้งแต่เดือนมีนาคม และในที่สุดก็มาตกลงให้บริษัท Astra Zenaca เป็นผู้ดำเนินการผลิต เพราะมีข้อเสนอที่ดีกว่า

    บริษัท Astra Zenaca ยอมขายวัคซีน 3 billion dose ในราคาทุน และจ่ายเงินก้อนแรกให้ Oxford 10 million dollars และจะจ่ายให้อีก 80 million dollars เมื่อวัคซีนผ่านการอนุมัติ และค่าroyalties อีก 6% สำหรับวัคซีนที่จำหน่าย หลังจากการตกลงหุ้นของ Astra Zenaca ขึ้นมาถึง 400% คงมากกว่าเงินที่ได้จ่ายไป

    วัคซีน AstraZenaca ต้องไปบรรจุใส่หลอดแก้ว vial โดยบริษัท Catalent ในอิตาลีจำนวน 450 ล้าน dose

    Argentina และ Mexico และไทย ยอมเป็นฐานการผลิต Oxford วัคซีน 250 ล้าน doses ให้ AstraZenaca เพื่อหวังส่วนแบ่งวัคซีน

    วันที่ 27 ตุลาคม Astra Zenaca ประกาศว่าวัคซีน Oxford กระตุ้นให้เกิดการสร้าง antibody ในคนสูงอายุได้ดีเท่าคนหนุ่มสาว ทำให้ราคาหุ้นขึ้นไป 2%

    บริษัท Pfizer ก็ผลิตวัคซีน Covid 19 จำนวนนับร้อยล้าน dose เตรียมไว้แล้ว เพราะจะรอเริ่มผลิตเมื่อ FDA อนุมัติคงไม่ทันการ

    ทุนและการค้นคิดทางวิทยาศาสตร์คงต้อง support ซึ้งกันและกันในโลกแห่ง capitalism

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    ผู้อำนวยการ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร







     
  7. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    การอนุรักษ์ Conservatism ที่ดี
    ก็คือการ Compromise
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 03/11/20

    การเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลกล้วนมีการปรับเปลี่ยนมาตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัยและกาลเวลา เพื่อให้ประชาชนคนส่วนใหญ่อยู่รอดและมีชีวิตที่ดีขึ้น

    ในกระแสของการเปลี่ยนแปลง change ย่อมมีกลุ่มที่ยังชื่นซอบระบบเดิมอยู่ conservatatism อนุรักษ์นิยม คอยต้านกระแสการเปลี่ยนแปลง

    กลุ่มที่เป็น conservative มักเป็นฝ่ายที่ครองอำนาจอยู่ กลุ่มขุนนางและกลุ่มคนชั้นสูงที่มั่นคงในกลไกของสังคมแบบเดิม ไม่เเน่ใจผลจากการเปลี่ยนแปลง

    กลุ่มที่ต้องการการเปลี่ยนแปลงคือกลุ่มที่เสียเปรียบในระบบสังคมแบบเดิม กลุ่ม Liberals มักจะเป็นกลุ่มที่ต้องการการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน

    capitalism ระบอบของทุนก็มีส่วนสำคัญผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเพื่อให้โปร่งใส เพื่อให้มีการแข่งขันที่เป็นธรรม ไม่เกิดการได้เปรียบกันของกลุ่มคนในสังคมในการสร้างความมั่งคั่ง ตัวอย่างการที่ Bernei Sandler ผลักดันให้เก็บภาษีมากขึ้นสำหรับคนรวย

    ต้นแบบของการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดความรุนแรงขึ้น คือการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1688

    สงครามกลางเมืองอเมริกา 1776 เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เริ่มต้นด้วยสงครามและความรุนแรง แต่รูปแบบในการต้านทานการเปลี่ยนแปลงได้เปลี่ยนไปในปี 1789 อันเป็นแบบอย่างของ conservative ในระบบประชาธิปไตยตะวันตก คือไม่ใช้ความรุนแรง

    สงครามกลางเมืองอเมริกาเป็นการที่ฝ่ายเหนือนำโดย Lincon ต้องการเปลื่ยนแปลงระบบสังคมให้ civilization ขึ้นโดยไม่ใช้ทาสผิวดำ แต่ฝ่ายใต้ยังต้องการผลประโยชน์จากการมีทาส โดยเฉพาะการทำไร่ฝ้าย การเปลี่ยนแปลงต้องใช้สงครามคือความรุนแรง มีคนตายจำนวนมาก

    ในตลอด 200 ปีที่ผ่านมา มีความตึงเครียดเกิดขึ้นระหว่าง Coservatism กับผู้ต้องการการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในสังคมของประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย มีการเรียกร้องเปลี่ยนแปลงสิทธิความเสมอภาคของคนผิวสี ความเสมอภาคระหว่างเพศชายและหญิง เพศสภาพ สิทธิการทำแท้ง ในอเมริกา

    Robert Peel นายกอังกฤษผู้ก่อตั้งกรมตำรวจแห่ง London เป็นผู้ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ยกเว้นถ้าเป็นสิ่งจำเป็นจริงๆ ด้วยสันติวิธี

    สังคมเป็น dynamic ต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัยและกาลเวลา เพราะสิ่งหนึ่งที่เหมาะสมกับสังคมในช่วงเวลาหนึ่งอาจจะไม่เหมาะกับในอีกช่วงเวลาหนึ่ง

    และจะต้องมีสองฝ่ายคือฝ่ายที่ไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลง conservative และฝ่ายที่ต้องที่ต้องการเปลี่ยนแปลงซึ้งความขัดแย้งก็จะนำมาซึ้งวิธีการสองอย่าง คือแบบรุนแรงหรือแบบสันติวิธี

    แต่จากประสบการณ์ของประเทศตะวันตกในยุคสมัยใหม่พบว่าการอนุรักษ์ Conservatism ที่ดีที่สุดคือ การ compromise ยอมเปลี่ยนแปลงสิ่งที่จำเป็นต้องเปลี่ยนของสังคมตามยุคสมัย และจะสามารถเก็บรักษาสิ่งที่ฝ่ายอนุรักษ์ต้องการไว้ได้

    อังกฤษเป็นตัวอย่างของการต่อสู้อันยาวนาน ระหว่างการต่อสู้ของการได้มาซึ้งระบอบประชาธิปไตยที่สถาบันกษัตริย์ยังดำรงอยู่ได้อย่างสง่างาม ผ่านการแย่งชิงอำนาจระหว่างสภาขุนนางและสถาบัน จนค่อยๆมีการ compromise ผ่านความรุนแรงบ้างบางช่วงแต่มี peaceful transition ซึ้งต่างจากฝรั่งเศสและรัสเซีย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงและ radical สถาบันก็หายไป

    การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหยุดได้ แต่กระแสการเปลี่ยนแปลงบางอย่างที่ไม่เหมาะสมก็คงต้องหยุดไว้ ไม่ใช้ว่าการเปลี่ยนแปลงจะดีทุกอย่าง

    แต่มุมมองของฝ่าย conservative และ liberals และคนต่างรุ่นคงไม่เหมือนกัน การ compromise จึงดูจะเป็นหนทางที่ดีที่สุด แต่ก็ไม่ใช้เป็นเรื่องง่าย เพราะต่างฝ่ายต่างตั้งธงไว้แล้ว และถ้ามีเรื่องผลประโยชน์ของคนในสังคมที่ต่างกัน และที่สำคัญคือปรัชญาและความเชื่อที่ต่างกัน ยิ่งทำให้เป็นเรื่องยาก

    But which changes are invitable, and which should be resisted?

    นักอนุรักษ์ที่ฉลาดคงต้องยอม compromise เพื่อรักษาสิ่งต้องการไว้ ประวัติศาสตร์ทำให้เราได้เรียนรู้

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม

    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร



     
  8. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Herd immunity ภาคสี่ the unfinished story
    โดย นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    Published 01/11/20

    Herd immunity ภูมิคุ้มกันหมู่ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในวงนักวิชาการ นักการเมือง เมื่อมีกลุ่มนักวิชาการ epidemiologist สองกลุ่มที่ล้วนมาจากสถาบันที่มีชื่อเสียง แต่มีความเห็นไปคนละทางในการได้มาซึ้งภูมิคุ้มกันด้วย Herd immunity

    กลุ่มแรกประกอบด้วยนักวิชาการจากสถาบันที่มีชื่อเสียงเริ่มจากนัก Epidemiologist 3 สถาบัน Oxford , Stanfordและ Harvard มีนักวิชาการ 2,500 คนร่วมลงนาม Great Barrington Declaration ในวันที่ 4 ตุลาคม ที่เมือง Barrington รัฐ Massachusetts คัดค้านการ lockdowns และเห็นด้วยกับการใช้ herd immunity

    Drฺ Bhattacharya และDr. Kulkdorf นัก Epidemology จาก Stanfordและ Harvard ซึ้งอยู่ในกลุ่มที่สนับสนุน herd immunity ได้ให้สัมภาษณ์ว่าขณะนี้เรื่อง herd immunity ในอเมริกาเป็นเรื่องการเมืองไปแล้ว แทนที่จะเป็นเรื่องวิชาการอย่างเดียว เพราะเมื่อมีการชุมนุมของ black lives matter นัก Epidemologist 1,300 คนร่วมลงนามว่าการชุมนุมเป็น good public health practice แต่นักวิชาการกลุ่มเดียวกันกลับมาคัดค้าน herd immunity

    นักวิชาการทั้งสองยังกล่าวว่าตามหลักที่สำคัญใน public health ต้องมองผลในระยะยาว ไม่ใช้ระยะสั้น การ lockdowns ทำให้คนที่เป็นกลุ่มความเสี่ยงตำ่ คนหนุ่มสาว working class people ไม่ได้ออกไปทำงาน โดยเฉพาะคนยากจนที่ไม่อาจจะ working from home ได้ ทั่วโลกมีคน 130 ล้านคนต้องอดหยาก starvation เพราะการ lockdown อัตราการตายจาก Covid 19 ในคนที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ต่ำกว่า 1%

    การ lockdown ทำให้ระบบการฉีดวัคซีนของหลายๆประเทศล่มสลาย ดังนั้นหลังจาก Covid 19 จะเกิดโรคต่างๆที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนกลับมาระบาดอีก เช่น ไอกรน โปลิโอ

    นักวิชาการอีกกลุ่ม ส่านใหญ่มาจากฝากฝั่งอเมริกา นำโดยนักepidemiologist จาก Yale ออกมาค้านทันที ประกาศ John Snow memorandums ในนิตยสาร Lancet คัดค้านการใช้ Herd immunity สนับสนุนการ lockdown มีนักวิชาการ 80 คนที่ร่วมลงนาม ประธาน WHO และ Dr. Fauci ต่างออกมาแถลงสนับสนุน และโจมตีว่าการใช้ herd immunity เป็นอันตราย และเสี่ยงเกินไป John Snow เป็นบิดาแห่ง Epidemology เป็นชาวอังกฤษ เกิดในปี 1850

    ที่จะดูจะน่าขบขันคือ Dr. Fauci ผู้เชี่ยวชาญทาง infection ไม่ใช้ epidemiologist ออกมาแถลงถ้าใครมีความรู้ทาง epidemiology ก็คงไม่เห็นด้วยกับการใช้ herd immunity แต่ Dr. Fauci คงลืมไปว่า กลุ่ม Great Barrington Declaration ล้วนเป็น epidemiologist จากสถาบันชั้นนำของโลก เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ top ten ของโลก ก็ยากที่จะไม่ฟังความเห็นของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้

    สิ่งที่ทำให้เกิดความกระอักกระอ่วนใจอีกสิ่งคือ นิตยสาร Scientific Amarican ออกมาโจมตีคนที่ไม่เชื่อหลักฐานอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ ซึ้งคงมุ่งโจมตีไปที่ Trump แต่ก็มี side effect ถึง Dr. Fauci โดยไม่ตั้งใจ scientific American ออกบทความมาโจมตีการใช้ herd immunity

    และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 200ปีของนิตยสารทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่ของอเมริกา New England Journal of Medicine ที่มีบทบรรณาธิการโจมตีนักการเมืองคือ Trump ในการจัดการ Covid 19

    คำถามเดิมๆ ตลอด 9เดือนที่ Covid 19 ระบาด สวีเดนประสบความสำเร็จในการใช้ Herd immunity หรือไม่

    อีกคำถามคือ herd immunity เหมาะจะนำมาใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันหรือไม่

    คำตอบคือ herd immunity ถ้าจะนำมาใช้ คงจะใช้ได้กับบางประเทศเท่านั้น

    Herd immunity ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ ที่ไม่มีมาตรการที่ดี มีประชาชนมากและหนาแน่น และเกิดขึ้นเองเนื่องจากการควบคุมดูแลการระบาดไม่ได้คือหายนะ มีคนตายมากมาย ระบบสาธารณสุขล่มสลาย อย่างที่เกิดขึ้นในอินเดีย บราซิล

    ที่เมือง Manaus ในลุ่มน้ำ AmaZon คน 60%ติดเชื้อ Covid 19 โดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว ไม่มีการแจ้งเตือน เจ้าหน้าที่ไม่คาดว่าจะมีการระบาด เริ่มจากงานฉลอง Carnival คนหนึ่งใน 500 คนของเมืองนี้ต้องเสียชีวิต

    แต่ที่น่าสนใจคือ เปรู ซึ้งมีมาตรการ lockdowns ที่เข้มงวดที่สุดของโลก กลับมีอัตราการตายสูงที่สุด คือ 34,400 คนต่อประชากร 32ล้านคน ความจริงตัวเลขคนตายในเปรูอาจสูงถึง 80,000 คน การ lockdowns ที่เข้มงวดก็ไม่รับประกันความสำเร็จ

    สวีเดนไม่ต้องเผชิญกับ second wave เหมือนประเทศยุโรปอื่นๆ ถึงแม้ยังคงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นแต่อย่างช้าๆ ไม่มากขึ้นอย่างน่าตกใจเหมือน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน เบลเยี่ยม เช็คโก และประเทศยุโรปอื่นๆ ซึ้งต่างมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากอย่างน่ากลัว

    จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว สวีเดนคงเป็นประเทศที่เหมาะสมที่จะทำ herd immunity มากที่สุด เพราะประชาชนมีเพียง 10 ล้านคน และส่วนใหญ่อยู่กันไม่หนาแน่น เป็นสังคมที่มี high trust รัฐบาลและประชาชนมีความเชื่อใจกัน ประชาชนพร้อมปฎิบัติตาม ตลอด 9 เดือนที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนมาตราการตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา

    Concept ของสวีเดนก็คือ Covid 19 จะอยู่เป็นเวลานาน ถ้า strictly lockdown ประชาชนจะอ่อนล้าเหนื่อยหน่าย ซึ้งเราได้เห็นแล้วในหลายๆประเทศ มีการประท้วงการ lockdowns ที่ London

    และแม้แต่ที่ สาธารณรัฐเช็ค ประเทศที่เคยมี public obedience สูงยังมีการประท้วง เพราะความอ่อนล้าและเหนื่อยหน่ายต่อการ lockdowns ขณะนี้ระบบสาธารณสุขของเช็คกำลังใกล้จะล่มสลาย เช่นเดียวกันกับประเทศยุโรบตะวันออกอื่นๆ ซึ้งล้วน lockdowns อย่างได้ผลใน first wave เช็คมีอัตราการตายสูงสุดเพราะจำนวนคนป่วยที่มากขึ้น จำนวนคนติดเชื้อ 115 คนต่อประชากร 100,000 คน ต่อวัน ค่าเฉลี่ยของ EU 33 คนต่อ 100,000 คน ต่อวัน

    ทั้งๆที่ทำได้ดีมากใน first wave มีมาตรการ lockdown ดีที่สุด เร็วที่สุด. พอเกิด second wave เขื่อนแตก เอาไม่อยู่ สาธารณรัฐเช็คมีอัตราการติดเชื้อสูงสุดในยุโรปรองจากเบลเยี่ยม วันที่ 21 ตุลาคมมีคนตายวันเดียว 62 คน เช็คมีประชาชน 10 ล้านคนเท่าสวีเดน

    เป็นบทเรียนสำคัญสำหรับประเทศต่างๆว่าการ lockdown ที่ดีและความสำเร็จใน first wave ไม่รับประกันสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน second wave อาจเกิดจากความอ่อนล้าจาก firstwave ประเทศยุโรปตะวันออกที่ควบคุมได้ดีจากการ lockdowns ใน first wave ล้วนต้องเผชิญกับ second wave ที่หนักหนากว่า first wave ทั้งสิ้น

    Ross Clark เขียนใน Telegraph ว่าถ้า Boris Johnson เชื่อ Sir Patrick ใช้ herd immunity อังกฤษจะคงไม่ต้องมาลำบากกับการ lockdown ถึงสองรอบ และทุกอย่างก็จะดีขึ้นเหมือนสวีเดน เศรษฐกิจก็คงกลับมาแล้ว ไม่ต้องมาเผชิญกับภาวะตกงานอันสาหัส และการที่จะต้อง lockdowns เหมือนติดคุกอีกรอบ อาจนานถึงหกเดือน ตาม graph ของ Sir Patrick เป็น bell curve จะ peak ราวปลายเดือน เมษา และเดือนตุลาคมก็จะสิ้นสุดการระบาด เขาคัดค้านการ lockdowns รอบสอง เพราะจะทำให้การระบาดยื่นเวลาออกไปอีกถึงกลางฤดูหนาว ถ้าไม่ lockdowns จะจบลงเร็วขึ้นจาก herd immunity

    เบลเยี่ยมจะหนักหนาสาหัสที่สุดมีผู้ติดเชื้อใหม่ 135 คนต่อ 100,000 ต่อวัน

    สวีเดนไม่มีการปิดโรงเรียน เด็กๆสามารถไปโรงเรียนตามปกติ ห้ามรวมตัวกันเกิน 50 คน คนอายุมากกว่า 70 ให้ทำ self isolation ร้านอาหาร bar gym ยังคงเปิดบริการได้

    สวีเดนมีปัญหาในการ isolate ผู้สูงอายุในช่วงแรก ทำให้อัตราตายในช่วงแรกสูง แต่นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน อัตราตาย 10 ต่อประชาชน 100,000 คน ซึ้งเท่ากับเยอรมัน

    สำหรับผู้เดินทางมาจากส่วนอื่นของยุโรป ที่สวีเดนจะมีการ quarantines แค่ 7 วันแทนที่จะเป็น 14 วัน เหมือนประเทศอื่นๆ เพราะคิดว่ามีโอกาสน้อยในช่วง 7 วันหลัง และคิดว่าผลทางจิตใจจะสูงถ้าต้อง quarantines ต่อ

    สำหรับคนในครอบครัวที่อาศัยกับผู้ป่วยถ้าในวันที่ 5 ตรวจ test negative ไม่ต้อง quarantine ต่อจนครบ 14 วัน

    คำถามอีกข้อที่กลุ่มสนับสนุน herd immunity จะต้องตอบคือถ้าปล่อยให้มีคนติดเชื้อเพิ่มจะมีคนที่มีปัญหา long Covid 19 ซึ้งว่ากันว่ามี 5%-15% แต่ยังต้องศึกษาในรายละเอียดว่าความรุนแรงของปัญหาจะมีมากจริงๆหรือ เพราะคนที่ปัญหามากน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของคนที่มีอาการมากและเคยต้องรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล การศึกษาของ King college พบว่า risk factor ที่จะเป็น long Covid คือคนสูงอายุ และคนที่มีอาการ 5 อย่างขึ้นไป เเต่คนที่มีอาการน้อยและไม่มีอาการก็อาจเป็น long covid ได้ ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด คนมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการประมาณว่ามีถึง 80 %

    กลุ่ม long Covid กลุ่มใหญ่ที่พูดถึงคือกลุ่มที่เรียกว่า chronic fatigue syndrome ซึ้งเป็นกลุ่มโรคที่มี complex ของการรักษามาตั้งแต่ก่อนเกิด Covid ระบาด เพราะเกี่ยวกับ จิตวิทยาและ secondary gain โดยเฉพาะในระบบการแพทย์แบบอเมริกัน แต่แพทย์ส่วนหนึ่งเชื่อว่า chronic fatigue syndrome หลังจากติดเชื้อ Covid เนื่องจากมีความเสียหายของระบบประสาท hypothalamus

    ตามหลักของ John Snow ทำ lockdowns เพื่อรักษาชีวิตในช่วงแรก แต่ต้องกลับมามีปัญหาอีกในระยะต่อมา แต่หลักของ herd immunity และกลุ่ม Barrington คือยอมสละชีวิตบ้างในระยะแรก โดยเฉพาะคนแก่ เพื่อไม่ต้องมีปัญหาในระยะต่อมา แต่มีแง่คิดในด้านจริยธรรม

    ข้อมูลใหม่สุดจากการศึกษาของ Imperial college จากผู้ติดเชื้อ Covid 19 จำนวน 365,000 คน พบว่า antibody ที่ตรวจพบจะลดลงถึง 26 % จากการตรวจเดือนมิถุนายนและเดือนกันยายน ทำให้พวกที่ค้านการใช้ herd immunity ยกเป็นเหตุผลว่า herd immunity คงไม่ได้ผล แต่ความจริงผู้ติดเชื้อเหล่านี้ยังมีภูมิคุ้มกันที่สำคัญคือ T cell อยู่

    ที่สำคัญมีข้อมูลที่เคยรายงานจาก Iceland ร่วมกับ Harvard เป็นรายงานจากการติดตามผู้เคยติดเชื้อจำนวน 30,000 คนพบว่ามีผลตรงกันข้ามกับการศึกษาของ Imperial college คือ antibody ที่ตรวจพบในคนเคยติดเชื้อ Covid 19 ยังคงพบจำนวนมากอยู่หลังจาก 4 เดือน ดังนั้นอาจมีปัจจัยบางอย่างที่เรายังไม่รู้ในการศึกษาของ Imperial college

    แต่จากสถิติทั้งในยุโรปและอเมริกาถึงแม้จะมีคนติดเชื้อเพิ่มขึ้นมาก เเต่อัตราการตายจาก Covid 19 ตำ่ลงมากเมื่อเทียบกับในช่วงแรก ดังนั้นข้อแย้งจากกลุ่มที่สนับสนุนการ lockdowns ที่ว่าอาจจะทำให้คนตายจำนวนมาก คงมีนำ้หนักน้อยลง

    ในขณะนี้ระบบการแพทย์ของยุโรปและอเมริกาต้องรับภาระอย่างหนักเพื่อดูแลคนไข้ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจาก second wave อาจจะหนักหนามากกว่าช่วง peakในfirst wave ในขณะที่ สวีเดนสบายๆเหมือนเคย

    มีepidemiologist บางคนให้ความเห็นว่าถ้าใช้ herd immunity จะมีเพียง wave เดียว และไม่ต้องยืดยาวมาถึงฤดูหนาว ซึ้งต้องเกิดความยุ่งยากมากขึ้น

    ดังนั้นประเทศที่มีระบบสาธารณสุขและการแพทย์ที่ดี มีระบบ tracting และ testing ที่ดี การใช้ herd immunity อาจจะคุ้มค่ากับการได้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และ public health ในระยะยาว

    โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ ยงค์ศักดิ์ เลียงอุดม
    ผู้อำนวยการ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ
    เป็นความเห็นส่วนตัวไม่เกี่ยวกับองค์กร
















     
  9. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    #News1feed : รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของฮังการีตรวจพบติดเชื้อโควิด-19 ระหว่างเดินทางเยือนไทย ตามการเปิดเผยของนายอนุทิน ชาญวีรกูล รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข หนึ่งวันหลังจากที่รัฐมนตรีฮังการีเข้าร่วมการประชุมหารือกับนายกรัฐมนตรีฮุนเซนของกัมพูชา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9630000114400
    ............................................
    ● อีกช่องทางติดตาม NEWS1
    Line : http://nav.cx/4tvbDJ8
    Youtube : youtube.com/c/NEWS1VDO

     
  10. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    * Update:เหตุการณ์ก่อการร้ายที่เวียนนา*

    - คาดว่าแรงจูงใจของการก่อเหตุนั้นเกิดจากประเด็นเรื่องของทางศาสนา โดยมีการก่อเหตุในพื้นที่ 6 จุดรวมถึงบริเวณโบสถ์ยิว

    - จำนวนผู้ก่อการร้ายที่ยืนยันมี 1 คน (แต่จากการแถลงอาจจะมีเพิ่มเติมต้องรอดูที่การสืบสวนก่อนครับ)

    - มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 5 ราย(ชาย 2 หญิง 2 และผู้ก่อเหตุ โดยหนึ่งในนั้นเป็นคนเยอรมัน) ผู้บาดเจ็บบาดเจ็บ 22 ราย

    - ตำรวจทำการบุกค้นบ้านพักรอบๆ ผู้ก่อเหตุ เพื่อทำการสืบสวนจำนวน 18 หลัง และกำลังสืบสวนเพิ่มเติม

    - ชุดระเบิดที่คนร้ายสวมนั้นตรวจสอบแล้วเป็นระเบิดปลอม

    - สถานทูตไทย ณ กรุงเวียนนา Royal Thai Embassy Vienna ทำการออกประกาศเตือนคนไทยในเวียนนา โดยเฉพาะในเขต 1 ให้หลีกเลี่ยงการเดินทางด้วยรถโดยสารสาธารณะ รวมไปถึงขอให้อยู่ภายในที่พักและติดตามข่าวอย่างใกล้ชิด

    #พ่อบ้านเยอรมัน #เยอรมัน#เยอรมนี #Germany #Austria #Vienna #prayforvienna

    ประกาศแจ้งข่าวจากสถานทูต


    ที่มาของข้อมูล:
    https://www.washingtonpost.com/worl...b4e6ec-1d6f-11eb-ad53-4c1fda49907d_story.html

    https://www.theguardian.com/world/l...a-synagogue-terror-attack-police-live-updates

     
  11. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    โอวว นี่คืออีกหนึ่งโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญระหว่างเยอรมันกับเดนมาร์กเลยนะเนี่ย!!

    เมื่อทางการเยอรมันได้พิจารณาอนุมัติให้สร้างทางรถไฟ+ถนน ลอดผ่านใต้ทะเลระหว่างเยอรมันมุ่งสู่เดนมาร์ก เป็นระยะทางทั้งสิ้น 18 กิโลเมตร ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในโลกของถนนลักษณะนี้

    โดยโครงการนี้มีมูลค่าการลงทุนสูงถึง 7.1 พันล้านยูโร ซึ่งจะช่วยลดระยะทางในการเดินทางระหว่างประเทศได้เป็นอย่างมาก

    - ทางรถ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที
    - ทางรถไฟ ใช้เวลาประมาณ 7 นาที

    และนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศทั้งสองรวมไปถึงทำให้การคมนาคมในการเดินทางไปยังยุโรปเหนือนั้นสามารถทำได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยคาดว่าโครงการนี้จะเสร็จสิ้นในปี ช่วงกลางปี 2029

    ที่มาของข้อมูล: Archdaily

    #พ่อบ้านเยอรมัน #เยอรมัน #เยอรมนี #Germany #German #Infrastructure

     
  12. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    เห็ดพิษในไทยและยารักษา

    ไทยรัฐ สุขภาพหรรษา หมอดื้อ

    แกงเห็ดป่าที่นิยมอย่างมาก แต่เไม่ว่าจะมีประสบการณ์ในการเก็บของป่าแค่ไหนหรือมือใหม่ก็อาจพลาดและแยกแยะไม่ได้ เมื่อมีเห็ดพิษปนเข้ามาก็เป็นเรื่อง อยากให้ระวังการเก็บของป่า การกินอาหารป่า ทั้งนี้ต้องไม่ทำให้เกิดการบุกรุกป่า แย่ไปกว่าสภาพเดิมซึ่งก็อาจไม่ดีมากนักอยู่แล้ว การทำลายธรรมชาติยัง รวมถึงการก่อไฟไม่ระมัดระวัง ก็ทำให้เกิดความเสี่ยงไฟลุกลาม นอกจากนั้นยังอาจจะไปติดเชื้อโรคจากในป่ามาแพร่ให้คนใกล้ตัวอีกด้วย
    พูดถึงเรื่องเห็ดเพราะวันนี้จะเป็นการนำบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร Tropical Doctor เดือนมกราคม 2020 หัวข้อ Low-cost management of mushroom poisoning in a limited-resource area: a 12-year retrospective study หรือการรักษาคนไข้ที่กินเห็ดพิษเช่นเห็ดชะโงกซึ่งมีพิษร้ายแรงโดยใช้แค่ยาฉีดราคาถูกที่มีในโรงพยาบาลแทบทุกโรงพยาบาล โดยไม่จำเป็นต้องใช้ของฝรั่งแพง ๆ แถมยังดีกว่าอีกด้วย การศึกษานี้เป็นการศึกษาชนิดดูข้อมูลย้อนหลังของโรงพยาบาลจังหวัดเลย

    เห็ดระโงกพิษ ในสกุล Amanita ถือเป็นเห็ดพิษชนิดรุนแรงและเป็นอันตรายที่สุด มีพิษ Amatoxin (อมาทอกซิน) ที่ทนความร้อน ถึงจะกินสุกก็ยังตายได้อยู่ดี เห็ดประเภทนี้เจอได้ในประเทศไทยโดยเฉพาะทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยพิษจากอมาทอกซิน สามารถไปยับยั้งการทำงานของเอนไซม์สังเคราะห์พันธุกรรม (RNA polymerase 2) และหยุดการสร้างดีเอนเอ ซึ่งก็หมายความว่าจะไม่สามารถสร้างโปรตีนมาซ่อมแซมอวัยวะที่เสียหายจากฤทธิ์การทำลายดีเอนเอ (protoplasmic poison) ได้ ไปกระตุ้นให้เซลล์ตาย ตับเป็นอวัยวะที่เสียหายจากพิษนี้มากที่สุดเพราะการดูดซึมสารพิษจากการกินจะต้องผ่านตับก่อน และตับเองมีหน้าที่กำจัดสารพิษอยู่แล้ว

    เมื่อรับประทานเห็ดพิษ และไปโรงพยาบาลทันภายใน 1 ชั่วโมง แนะนำให้ สวนล้างกระเพาะอาหาร (gastric lavage) แต่หลังจากนั้นไม่มีประโยชน์ น้อยคนที่จะมาภายในเวลาและมาเมื่อเริ่มแสดงอาการในขั้นที่หนึ่ง เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ซึ่งจะเกิดภายใน 24 ชั่วโมง หลังกิน ปัญหาคือจะไม่สามารถแยกหรือแยกยากจากอาหารเป็นพิษได้ ที่เกิดประมาณ 6-12 ชั่วโมง ซึ่งการซักประวัติถึงการกินเห็ดจึงมีความสำคัญ และจะทำให้สามารถรักษาได้ทันท่วงที
    หลังจากการที่มีอาการแบบอาหารเป็นพิษไปแล้ว อาการจะดีขึ้น แต่จะเริ่มมีตับอักเสบโดย ค่าเอนไซม์ตับจะเริ่มขึ้นได้ตั้งแต่ช่วงสองวันแรกและเป็นช่วงเวลาที่จะต้องเริ่มการรักษาเพื่อกันไม่ให้ตับวาย
    เมื่อถึงวันที่สามหลังกินเห็ดพิษ โอกาสรักษาให้รอดนั้นต่ำลงพอสมควร ไปถึงวันที่สี่จะถึงขั้นที่สองที่มีอาการของตับวายแสดงออกมาเช่นตัวเหลือง ตาเหลือง ในขั้นที่สามเมื่อตับวายแล้ว ความดันโลหิตตก ไตวายจากการที่ร่างกายบีบเส้นเลือดที่เลี้ยงไตตีบจนขาดเลือด (Hepatorenal syndrome)
    สถิติการเสียชีวิตที่ถูกรวบรวมโดยศูนย์พิษรามาพบว่าสูงถึง 27.3% จากตับและไตวาย การกำจัดพิษนั้นทำได้หลายวิธี วิธีแรกคือการฟอกเลือด (hemodialysis) แต่ไม่ค่อยแนะนำเพราะความเสี่ยงสูง ยุ่งยากและราคาสูง ที่เหลือจะเป็นการใช้ยา และมียาใช้หลายตัวเช่น N acetylcysteine (NAC), benzylpenicillin, cimetidine แต่ไม่ได้มีแนะนำชัดเจนเพราะไม่มีการวิจัยมากพอ แต่ที่ใช้กันมานานในไทยคือ NAC ซึ่งเคยมีการศึกษาลงตีพิมพ์ในปี 2002 ว่าดีที่สุด โดยเป็นการเก็บข้อมูลแบบย้อนหลังถึง 20 ปีด้วยกัน หลังจากนั้นก็มียาฝรั่งชื่อ sibilinin ซึ่งทำงานโดยยับยั้งการ ทำงานของตัวรับสัญญาณ (OAT-P) และป้องกันไม่ให้มีการ ดูดซึมพิษเข้าไปในตับ ได้รับการรับรองสำหรับรักษาตับอักเสบที่เกิดจากพิษอมาทอกซิน แต่ปัญหาคือราคาที่แพงและไม่ได้มีเก็บไว้ทั่วไป
    เราจึงกลับไปดูที่จังหวัดเลยว่า 12 ปีที่ผ่านมาที่ใช้ ยา N-acetylcysteine (NAC) ผ่านทางสายเลือด ซึ่งราคาถูกและทุกโรงพยาบาลมี เพราะว่าใช้รักษาตับในคนไข้ที่กินยาพาราเกินขนาด ว่าใช้ได้ดีหรือไม่

    เราเริ่มจากการหาคนไข้ที่ลงประวัติว่ากินเห็ดพิษตั้งแต่ปี 2007 จนถึงปี 2018 มีทั้งหมด 83 คน จากนั้นเลือกมาเฉพาะคนที่ค่าตับผิดปรกติเกิน 2 เท่าของค่าปรกติ (ALT >130 U/L and AST >74 U/L) เพราะถ้าต่ำกว่านี้ อาจจะหายเองโดยไม่เกี่ยวกับยา และไม่ว่าจะมีโรคประจำตัวเดิมอยู่เท่าใดก็รวมมาในการศึกษาหมด และได้คนไข้มา 74 คน โดยทั้ง 74 คนได้รับ NAC แบบเดียวกับที่ให้ในคนไข้กินพาราเกินขนาด และพบว่ามีเพียง 4 รายที่เสียชีวิต คิดเป็น 5.4% ซึ่งต่ำมากเมื่อเทียบกับที่รวบรวมมาของศูนย์พิษรามา

    การคำนวณค่าตับอักเสบเฉลี่ยพบว่า ALT อยู่ที่ 587 และ AST อยู่ที่ 783 ซึ่งสูงกว่าค่าปรกติถึง 5 และ 10 เท่า เมื่อมาดู 4 คนที่เสียชีวิตแต่ละคนล้วนมีโรคตับแข็งระยะรุนแรงทั้งสิ้น ติดเหล้าเรื้อรัง หรือจากไวรัสตับอักเสบ สรุปว่าถ้ากินเห็ดพิษชนิดที่มีอมาทอกซินทำให้ตับวาย และล้างท้องไม่ทันก็ควรจะใช้ NAC ร่วมกับการให้สารน้ำและประคับประคอง ในการรักษาเท่านั้น ไม่ควรเสียเวลาไปหายาชนิดอื่น เช่น Sibilinin ซึ่งมีราคาสูงกว่าและไม่ได้มีประสิทธิภาพเท่า และเราแนะนำว่าถ้าจะใช้ ต้องใช้คู่กับ NAC เท่านั้นไม่ควรใช้เดี่ยว ๆ เพราะว่าประสิทธิภาพไม่ดี

    ยา NAC ทำงานโดยการเพิ่มความเข้มข้นของ glutathione ซึ่งในเห็ดพิษเราเชื่อว่า NAC ทำงานป้องกันตับในแบบเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูก นอกจากนั้นยังมีทุกโรงพยาบาลอีกด้วย ปัญหาที่พบส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของการแพ้ยาซึ่งก็เจอไม่มาก หลายอย่างเราทำได้ดีอยู่แล้วควรทำต่อไป ด้วยความเป็นห่วงครับ

     
  13. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ถือว่าเป็นอีกหนึ่งโครงการที่จัดมาอย่างต่อเนื่อง และสามารถช่วยเหลือประชาชนในการลดค่าครองชีพได้เป็นอย่างดี สำหรับตลาดพาณิชย์ลดราคา ช่วยประชาชน ลอต 7 กว่า 13,700 รายการ โดยลดสูงสุดถึง 70% เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 และเป็นการช่วยเหลือประชาชนให้สามารถซื้อสินค้าอุปโภค-บริโภค ในราคาที่ถูก และมีคุณภาพได้
    .
    โดยวันนี้ นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ รองนายกรัฐมนตรี และรมว.พาณิชย์ นำกระทรวงพาณิชย์เปิดโครงการช่วยลดภาระค่าครองชีพให้กับประชาชนและผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ คือโครงการพาณิชย์ลดราคา ช่วยประชาชน ลอตที่ 7 ลดสูงสุด 70% ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19)
    .
    รวมทั้งเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของรัฐบาล โดยได้ร่วมมือกับภาคเอกชน ซึ่งประกอบด้วย ผู้ผลิต ผู้จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ห้างค้าปลีกค้าส่งสมัยใหม่ และห้างท้องถิ่น
    .
    นายจุรินทร์ นำจัดงานพาณิชย์ลดราคา ช่วยประชาชน เพื่อลดราคาสินค้าอุปโภคบริโภค มาแล้วถึง 6 ครั้ง ซึ่งได้มีการจัดกิจกรรมลงลึกถึงระดับหมู่บ้าน ซึ่งสามารถช่วยลดค่าครองชีพให้ผู้บริโภคในวงกว้างได้อย่างแท้จริง สำหรับงานวันนี้ พาณิชย์ลดราคา ! ช่วยประชาชน LOT 7 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 รวมระยะเวลา 30 วัน
    .
    โดยภายในงาน มีการจำหน่ายสินค้าในหมวดอาหาร และเครื่องดื่ม อาหารปรุงสำเร็จแช่แข็ง ซอสปรุงรส ของใช้ประจำวัน ผลิตภัณฑ์ชำระร่างกาย ผลิตภัณฑ์ซักล้าง รวมกว่า 13,700 รายการ ลดราคาสูงสุดถึงร้อยละ 70
    .
    ซึ่งคาดว่าสามารถช่วยลดภาระค่าครองชีพประชาชนได้ประมาณ 500 ล้านบาท ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยให้เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น และกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นไปด้วย
    .
    นายจุรินทร์ ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า ขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการจัดงานครั้งนี้ขึ้น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการจัดงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศชาติแบบนี้ในโอกาสต่อไปด้วย

    -------------------------------
    แหล่งข่าว

    https://www.thairath.co.th/news/bus...hd1SWKU1ltuSC6Pg38Spuyv55zhTVZQyKm0G0Z1wNxp0c
    -------------------------------
    ติดตามข้อมูลข่าวสาร รู้ไทย รู้โลก กับ Thailand Vision ได้ที่
    Website : http://www.thailandvision.co
    Facebook : https://www.facebook.com/thvi5ion
    Twitter : https://twitter.com/Thailand_vision
    Youtube : https://www.youtube.com/c/Thailandvision

     
  14. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    หลังจากที่ได้มีการแฉวิธีการโกงมาตรการคนละครึ่ง ระหว่างร้านค้า และลูกค้า ซึ่งในภายหลัง กระทรวงการคลัง ได้ออกมาบอกว่า การทำแบบนี้มีความผิดฐานฉ้อโกงเงินแผ่นดิน ซึ่งจะรีบดำเนินคดีกับร้านค้าที่กระทำการโกงในลักษณะนี้โดยด่วน
    .
    ล่าสุดวันนี้ นายพรชัย ฐีระเวช ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการเงิน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในฐานะรองโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า นายอรรถพล อรรถวรเดช รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ได้เข้าพบ พล.ต.ต.ไมตรี ฉิมเฉิด ผู้บังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (ผบก.ปอศ.)
    .
    นำส่งข้อมูลสำหรับใช้ในการสืบสวนสอบสวน และแสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติม เพื่อดำเนินคดีกับร้านค้าจำนวน 3 ราย ณ กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (ปอศ.) ถนนสาทร แขวงสีลม เขตบางรักกรุงเทพฯ
    .
    ทั้งนี้ กระทรวงการคลังโดย สศค. ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาตรวจสอบข้อมูล และเรื่องอุทธรณ์สำหรับโครงการคนละครึ่งเพื่อดำเนินการตรวจสอบพิจารณา และวินิจฉัยการกระทำที่อาจเข้าข่ายผิดเงื่อนไขโครงการ ซึ่งในขณะนี้พบว่ามีร้านค้าจำนวน 3 ร้านค้า มีเหตุอันควรสงสัยว่าเข้าข่ายไม่ปฏิบัติตาม หรือฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขของโครงการคนละครึ่ง ซึ่งคณะทำงานฯ ได้ดำเนินการระงับสิทธิการใช้แอปพลิเคชัน ถุงเงิน และระงับการจ่ายเงินให้แก่ร้านค้าดังกล่าวแล้ว
    .
    นายพรชัย ได้กล่าวว่า กระทรวงการคลัง และธนาคารกรุงไทยได้มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อติดตามตรวจสอบพฤติกรรม หรือธุรกรรมที่ผิดปกติ ซึ่งหากตรวจสอบพบการใช้จ่ายที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขโครงการ จะมีการระงับการใช้แอปพลิเคชัน และระงับการจ่ายเงินร้านค้าทันที
    .
    จึงขอเตือนประชาชน และร้านค้าโปรดอย่าหลงเชื่อการเชิญชวนตามโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆ ที่เป็นการดำเนินการผิดเงื่อนไขโดยไม่มีการใช้จ่ายซื้อสินค้าจริงอย่างเด็ดขาด เพราะอาจตกเป็นเหยื่อในการสนับสนุนให้เกิดการกระทำความผิดซึ่งจะมีโทษตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องไปด้วย
    .
    นายพรชัย ได้ย้ำว่า โครงการคนละครึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าครองชีพของประชาชน และกระจายรายได้ให้กับร้านค้ารายย่อยโดยเฉพาะหาบเร่แผงลอยให้มีรายได้จากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น ซึ่งขณะนี้โครงการได้รับกระแสตอบรับเป็นอย่างดี โดยข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 เวลา 12.00 น. มียอดใช้จ่ายสะสม 5,815.37 ล้านบาท
    .
    แบ่งเป็นเงินที่ประชาชนจ่าย 2,966.46 ล้านบาท และรัฐช่วยจ่ายอีก 2,848.91 ล้านบาท มีร้านค้าเข้าร่วมกว่า 4.5 แสนร้าน จึงขอความร่วมมือประชาชน และร้านค้าให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการ อย่าให้มีการดำเนินการไปในทางมิชอบ เพื่อมิให้ทำลายบรรยากาศของการดำเนินโครงการคนละครึ่ง

    -------------------------------
    แหล่งข่าว

    https://www.posttoday.com/finance-s...WNyAkZ0feLncQHPXgNqQuvUg4PBaKTM6hslWMM6f6ajtc
    -------------------------------
    ติดตามข้อมูลข่าวสาร รู้ไทย รู้โลก กับ Thailand Vision ได้ที่
    Website : http://www.thailandvision.co
    Facebook : https://www.facebook.com/thvi5ion
    Twitter : https://twitter.com/Thailand_vision
    Youtube : https://www.youtube.com/c/Thailandvision

     
  15. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ดร.ไตรรงค์ สุวรรณคีรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี ได้ออกมาโพสต์ข้อความผ่านเฟชบุ๊กส่วนตัวโดย พูดกรณีทฤษฎีที่จะช่วยให้ประเทศไทยของเรามีความสมานฉันท์เกิดขึ้นได้ ซึ่งได้ยกทฤษฎีของฮาร์วาร์ดมา โดยมีรายละเอียดว่า การที่จะทำให้ประเทศหยุดความขัดแย้ง และกลับมามีความสมานฉันท์นั้น วิธีการคือต้องใช้บุคคลที่ 3 ที่ไม่มีผลประโยชน์ได้เสียกับปัญหาความขัดแย้งเป็นคนเจรจา เจรจาจนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับได้ แล้วจึงค่อยเรียกสองฝ่ายที่ขัดแย้งมานั่งโต๊ะเจรจา จึงจะมีทางออกให้กับประเทศได้ ซึ่งข้อความทั้งหมดในโพสต์ ดร.ไตรรงค์ ได้ระบุว่า
    .
    วิธีให้เกิดความสมานฉันท์โดยการเจรจา (ทั้งในเชิงทฤษฎี และภาคปฏิบัติ)

    ==========

    1. ผู้เข้าร่วมในขบวนการเจรจาทุกคนต้องเป็นคนที่มี “ศีล” อย่างน้อย 3 ประการ ดังต่อไปนี้

    ...

    1.1 ต้องเป็นผู้ที่ #ไม่คิดจะเบียดเบียนทำร้ายผู้อื่นที่เห็นต่าง ทั้งในเรื่องเกียรติยศชื่อเสียง และร่างกาย คือจะไม่คิดทำร้ายผู้อื่น ทั้งทางกายทุจริต มโนทุจริต และวจีทุจริต
    .
    1.2 #ต้องเป็นคนไม่มักใหญ่ใฝ่สูง อยากได้ตำแหน่งทางการเมือง ก็เพื่อจะไปกอบโกยโกงกินโดยหน้าด้านอ้างประชาชน และประชาธิปไตยบังหน้า คนเช่นนี้จะมีแต่การดันทุรังต่อรองเพื่อจะเอาชนะ ถือหลักว่า ถ้ากูไม่ชนะพวกมึงก็อย่าหวังจะได้รับความสะดวกในกิจการต่าง ๆ ชาติฉิบหายช่างหัวมัน
    .
    1.3 #ต้องไม่เป็นคนปากอย่างใจอย่าง เป็นพวกที่เห็นการพูดเท็จ และบิดเบือนข้อมูลให้คนอื่นหลงผิดเป็นเรื่องธรรมดาเป็นกลยุทธ์ที่เขาใช้โดยไม่มีความรู้สึกอับอายหรือเป็นพวกขาด หิริ โอตตัปปะ อย่างแรง

    ==========

    2. ผู้เข้าร่วมในขบวนการเจรจาทุกคนต้องเป็นคนที่มี “ธรรม” อย่างน้อยที่สุดต้องมี “พรหมวิหาร 4” คือ
    ...
    2.1 มี #เมตตา คือ เป็นคนที่อยากให้ประชาชนมีความสุข มีความสงบ ไม่ต้องอยู่ด้วยความกลุ้มใจหวาดผวา ต้องไม่ใช่คนประเภทที่ถือหลักว่า “ถ้าไม่ได้ตามใจกู กูจะไม่ยอมให้ใครมีความสุข”
    .
    2.2 มี #กรุณา คือ เป็นคนที่เมื่อเห็นคนไทยและประเทศไทยมีความทุกข์อยู่แล้ว ไม่ว่าเพราะได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของโลก และจากการต้องป้องกันตนมิให้ติดโรคโควิด-19 ก็ไม่คิดจะซ้ำเติมเพิ่มทุกข์ ผู้เข้าร่วมเจรจาจะต้องไม่ใช่มนุษย์ประเภทถ้าไม่เห็นด้วยกับพวกกู กูอยากจะเพิ่มทุกข์ให้แก่พวกมัน แม้พวกกูจะมีปริมาณน้อยกว่าอย่างมากมายก็ตาม
    .
    2.3 มี #มุทิตาจิต คือ ต้องเป็นคนที่ไม่มีความอิจฉาริษยา แบบว่าไม่อยากเห็นใครได้ดีกว่าตนเอง ต้องพยายามแกล้งมัน ขัดแข้งขัดขามัน เพราะมันไม่ใช่พวกกู แม้มันจะไม่ได้ทำผิดอะไรเลย ก็ต้องหาเรื่องใส่ร้ายมันอย่างน้อยก็ต้องตั้งข้อหาว่า มันอยู่เบื้องหลังการยกร่างรัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (เพราะเท่าที่ผมทราบคณะกรรมการยกร่างพิจารณากันอย่างอิสระเสรีโดยเขียนขึ้นให้เข้ากับบริบทของประเทศไทยไม่คิดจะคัดลอกประเทศใด ๆ มาแบบ 100% แต่ก็ไม่ใช่จะแก้ไขไม่ได้)
    .
    2.4 มี #อุเบกขา หมายถึง บุคคลที่ไม่มีพฤติกรรมดังต่อไปนี้ ไม่คิดที่จะอุ้มเมื่อประเทศซวนเซ เหมือนพ่อแม่ที่คอยประคองลูกตอนหัดเดิน คนประเภทนี้จะชอบนั่งดูเฉย ๆ หรือไม่ก็ซ้ำเติมเพราะเกลียดคนส่วนใหญ่ที่เสือกไม่เข้าข้างกู (หนังสือที่ควรอ่านประกอบคือพระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก เขียนโดยสมเด็จพระพุุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตฺโต)

    ==========

    3. ตามทฤษฎีที่เขาใช้ปฏิบัติ ในการสร้างความสมานฉันท์เกิดขึ้นได้ โดยการเจรจาระหว่างกลุ่มชนที่ขัดแย้งกันนั้น เขาจะไม่เรียกคู่ขัดแย้งมาเจรจากันต่อหน้า (ยิ่งถ้าเจรจาสดผ่านทีวีถือว่าบ้าหนัก) เพราะโดยพื้นฐานที่ทุกคนจะมีความไม่มีศีล และความไม่มีธรรมในข้อ 1 และ 2 อยู่ในสันดานมากน้อย แล้วแต่การศึกษา และการอบรม จึงทำให้ไม่มีใครยอมใครกัน โดยเฉพาะต้องให้การเจรจาถูกใจกองเชียร์ที่อยู่ข้างหลังด้วย

    ==========

    ตามทฤษฎีที่หลายแห่งในโลกทำสำเร็จเขาจะ #ใช้บุคคลที่ 3 ที่ไม่มีผลประโยชน์ได้เสียกับปัญหาความขัดแย้งเป็นคนเจรจา สมมุติว่า คู่ขัดแย้ง คือ กลุ่ม A กับกลุ่ม B คนเจรจา คือ นาย C (บุคคล หรือคณะบุคคลก็ได้) จะไปเจรจากับกลุ่ม A ได้ความอย่างไรก็มาเจรจากับกลุ่ม B แล้วนำข้อเสนอของกลุ่ม B ไปเจรจากับกลุ่ม A อีก ทำสลับกันไปมาอย่างนี้ จนเมื่อได้ข้อตกลงที่ทั้งสองฝ่ายพอจะยอมรับกันได้แล้ว จึงจะเรียกทั้งสองฝ่ายมาเจรจากันรอบ ๆ โต๊ะเจรจา เพื่อยืนยันข้อตกลง
    .
    สงครามระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียกับกบฏแยกดินแดนรัฐอาเจะห์ยุติได้ ก็โดยวิธีนี้ คนที่อยากให้เกิดความสมานฉันท์กรุณาไปศึกษาเอาเองครับ ถ้าไม่เชื่อผม #ความสมานฉันท์ที่ฝันกันนั้นคงเกิดได้ยาก
    .
    คราวที่แล้วก็เจ๊งมาแล้ว #จะให้เจ๊งซ้ำอีกสักกี่หนไม่ทราบครับ
    .
    ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ที่สอนทฤษฎีนี้ให้กับผม

    -------------------------------
    แหล่งข่าว



    https://www.thaipost.net/main/detail/82756

    -------------------------------
    ติดตามข้อมูลข่าวสาร รู้ไทย รู้โลก กับ Thailand Vision ได้ที่
    Website : http://www.thailandvision.co
    Facebook : https://www.facebook.com/thvi5ion
    Twitter : https://twitter.com/Thailand_vision
    Youtube : https://www.youtube.com/c/Thailandvision

     
  16. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    นับจนถึงเวลา 20.30 น ของวันพุธที่ 4 พฤศจิกายนตามเวลาในประเทศญี่ปุ่น ทุกรัฐของสหรัฐกำลังอยู่ระหว่างการนับคะแนนเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ โดยอีกไม่นานเราก็จะได้ทราบกันว่าใครคือผู้ชนะในการเลือกตั้งครั้งนี้ ระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์กับนายโจ ไบเดน ผู้ท้าชิงจากพรรคเดโมแครต

    การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในปีนี้แตกต่างไปจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากการระบาดใหญ่ของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ เจ้าหน้าที่ระบุว่ามีการลงคะแนนเสียงล่วงหน้าก่อนวันเลือกตั้งมากกว่า 100 ล้านเสียง ถือเป็นจำนวนมากที่สุดเป็นประวัติการณ์

    มหาวิทยาลัยฟลอริดาวิเคราะห์แนวโน้มดังกล่าวและระบุว่ามีบัตรเลือกตั้งประมาณ 65 ล้านใบที่ส่งเข้ามาทางไปรษณีย์ การลงคะแนนเสียงทางไปรษณีย์ที่เพิ่มขึ้นนี้อาจมีผลสำคัญต่อจำนวนคะแนนเสียงเลือกตั้ง

    ผู้คนจำนวนมากในฟลอริดาระบุว่าพวกตนต้องการออกมาแสดงสิทธิของตนเอง บางคนกล่าวว่ากระบวนการลงคะแนนเสียงนั้นง่ายดายอย่างคาดไม่ถึง แม้ว่าจะมีการปรับเปลี่ยนเนื่องจากการระบาดใหญ่ของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่

    ด้านตำรวจก็เตรียมพร้อมต่อเหตุวุ่นวายที่อาจเกิดขึ้นได้ ไม่ว่าผลการเลือกตั้งจะออกมาอย่างไรก็ตาม บรรดาธุรกิจและร้านค้าต่าง ๆ ในบางพื้นที่ของสหรัฐดำเนินมาตรการเฝ้าระวังการปล้นหรือการก่อเหตุโจมตีรุนแรงอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น

    ติดตามรายละเอียดของข่าวอื่น ๆ ได้ที่นี่
    https://www3.nhk.or.jp/nhkworld/th/news/

     
  17. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    สถานการณ์คะแนน Delegates ค้างอยู่กลางอากาศมา 2-3 ชั่วโมงในตอนบ่ายวันนี้ ทำให้หลายๆคนที่เชียร์ Joe Biden และพรรค Democrat เริ่มรู้สึกเป็นกังวลกันขึ้นมาบ้างแล้ว ว่า Joe Biden อาจจะไม่ได้รับชัยชนะอย่างที่มีการคาดการณ์ไว้ตั้งแต่แรก

    เพราะรัฐที่ยังนับคะแนนไม่เสร็จ และรัฐที่กำลังใกล้จะนับคะแนนเสร็จในช่วง 2-3 ชั่วโมงถัดๆไปนั้น คะแนนของ Biden ไม่ได้ทิ้งห่างกับ Trump มากนัก ทำให้มีโอกาสค่อนข้างสูงที่สถานการณ์ของฝั่ง Trump จะพลิกกลับมารับชัยชนะได้ คล้ายกับเมื่อปี 2016 ที่ Trump แพ้ให้แก่ Clinton ในหมวดคะแนน Popular Vote แต่กลับได้รับชัยชนะในหมวด Electoral College

    ทำให้เกิดคำถามตามมา คือ:

    1. ทำไมคนยังรัก และยังชอบ Donald Trump กันอยู่ ?

    และ

    2. Donald Trump ทำตัวบ้าๆบอๆ บ้าระห่ำขนาดนี้ คนเกลียดก็มีเยอะ แต่ทำไมในการเลือกตั้งปี 2020 นี้ คนกลับหันมากาให้ Trump มากกว่าปี 2016 อีก ?

    อันนี้ผมมีคำตอบให้ครับ ก่อนอื่นเราต้องแยกส่วนกันก่อนเวลาเราจะมองไปที่การเลือกตั้งที่สหรัฐอเมริกา หรือจะประเทศใดๆก็ตามที่ไม่ใช่ประเทศไทยเรา ผมอยากให้คิดเสมอว่ามันไม่ใช่ประเทศของเรา และเราไม่ใช่พลเมือง Native ของประเทศแห่งนั้นๆ

    การที่เรามองเข้าไปที่การเมืองภายในประเทศเขา ให้คิดตระหนักไว้เลยว่า เรากำลังมองเข้าไปในฐานะ 'คนนอก' (non-native) กันอยู่ ไม่ใช่ 'คนใน' (native) และการมีสถานะเป็นคนนอกของเรานั้น ก็เท่ากับว่าในเบื้องต้นเรามีพื้นเพ หรือพื้นฐานประสบการณ์ที่ไม่เท่ากับคนในประเทศเขาแล้ว

    ดังนั้นการที่เราเห็นว่านักการเมืองคนใดเลว ประธานาธิบดีคนไหนไม่ดี บ้าระห่ำ บ้าๆบอๆ ทำตัวเพี้ยนๆ เช่น Donald Trump เป็นตัวอย่าง เราต้องพิจารณาและแยกแยะก่อนเป็นอันดับแรกว่าเรากำลังมองจากมุมของคนที่ไม่เคยสัมผัสประสบการณ์ความเลวของ Donald Trump แบบมือที่ 1 (first-hand experience)

    ที่เราเห็นว่า Trump เลว Trump เป็นคนบ้า เป็นคนโง่นั้น เราอาจจะกำลังเห็นแค่มุมมองบุคคลที่ 3 บุคคลที่ 4 บุคคลที่ 5 ตามที่สื่อเขาฉายให้เห็นแต่เพียงอย่างเดียวก็ได้ ซึ่งก็ล้วนเป็นประสบการณ์มือสองทั้งสิ้น และนั่นก็จะเป็นปัจจัยทำให้เรารับข้อมูล รับประสบการณ์คนละแบบกับคนอเมริกาที่อยู่อาศัยในอเมริกา มีสิทธิเลือกตั้งในอเมริกาจริงๆ

    ในขณะที่คนอเมริกาเขาอยู่อาศัยในอเมริกา เขาเป็นผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง Trump เข้ามา เข้าได้สัมผัสโดยตรง ว่า Trump ทำอะไรให้กับพวกเขาบ้าง ชีวิตพวกเขาดีขึ้นหรือแย่ลง ก็เป็นประสบการณ์ที่เขาได้รับกันเองตลอด 4 ปีที่ผ่านมานี้ Trump ทำอะไรให้ประเทศตัวเองบ้าง เราอยู่ไทยเราก็อาจจะไม่ได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากเท่าคนอเมริกา เพราะเราก็เห็นได้จากสื่อ ได้จากรายงาน เป็นข้อมูลมือสอง

    ข้อมูลที่สื่อนำมาเสนอในไทย หรือนำมาแปลในไทย ก็แค่บางส่วนที่ Trump ทำ ไม่ได้นำทุกอย่างมาเสนอ เราก็เลยไม่ได้ผ่านตา หรือไม่ค่อยได้สัมผัสกัน แต่ไอ้การที่ประชาชนกว่า 65,000,000 คนในอเมริกาเลือก Trump ในวันนี้ (มากกว่าการเลือกตั้งปี 2016 หลายเปอร์เซ็น) มันต้องมีอะไรสักอย่างแล้วครับ ที่เป็นแรงจูงใจให้เขากลับมาเลือกอีก

    เราอาจจะมองว่าคนอเมริกา 65,000,000 คนที่กำลังกาคะแนนให้ Trump ในวันนี้นั้นบ้า หรือ โง่ที่ไปเลือกคนแบบ Trump มาบริหารประเทศ แต่อย่าลืมว่าเรากำลังมองในฐานะคนนอก ถ้าเราปรับมุมมองมาคิดในแบบคนอเมริกา คิดในมุมของคนที่เป็นฐานเสียงให้ Trump เราอาจจะเห็นอีกแบบหนึ่งก็ได้ครับ

    ดังนั้นจึงอนุมานได้อย่างหนึ่งเลยว่า คนที่เลือก Trump อยู่เนี่ย ถ้าไม่ใช่เพราะอุดมการณ์ ก็อาจจะเพราะชีวิตเขาดีขึ้นจากผลของนโยบาย America First และสงครามการค้ากับจีนที่ Donald Trump ประกาศใช้ตลอดช่วง 4 ปีที่ผ่านมานี้

    หลักง่ายๆครับ อันนี้ยังไม่ได้พูดไปถึงเรื่องนโยบาย Trump ดีหรือไม่ดีในเชิงระบบ หรือในเชิงกระบวนการองค์รวมนะครับ แค่กำลังบอกเหตุผลว่าทำไมคนอเมริกาจำนวนมากถึงยังรัก Donald Trump และเลือกกาให้ Donald Trump กันอยู่ คือ มันเป็นเรื่องของนโยบายประชานิคม (populism) น่ะ ประชาชนได้ประโยชน์จากนโยบายเขาก็เลือกต่อ แค่นั้นเอง

     
  18. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    จำคุกพนักงาน #HongKong telecoms ฐานเปิดเผยข้อมูลตำรวจ ให้แก่ม็อบฮ่องกง
    .
    โดยในช่วงเวลาของการประท้วงฮ่องกงการปะทะกันระหว่างผู้ประท้วงและตำรวจทำให้ฝ่ายที่สนับสนุนผู้ประท้วง นาย Chan King-hei ซึ่งเป็นพนักงานของ #HongKong telecoms นำข้อมูลของตำรวจที่เป็นตำรวจปราบปรามมาเปิดเผยแก่ผู้ชุมนุม ทำให้ตำรวจหลายคนถูกคุกคามและถูกบูลลี่ในอินเทอร์เน็ต
    ภายหลังเขาที่ถูกไล่ออกและถูกดำเนินคดีโดยวันนี้ศาลตัดสินจำคุกเขาเป็นเวลา 2 ปีจากการเปิดเผยข้อมูลของตำรวจ โดยคดีแพ่งยังไม่จบสิ้นเขาอาจจะต้องจ่ายค่าเสียหายอีกจำนวนมากให้แก่บรรดาตำรวจ และบริษัท

     
  19. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    “ซาอุดี อารามโก” บริษัทค่าน้ำมันของรัฐบาลซาอุดิอาระเบีย เผยกำไรในไตรมาส3 ปี 2563 อยู่ที่ 1.18 หมื่นล้านดอลลาร์ ร่วงลง 45% เหตุดีมานด์ซบ และราคาน้ำมันร่วง ในสถานการณ์ระบาดโควิด-19
    โดยสถานการณ์การระบาดของ covid 19 ทำให้อัตราการใช้น้ำมันลดลงเนื่องจากหลายๆส่วนของโลกทำการล๊อคดาวน์ อุตสาหกรรมการบินที่ต้องติดตัวทำให้รายได้ของอุตสาหกรรมน้ำมันลดลงอย่างต่อเนื่อง
    #กรุงเทพธุรกิจ #กรุงเทพธุรกิจออนไลน์

     
  20. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,319
    ค่าพลัง:
    +97,150
    อินเดีย : ชาวฮินดู ต่างสวดภาวนาให้นาย โดนัลด์ ทรัมป์ มีชัยในการเลือกตั้ง 2020
    พวกเขาหวังว่าสหรัฐ นำโดย นายโดนัลด์ ทรัมป์ จะมาคานอำนาจ ปากีสถาน และจีน
    #หากย้อนไปช่วงนาย โดนัลด์ ทรัมป์ ป่วยติดเชื้อโควิด ชาวฮินดูก็สวดภาวนาให้เขาหายป่วย พวกเขานับถือและบูชาดังเทพเจ้า

     

แชร์หน้านี้

Loading...