ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    © Painting by Atlas van Stolk
    The Great Comet of 1680 - Rotterdam
     
  2. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    what is comet ? | ดาวอะไรมีหาง
    http://daejeonastronomy.exteen.com/20130610/introduction-to-comet-10

    Tracking comet ison LIVES From SKY
    ที่นี่ ครับ
    Comet ISON (C/2012 S1) Tracker - The Sky Live

    Comet Ison ; News, Facts and Infromation
    web ของประเทศอังกฤษ
    ที่นี่ครับ
    Comet ISON 2013 - Facts, Information and LIVE Distance Data

    และนี่ของกูรูตัวแม่ NASA
    Comet ISON Observing Campaign

    Tracking orbit day by day
    Anticipated STEREO observations of Comet ISON
    http://stereo-ssc.nascom.nasa.gov/comet_ison/

    comet ison FAQ
    เช่น ถ้ามันมาแล้วตรูจะตายมั้ยเนี่ย
    http://www.nightskyinfo.com/ison/#11
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2013
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขอย้าย เกี่ยวกับ ดาวหาง C/2012 S1 (ISON) มารวมกันไว้ที่นี้นะครับ
    ----------------------------------------------------------------------------------------------


    ผมอัพโหลดยูทูบ โดยพยายามให้เห็นมุมระหว่างโลกกับดาวหางว่าอยู่ใกล้-ไกลกันอย่างไร ดาวหาง ISON ไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกับดาวนพเคราะห์ โดยเข้ามาตัดกับระนาบดาวเคราะห์ระหว่างดาวศุกร์กับโลก และค่อนเข้ามาทางโลก

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/H07K68eqZYo?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    เพิ่มเติม : เส้นวงโคจรของดางหาง เส้นสีฟ้า จะอยู่เหนือ ระนาบดาวเคราะห์ ส่วนเส้นสีน้ำเงิน จะอยู่ใต้ระนาบดาวเคราะห์


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/aC0a3-OKC5Q?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    อันนี้เพิ่งอัพโหลดเมื่อเช้า

    <iframe width="640" height="390" src="http://www.youtube.com/embed/QW0tq3Lsk-w" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    ถ้าอยากดูจอใหญ่ขึ้น ให้คลิ๊กที่ ชื่อไตเติ้ลของวีดีโอ จะเปิดหน้า Youtube ครับ

    add เพลงเข้าไปแล้ว edit in progress แต่ไม่เสร็จสักทีเลย

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2013
  4. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ขออภัยเพื่อนสมาชิก
    ผมยกคำถามจากห้องโน้น ตามมาห้องนี้
    รอให้ผู้รู้ทุกท่าน ได้กรุณาให้ความกระจ่าง
    แก่ข้าน้อย ผู้ด้อยปัญญาด้วยครับ
     
  5. cwmdosthai

    cwmdosthai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2013
    โพสต์:
    345
    ค่าพลัง:
    +312
    ขอบคุณ ที่มารวบรวม และ แชร์ความรู้เพิ่มเติม
     
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ไม่ทราบว่า ด้วยขนาดอันน้อยนิดของดาวหาง C/2012 S1 (ISON) จะทนทานจากการปะทะของ CME และ Solar Wind ได้ขนาดไหน ยิ่งเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากก็ยิ่งน่าเป็นห่วง ว่าจะระเหิด ละลาย แตกสลาย ไม่หลงเหลือ ให้เห็นช่วงขาโคจรออกจากดวงอาทิตย์

    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    http://spaceweather.com/images2013/20aug13/cme_comet_anim2.gif?PHPSESSID=5tm6uatrih830iaeugkdhac1h2

    .
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างดาวหาง C/1680 V1 กับ C/2012 S1


    [​IMG]

    [​IMG]


    แก้ไขคำผิด จาก ดาวพุธ เป็นดาวศุกร์ เบลอแต่เช้าเลย 555
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2013
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เรื่องที่ว่า The great comet of 1680 ( C/1680 V1 ) กับ C/2012 เป็นดาวหางดวงเดียวกันหรือไม่ ผมก็ไม่มั่นใจนะครับ แต่จากข้อมูลเปรียบเทียบข้างบน พิจารณาได้ว่า เมื่อเวลาผ่านไป 333 ปี Orbital elements and diagram ของดาวหาง C/1680 V1 ไม่น่าที่จะเปลี่ยนไปมากขนาดนั้น ส่วนตัวผมคิดว่า คนละดวงกันครับ

    และถ้าจะถามต่อว่า แล้วดางหาง C/2012 S1 เคยเป็นส่วนหนึ่งของ C/1680 V1 ที่แตกตัวออกมารึปล่าว อันนี้คงจะตอบยากครับ เพราะเท่าที่มนุษย์ได้ศึกษาและบันทึกจำนวนดาวหางไว้ มีถึง 3,762 ดวง คงตอบได้ยากว่าดวงไหนเป็นลูกดวงไหนเป็นแม่

    ข้อมูล จาก IAU ณ วันนี้

    [​IMG]

    .
     
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    --------------------------------------------------------------------------------------

    อ่านเรื่องดาวหางในลิงค์แรก (มีทั้งหมด 10 ตอน) ให้จบ ก็เข้าใจเรื่องดาวหางขั้นเทพแล้วครับ + ลิงค์สุดท้าย FAQ นี่ก้อตอบคำถาม ข้องใจได้เกือบหมดเลยครับ

    ส่วนตัวผม คาดว่ามีความเป็นไปได้ ที่ดาวหางISON จะมีการแตกตัวเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ เพราะการปะทะกับ CME กับ Solar wind + อุณหภูมิสูงขึ้น น้ำแข็งละลาย ก๊าซและส่วนที่เป็นของแข็งขยายตัวอย่างมาก ส่วนวงโคจรหลังเมื่อแตกตัวแล้วคงตอบมาก เพราะต้องขึ้นกับลักษณะการแตกตัวและตำแหน่งในขณะที่แตกตัว ว่าเกิดก่อนหรือหลังจุดที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด (Perihelion) ถ้าไม่มีการแตกตัว และดาวหางโคจรตามปกติ โดยการทิ้งเศษฝุ่นไว้ ก็ไม่น่าจะมีผลต่อโลกเรามาก เพราะวงโคจรของดาวหางISON ไม่ได้ทับวงโคจรของโลกเรา เหมือนกับดาวหางSwift-Tuttle ที่เป็นที่มาของฝนดาวตก Perseids ช่วง 12-13 สค.ที่ผ่านมา เพราะฉะนั้นอาจเกิด ฝนดาวตก หรือ เศษฝุ่นจากดาวหางISON บ้างเล็กน้อย และคาดว่าจะเป็นช่วง ต้นเดือน มค. 57 ซึ่งโลกโคจรมาถึงจุดที่ดาวหางเฉียดใกล้วงโคจรของโลกขาเข้าหาดวงอาทิตย์

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2013
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ท่านสุกิจครับ ช่วงขาเข้าหาดวงอาทิตย์ ขณะที่ดาวหางISON จะผ่านใกล้วงโคจรของโลก ตอนนั้นโลกจะอยู่ห่างดาวหาง 190 ล้าน กม.

    [​IMG]

    ส่วนช่วงขาออกจากดวงอาทิตย์ ขณะที่ดาวหางISON จะผ่านใกล้วงโคจรของโลก ตอนนั้นโลกจะอยู่ห่างดาวหาง 65 ล้าน กม. แต่ ณ ตำแหน่งนั้น ( ช่วงต้นเดือน มค. 57 ) โลกได้โคจรมาถึงจุดที่ดาวหางเฉียดใกล้วงโคจรของโลกตอนขาเข้าหาดวงอาทิตย์

    [​IMG]

    ซึ่งอาจจะมีเศษฝุ่น และฝนดาวตกให้เห็น เพราะดาวหางเพิ่งโคจรผ่านใกล้ๆวงโคจรของโลกในช่วงต้นเดือน พย. 56

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2013
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    มาดูวงโคจรของดาวหาง Swift - Tuttle ที่มีวงโคจรตัดกับวงโคคจรของโลกเรา และเป็นที่มาของ ฝนดาวตก Perseids ที่มีให้เห็นได้ช่วง สค. ของทุกปี

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ในกรณีที่วงโคจรของดาวหางได้เฉียดใกล้กับเส้นวงโคจรของโลกเรามากๆนะครับ ผมคาดว่าช่วง ตั้งแต่ วันคริสต์มาส 25 ธค. 56 เป็นต็นไป จะเริ่มตรวจจับเศษฝุ่นของดาวหางที่ถูกแรงดึงดูดของโลกเราดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศก่อนเกิดการลุกไหม้เป็นดาวตก และน่าจะมีฝนดาวตกมากในช่วง 5-15 มค. 57 ก่อนที่จะค่อยๆ น้อยลง ช่วงตรุษจีน 31 มค. 57

    .
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. มณีจำปา

    มณีจำปา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,423
    ค่าพลัง:
    +9,369
    [​IMG]

    [​IMG]

    WOW!!!! ถ้าที่เขาสันนิษฐานถูกต้องขึ้นมาหละคะ คุณ Falkman.... คงต้องคอยติดตามกันต่อไป.... จากที่ คุณ hiflyer จำลองวงโคจรดาวหางISON ก็อยู่ไกลโลกโขอยู่ หากว่าไม่ใช่ดาวหางซะแล้ว เขาจะบินเข้ามาใกล้ๆ โลก ก็คงเป็นไปได้อยู่กระมังคะ อันนี้ จินตนาการต่อเองนะคะ [​IMG]
     
  19. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ใกล้โลกที่สุดนี่ 39.6 ล้านไมล์
    นะครับ
    กะไม่ถูกว่าไกลแค่ไหน ไม่เคยกะอะไรไกลขนาดนั้น

    แต่ เอ๊ะ นี่ใบ้หวยหรือเปล่า
    ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลก 93 ล้านไมล์นะ
    93 - 39 น่าสนใจเลขนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2013
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดาวหางที่ทำให้ดวงอาทิตย์ปะทุ เมื่อวันที่ 20 สิงหา เล็กมาก ไม่กี่สิบเมตร แถมไกลหลายล้านไมล์ ยังทำให้ปะทุได้ขนาดนั้น ไม่ธรรมดานะ....

    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...