ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=big2 vAlign=bottom height=35>
    สุดยอดพระดีที่แตกลายงาด้วยพลังจิต
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=10 width="100%" align=center bgColor=#f4f4ff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff height=300><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ในจำนวนวัตถุมงคลที่สายตรงรุ่นเก่าหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก พระนครศรีอยุธยาตามเก็บกันอย่างเงียบเชียบแต่ลุ่มลึกนั้น พระผงชุด"เสด็จนิวัติ" เป็นชุดที่น่าเก็บที่สุดและหายากสุด ๆ เพราะสร้างน้อยและประวัติการเกิดพระนี้ก็ลึกล้ำมาก กล่าวกันว่าพระชุดนี้ขณะที่มีการสร้างจัดสร้างที่วัดสะแกนั้น ขณะที่หลวงปู่ดู่ท่านกำลังฟังวิทยุอยู่และท่านได้รับข่าวในหลวงเสด็จกลับจากเจริญสัมพันธไมตรียังทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกา(ยาวนานถึง 7 เดือน ตั้งแต่กลางปี 2503 ถึงต้นปี 2504) มาที่เมืองไทย เพียงเท่านั้น หลวงปู่ดู่ก็บังเกิดปีติดีใจมาก ๆ จนกระทั่งพระที่สร้างจำนวนหนึ่งซึ่งกำลังผึ่งแดดให้แห้งนั้นเกิดอาการแตกราน คล้ายกับการแตกลายงาของพระผงยุคเก่าที่มาอายุการสร้างสูงๆ ซึ่งอาจจะเกิดจากอำนาจแห่งปีติที่มีกำลังแรงเป็นพิเศษ จนก่อให้เกิดผลประจักษ์เป็นรูปธรรมทางกายภาพด้วยการแตกลายงาดังกล่าว เป็นที่น่าอัศจรรย์อย่างยิ่ง
    แต่ก่อนนั้น พระชุดเสด็จนิวัตินั้น ถือเป็นพระที่โด่งดังมากของสำนักวัดสะแก หลัก ๆจะมีพิมพ์สมเด็จ พิมพ์ขุนแผน และพิมพ์นางพญา จำนวนการสร้างนั้นค่อนข้างน้อย มีทั้งชนิดเนื้อโขลก(ปูนตำ)และเนื้อปูนหยอดอย่างที่คุ้นเคยกันทั่วไป
    แต่เพราะพระชุดนี้หาได้ยากยิ่ง จึงค่อยเลือนรางไปจากความรู้จักมักคุ้นไปโดยลำดับ จนปัจจุบันนี้ แทบไม่มีใครกล่าวถึง แม้ในหนังสือพระผู้จุดประทีปในดวงใจ ซึ่งเป็นหนังสือยุคแรกของหลวงปู่ดู่ ก็ลงพระชุดเสด็จนิวัติ(พิมพ์นางพญา แตกลายงา)ไว้เพียงองค์เดียวพิมพ์เดียวเท่านั้น นับเป็นพระที่หาได้ยากมากๆอย่างแท้จริง
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff><!-- [​IMG] -->[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=bot2 bgColor=#f9f9f9 height=30> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR class=text1><TD class=bot1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=10 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" bgColor=#3399cc border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#f9f9f9><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="100%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE height="100%" cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#cacaec border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center bgColor=#f9f9f9 border=0><TBODY><TR><TD class=text2 align=left> </TD><TD align=right width="20%" height=17></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=text1 vAlign=top align=left height=20> เท่าที่เคยทราบมา หากไม่นับการตกแต่งทางเคมี ด้วยการใช้น้ำมันหรือความร้อนเร่งปฏิกริยาให้แตกลายงาอย่างที่พบเห็นกันทั่วไปแล้ว ยังไม่เคยปรากฏว่า จะมีพระผงของสำนักไหนที่แตกลายงาด้วยอำนาจปีติหรือพลังจิตเหมือนกับพระชุดเสด็จนิวัติของหลวงปู่ดู่ วัดสะแกเช่นนี้เลย
    อนึ่ง สังเกตได้ว่า การแตกลายงาของพระชุดเสด็จนิวัติของหลวงปู่ดู่นั้น จะไม่ใช่เป็นการแตกลายงาตามแบบธรรมดาๆของพระที่ผ่านอายุการสร้างมานาน หรือพระที่ใช้เคมีความร้อนเร่ง แต่การแตกลายงาของพระเสด็จนิวัตินี้ จะแตกเป็นร่องลึกและชัดเจนกว่าการแตกลายงาทั่วไปมาก จนแทบจะกลายเป็นการ"ราน"เลยก็ว่าได้ ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ยากจะทำเลียนแบบหรือปลอมแปลงได้
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bot2 bgColor=#f9f9f9 height=25> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD class=text1> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=10 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" bgColor=#3399cc border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#f9f9f9><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="100%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE height="100%" cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#cacaec border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center bgColor=#f9f9f9 border=0><TBODY><TR><TD class=text2 align=left></TD><TD align=right width="20%" height=17></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=text1 vAlign=top align=left height=20>มีผู้ใหญ่ที่คุ้นเคยกันมานานท่านหนึ่ง คือ อ.ณัฐพล สถาปนพงศ์ ซึ่งเคยกราบหลวงปู่ดู่อยู่หลายวาระ ได้เล่าข้อมูลเบื้องลึกของพระชุด"เสด็จนิวัติ"ให้ฟังว่า แต่ก่อนนั้น พระชุดเสด็จนิวัตินี้ดังมาก เป็นเหตุให้ท่านเองต้องเคยไปกราบเรียนถามหลวงปู่ดู่ ถึงการสร้างพระชุดเสด็จนิวัตินี้ด้วยตนเองเหมือนกัน ทำให้ได้ทราบว่า พระชุดเสด็จนิวัตินี้ มีความพิเศษสุดในเนื้อหาอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะมีผงมหาจักรพรรดิเป็นหลักแล้ว หลวงปู่ดู่ยังได้นำเอาผงพระเก่าๆที่หลวงปู่สะสมไว้มีผงพระสมเด็จวัดระฆัง,พระสมเด็จบางขุนพรหม,พระสมเด็จวัดสามปลื้มฯลฯ เป็นอาทิผสมลงในเนื้อหาอย่างน่าศรัทธาที่สุดอีกด้วย
    โดยเฉพาะพระชุดเสด็จนิวัติชนิด"เนื้อโขลก"หรือ"ปูนตำ" ซึ่งหาได้ยากอย่างยิ่งยวดที่สุด จะมีความสวยซึ้ง เป็นที่ต้องตาโดนใจแก่บรรดานักนิยมพระเครื่องเนื้อผงรุ่นปรมาจารย์อย่างสุดๆ ด้วยมีความงดงามแบบของเก่า ละม้ายแม้นกับพระสมเด็จวัดระฆังของสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีเลยนั่นเทียว
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bot2 bgColor=#f9f9f9 height=25> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD class=text1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=10 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" bgColor=#3399cc border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#f9f9f9><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="100%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE height="100%" cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#cacaec border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center bgColor=#f9f9f9 border=0><TBODY><TR><TD class=text2 align=left> </TD><TD align=right width="20%" height=17></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=text1 vAlign=top align=left height=20>อนึ่ง พระชุด"เสด็จนิวัติ"นี้ บางส่วน หลวงปู่ดู่จะลงดินสอจารตั้งองค์พระไว้ ซึ่งเป็นที่นิยมมาก เพราะถือว่าได้"ผ่านมือ"และได้รับการลงพลังจิตซ้ำแบบจะๆจากหลวงปู่ดู่มาโดยตรง แต่ส่วนที่ไม่ได้มีรอยดินสอจารก็มีเหมือนกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตาม พระชุดเสด็จนิวัตินี้ ก็ถือเป็นของดีที่หาได้ยากยิ่งและปรากฏอภินิหารให้ได้ประจักษ์เป็น"รูปธรรม" มากที่สุดชุดหนึ่งโดยแท้ <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bot2 bgColor=#f9f9f9 height=25> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD class=text1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=10 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" bgColor=#3399cc border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#f9f9f9><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="100%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE height="100%" cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#cacaec border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center bgColor=#f9f9f9 border=0><TBODY><TR><TD class=text2 align=left> </TD><TD align=right width="20%" height=17></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=text1 vAlign=top align=left height=20>และที่สุด อ.ณัฐพล ยังได้กราบเรียนถามหลวงปู่ดู่เพิ่มเติมถึงสาเหตุที่ทำให้พระชุดเสด็จนิวัติบางส่วน มีการ"แตกลายงา"ขึ้นมาในทันทีที่สร้างเสร็จใหม่ๆว่าเป็นเพราะเหตุใด ซึ่งหลวงปู่ดู่ ก็ได้เมตตามาในทันทีทีเดียวว่า
    "ข้าใส่พลังเยอะไปหน่อยเท่านั้นเองนะ..!!!!" <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bot2 bgColor=#f9f9f9 height=25> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ขอขอบคุณเว็บ
    http://www.phuttawong.net
     
  2. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285


    ปกติคนเราถูกทำให้มองออกข้างนอก ลองดูลูกนัยน์ตา จะเห็นว่าเล็งออกนอกตัวแท้ๆ ไม่มีอวัยวะใดเลยที่ส่งเข้ามาให้เห็นภายใน ซึ่งนั่นเป็นจุดเริ่มต้นของความรู้สึกว่าตัวเองเป็นจุดศูนย์กลางของโลก

    ด้วยตาเนื้อธรรมดา คนเราสามารถเห็นทุกสิ่ง ยกเว้นตนเอง

    ความกำหนดหมายและความปรุงแต่งเกี่ยวกับโลกและตนเอง ล้วนสร้างขึ้นจากการรับรู้ภายใน ใครได้รับผลกระทบอย่างไร ศึกษามาแบบไหน โตขึ้นในสภาพแวดล้อมดีเลวเพียงใด ก็หล่อหลอมลงเป็นความรู้สึกเกี่ยวกับอัตตาภายใน มีโลกภายนอก บุคคลภายนอกเป็นเครื่องตกแต่ง เป็นสิ่งที่เนื่องด้วยอัตตา เช่นอย่างนี้ของฉัน อย่างโน้นของเขา

    ด้วยความปรุงแต่งที่เป็นไปเองตามธรรมชาติทั้งหลาย ทำให้เกิดสัญญาวิปลาสขึ้นมากมาย เช่นทั้งรู้ทั้งเห็นว่าร่างกายทุกคนรวมทั้งเราเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ก็ยังยึดด้วยความรู้สึกเป็นจริงเป็นจังในปัจจุบันว่าร่างนี้ของเรา และทั้งรู้ว่าความรู้สึกนึกคิดแปรปรวนไปทันทีที่เกิดขึ้น ก็ยึดด้วยความรู้สึกมั่นหมายว่ามีตัวเราเป็นผู้รู้สึก เป็นผู้นึกคิด

    สติปัฏฐานสี่เป็นการกลับความกำหนดหมายเสียใหม่ ทำให้สัญญาวิปลาสหายไป เหลือไว้แต่ความเห็นตามจริง นับแต่สิ่งที่แปรปรวนง่ายที่สุดเช่นความรู้สึกนึกคิด ไปจนกระทั่งสภาพความเป็นกายที่แท้

    ขันธ์ 5 เป็น "ส่วนหนึ่ง" ของสติปัฏฐานสี่ เพราะฉะนั้นก่อนจะกล่าวถึงขันธ์ 5 ก็ต้องจาระไนอย่างละเอียดว่าจะไปให้ถึงการเห็นขันธ์ 5 ละขันธ์ 5 นั้น ต้องผ่านบันไดเป็นขั้นเป็นตอนมาอย่างไร

    โดยปกติคนเราจะเหม่อลอย ปล่อยให้เกิดความคิดนึกไปเรื่อยเปื่อย บุคคลทั่วไปจึงปราศจากฐานของสติ คือมีอะไรเข้ามากระทบ ก็ปล่อยเลยตามเลย จะรู้สึกนึกคิดอย่างไรก็ไม่ต้องรู้เรื่อง ชอบก็เอาและอยากได้เพิ่ม เกลียดก็ทิ้งและไม่อยากพบเจออีก

    หากเป็นคนมีการศึกษา ทำงานทำการเป็นเรื่องเป็นราว อย่างมากที่สุดฐานของสติก็ได้แก่การงานที่ตนถนัด ซึ่งฐานสติชนิดนั้นนำมาซึ่งความอยากประการต่างๆละเอียดซับซ้อน เช่นตำแหน่งหน้าที่ รายได้ ชื่อเสียงเกียรติยศ

    พอศึกษาพุทธศาสนา *** เห็นชอบเป็นเบื้องต้นแล้วว่าทั้งหลายทั้งปวงล้วนเป็นสมบัติของความว่าง เนื่องจากอะไรปรากฏเท่าไหร่ก็เสื่อมสลายไปเท่านั้น *** จึงมองเห็นว่าที่มีที่เป็นอยู่นี้ หากเวียนวนซ้ำซากเป็นวัฏจักรอย่างที่เรียกเกิดตายในสังสารวัฏ ก็เท่ากับเกิดเปล่าตายเปล่าอย่างไร้สาระแก่นสาร สร้างทำอะไรเหนื่อยยากไว้แค่ไหน ก็ต้องทิ้งไปเรื่อย สร้างใหม่ไปเรื่อย พลาดเมื่อไหร่ก็ลงนรก เคราะห์ดีนานครั้งถึงได้เป็นมนุษย์หรือเทวดา

    แต่แม้รู้แล้วว่าอะไรเป็นอะไร หนทางที่จะดับทุกข์ ดับกิเลสให้สนิท เพื่อตัดห่วงโซ่ของการสืบเนื่องเวียนว่ายตายเกิด ก็ไม่ปรากฏเป็นของง่าย เพราะธรรมชาติความไม่รู้ทาง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่ง ที่ต้องรอผู้สั่งสมบารมีเพื่อความรู้ทางโดยเฉพาะมาเปิดเผย

    พระพุทธองค์พบว่าการใช้ชีวิตตามสบาย ปล่อยให้ความสุขความทุกข์มารุมเร้า เพลิดเพลินและหลงเหยื่อไปเรื่อย จะไม่ทำให้เกิดธรรมชาติแน่วนิ่งรู้ธรรม เห็นธรรมอย่างเป็นกลาง และวางธรรมอย่างปราศจากความอาลัยไยดี จึงต้องเดินสายกลาง ไม่ปล่อยให้ผัสสะบวกเกินไปหรือลบเกินไปมากระทบ

    เมื่อเห็นชอบแล้ว กระทำชีวิตให้เกื้อกูลต่อจิตที่พร้อมรู้ พร้อมเห็นโลกภายนอกและโลกภายในอย่างเป็นกลางแล้ว จึงบำเพ็ญภาวนา ไต่ระดับขึ้นมาจากการทำจิตให้อุดมด้วยความชุ่มชื่น คือทำทานไม่มีประมาณ รักษาศีลด้วยจิตใจแน่วแน่มั่นคง

    ฐานความเปิดกว้างของใจ และความชุ่มชื่นของจิต จะเกื้อหนุนให้ทำจิตเป็นสมาธิได้ง่าย เมื่อจิตตั้งเป็นสมาธิ เป็นกลาง ไม่เอียงซ้าย ไม่เอียงขวา ไม่คว่ำไปข้างหน้า ไม่หงายไปข้างหลัง สะท้อนออกทางกายที่เคลื่อนไหวและหยุดนิ่งในดุลยภาพอย่างเป็นธรรมชาติในทุกอิริยาบถ จึงเรียกว่าเริ่มพร้อมล้างสัญญาวิปลาสออก

    แทนการไร้ฐานตั้งสติแบบเดิมๆของสามัญมนุษย์ พระพุทธเจ้าให้เริ่มจับเอากาย ได้แก่ส่วนทั้งหลายนับแต่ส่วนหัวไปจรดปลายเท้า ทั่วรอบขอบเนื้อหุ้มกระดูกนี้ ใช้เป็นฐานสติแทน นิ่งก็รู้ว่านิ่ง เคลื่อนไหวก็รู้ว่าเคลื่อนไหว ประชุมลงที่อาการยืน เดิน นั่ง นอนนั่นเอง

    เมื่อรู้อาการโดยรวม เห็นความเป็นกายในอาการหลักๆชัดแล้ว ก็แจกสติซอยย่อยเข้าไปในอาการไหวตัวน้อยใหญ่ทั้งหลาย เช่นเหยียดแขน คู้แขน หมุนคอ เอี้ยวตัว เรียกว่าปิดกั้นไม่ให้สัญญาวิปลาสเกิดขึ้นได้แม้สักขณะจิตเดียว ทุกอย่างปรากฏตามจริงไปหมดว่ากายนี้เป็นอย่างไร เคลื่อนไหวอย่างไร ไม่มีมโนภาพตัวตน หล่อสวย ขี้ริ้วขี้เหร่ หรือว่าชื่อนายนั่นนางนี่เข้าแทรกแซงได้

    เมื่อสะเด็ดสัญญาวิปลาสออกจากกายได้สิ้น จะรู้สึกถึงความเป็นตัวเป็นตนภายใน เป็นนามธรรม เป็นความเห็นว่าความรู้สึกนึกคิดภายในยังเป็นตัวเป็นตนอยู่

    อันนั้นจึงต้องต่อยอดด้วยการพิจารณาลึกลงไปตามลำดับ โดยไล่จากเวทนา คือความรู้สึกพอใจ ไม่ชอบใจ หรือเป็นกลาง ที่เกิดผุดขึ้นตลอดเวลา เนื่องด้วยกายบ้าง เนื่องด้วยความคิดปรุงแต่งภายในบ้าง แต่เวทนาทั้งหลายจะขึ้นตรงกับอาการทางกาย จึงสามารถจับผ่านกายได้ว่ากำลังอยู่ในภาวะใด เช่นกล้ามเนื้อเครียดเกร็งที่จุดใดจุดหนึ่งจะบอกถึงความทุกข์ ถ้าผ่อนกายสบายตลอดเนื้อตัวก็บอกถึงความสุข

    เมื่อลบสัญญาวิปลาสจากเวทนาได้ เห็นเวทนาเป็นเพียงสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปด้วยเหตุปัจจัยปรุงแต่งกระทบกายใจ ปล่อยวางจากอุปาทานในเวทนาเสียได้ จึงเข้าลึกไปจับเอาภาวะจิตเป็นฐานสติในลำดับต่อไป

    จิตเป็นสภาวะกุศล อกุศล และเป็นกลาง เพื่อมองให้เห็น ต้องกำหนดให้เห็นว่าแยกชั้นไปจากกายและเวทนา พูดง่ายๆคือมองเลยกายและเวทนา เข้ามาให้เห็นใจกลางตัวรู้ของตัวเอง ว่ากำลังมีภาวะขุ่นมัว ผ่องใส มีราคะ โทสะ โมหะ หรือปลอดวางว่างสบาย หากกำหนดจิตเป็น จะเห็นว่าถ้าโฟกัสเข้ามาที่กลางอกแบบสบายๆ ไม่เพ่งให้เกิดอาการร้อยรัดจับยึดจนเกินไป ไม่ปล่อยจนเกิดอาการเพิกเฉยเหม่อลอยตามธรรมดา จะสามารถเห็นสภาพจิตอันเกิดดับสืบเนื่อง คลี่คลายจากภาวะหนึ่งไปสู่อีกภาวะหนึ่งได้ง่ายที่สุด

    พอคุ้นกับฐานสติใหม่ คือกาย เวทนา และจิตแล้ว โลกทัศน์จากภายในจะเปลี่ยนไป แต่ไม่ถึงกับปล่อยวางเสียทีเดียว เพราะความสงสัยในธรรมชาติสืบเนื่อง ผูกเป็นความรู้สึกในตัวในตนนั้น ยังดองอยู่ในขันธสันดาน นี่เองจึงเป็นที่มาของฐานสติสุดท้าย คือธรรม

    ธรรมนี้กระจายเป็นหัวข้อต่างๆได้หลายหลาก ขึ้นอยู่กับว่าจะเลือกมองมุมไหน พระพุทธเจ้าแจกแจงไว้มากมาย เป็นที่มาของคำว่า ขันธ์ 5 อายตนะ 6 ปฏิจจสมุปบาท 12 อริยสัจจ์ 4 ฯลฯ

    ในส่วนของขันธ์ 5 เป็นหมวดธรรมที่ถูกกล่าวถึงกันมากที่สุด เพราะพิจารณาได้ง่าย เนื่องจากเป็นองค์ประกอบห้าอย่างของมนุษย์ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เพียงจับส่วนข้อธรรมขันธ์ 5 ให้เข้าใจ ก็อาจบรรลุประโยชน์สูงสุด คือมรรคผลนิพพานกันได้ อย่างเร็วเจ็ดวัน อย่างช้าเจ็ดปี สำหรับผู้มีความเพียรสม่ำเสมอ

    ในส่วนของรูป เวทนาและวิญญาณนั้น เคยชินดีแล้วจากฐานสติซึ่งเป็นสามด่านแรก เมื่อมาพิจารณาธรรม เห็นกายใจเป็นองค์ประกอบห้าส่วน ก็มีของใหม่ที่ยังไม่ใช้เป็นฐานสติ ได้แก่ความคิด

    ความคิดนั้นประกอบด้วยสัญญาและสังขาร

    สัญญาคือการกำหนดหมาย หมายรู้ มีอาการเข้ากระทบจิตแล้วเกิดเป็นการไหวรับรู้ว่าอะไรเป็นอะไร เช่นถ้าทรงจิตนิ่งในดุลดี มีกายเป็นฐานสติพร้อม เมื่อได้ยินเสียงมาจากฟ้าไกลเบื้องบน ก็สามารถจำแนก "รู้" ทันทีว่าเป็นเสียงเครื่องบิน เสียงเฮลิคอปเตอร์ เสียงนกกา

    รู้ว่าได้ยินอะไรก็สักแต่ว่ารู้ เห็นเป็นสัญญาซึ่งเกิดขึ้นพร้อมผัสสะกระทบจิตที่ตั้งมั่น ทรงนิ่งในดุลสว่างอยู่

    เมื่อได้ยินเสียงใดเสียหนึ่ง ต้องมีการปรุงแต่งขึ้นเสมอ เช่นเสียงนกร้องเมื่อคิดว่าเพราะ ก็ "ตั้งใจ" ฟังต่อ ตัวความตั้งใจนั้นเองเป็นสังขาร เป็นสิ่งปรุงแต่งให้ใจโน้มเอียงไปทางกุศล อกุศล หรือเป็นกลาง

    หากเข้าใจสายสัมพันธ์เช่นนี้แล้ว แม้จิต หรืออีกนัยหนึ่งคือวิญญาณขันธ์ จะเกิดภาวะกุศลหรืออกุศล ก็จะเห็นสักแต่เป็นฟองอากาศที่ผุดขึ้นแล้วแตกไป สลายเป็นอื่น

    ไม่เหลือความยึดอะไรไว้เลย

    ความเห็นอย่างต่อเนื่อง เป็นการค่อยๆเปิดทางให้ธรรมชาติรู้เบ่งบานขึ้นถึงขีดพังทำนบกิเลสที่ครอบงำจิตใจ เปิดขึ้นพบธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งซึ่งพ้นไปจากขันธ์ 5

    นี่เองครับ สติปัฏฐาน 4 เป็นการสะพานให้เข้าจับขันธ์ 5 ความเห็นอย่างเป็นกลาง เห็นด้วยสติปัญญารู้ทันไตรลักษณ์นั้นเองเป็นตัวถอนสัญญาวิปลาส กระทั่งปล่อยอุปาทานในขันธ์ 5 ได้ในที่สุด



    ขอขอบคุณเว็บ
    http://www.phuttawong.net
     
  3. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    "ทำดี"แล้ว"ดีจริง"
    ต้องทำแบบไหน??


    ทำความดีด้วยใจว่างจากกิเลส

    ทำความดีอย่างสบาย ๆ อย่างมีอุเบกขา คือ ทำใจเป็นกลางวางเฉย ไม่หวังผลอะไรทั้งสิ้น

    การตั้งความหวังในผลของการทำดีเป็นธรรมดาของสามัญชนทั่วไป ซึ่งก็ไม่ผิด แต่ก็จะถูกต้องกว่าหากจะไม่ตั้งความหวังเลย เมื่อรู้ว่าเป็นความดีก็ทำเต็มความสามารถของสติปัญญา ไม่เดือดร้อนให้เกินความสามารถ ไม่มุ่งหวังให้ฟุ้งซ่าน ไม่ผิดหวังให้เศร้าเสียใจ การทำใจเช่นนี้ไม่ง่าย แต่ก็เป็นสิ่งทำได้ ถ้าทำไม่ได้พระพุทธเจ้าก็จะไม่ทรงสั่งสอนไว้

    ทำดีด้วยความโลภและหลง จักไม่อาจให้ผลสูงสุด

    การทำดีหรือทำบุญกุศลที่จะส่งผลสูงสุด ต้องเป็นการทำด้วยใจว่างจากกิเลส คือ ความโลภ โกรธ หลง ความผูกพันในผลที่จะได้รับเป็นทั้งความโลภและความหลง ความผูกพันในผลที่จะได้รับเป็นทั้งความโลภและความหลง จึงไม่อาจให้ผลสูงสุดได้ แม้จะให้ผลตามความจริงที่ว่า ทำดีจักได้ดี แต่เมื่อเป็นความดีที่ระคนด้วยโลภและหลง ก็ย่อมจะได้ผลไม่เท่าที่ควร มีความโลภหลงมาบั่นทอนผลนั้นเสีย

    ทำดีแล้วต้องได้ดีแน่นอนเสมอไป

    ทำดีไม่ได้ดี ไม่มีอยู่ในความจริง มีอยู่แต่ในความเข้าใจผิดของคนทั้งหลายเท่านั้น ทำดีแล้วต้องได้ดีแน่นอนเสมอไป

    ที่มีเหตุการณ์ต่าง ๆ นานาปรากฏขึ้น เหมือนทำดีไม่ได้ดีนั้น เป็นเพียงการปรากฏของความสลับซับซ้อนแห่งการให้ผลของกรรมเท่านั้น เพราะกรรมนั้นไม่ได้ให้ผลทันตาทันใจเสมอไป แต่ถ้าเป็นเรื่องภายในใจแล้ว กรรมให้ผลทันทีที่ทำแน่นอน เพียงแต่ว่า บางทีผู้ทำไม่สังเกตด้วยความประณีตเพียงพอจึงไม่รู้ไม่เห็น ขอให้สังเกตใจตนให้ดี แล้วจะเห็นว่าทันทีที่ทำกรรมดี ผลจะปรากฏขึ้นในใจเป็นผลดีทันทีทีเดียว

    ทำกรรมดีแล้วจิตใจจักไม่ร้อนเร่า

    ทำกรรมดีแล้วใจจักไม่ร้อน เพราะไม่ต้องวิตกกังวลว่าจะได้รับผลไม่ดีต่าง ๆ

    ความไม่ต้องหวาดวิตกหรือกังวลไปต่าง ๆ นั้น นั่นแหละเป็นความเย็น เป็นความสงบของใจ เรียกได้ว่าเป็นผลดีที่เกิดจากกรรมดี ซึ่งจะเกิดขึ้นทันตาทันใจทุกครั้งไป เป็นการทำดีที่ได้ดีอย่างบริสุทธิ์แท้จริง

    ส่วนผลปรากฏภายนอกเป็นลาภยศสรรเสริญต่าง ๆ นั้น มีช้า มีเร็ว มีทันตาทันใจ และไม่ทันตาทันใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเข้าใจผิดกันมากมาย ว่าทำดีไม่ได้ดีบ้าง ทำชั่วได้ดีบ้าง

    ควรทำดีโดยทำใจให้เป็นกลาง ไม่มุ่งหวังสิ่งใด

    ทำดีได้ดีแน่นอนอยู่แล้ว บรรดาผู้ทำความดีทั้งหลายซาบซึ้งในสัจจะ คือ ความจริงนี้ ดังนี้ก็ไม่น่าจะลำบากนักที่จะเชื่อด้วยว่า ควรทำดีดโดยทำใจเป็นกลางวางเฉลยไม่มุ่งหวังอะไร ๆ ทั้งนั้น

    การที่ยกมือไหว้พระด้วยใจที่เคารพศรัทธาในพระรัตนตรัยสูงสุดเพียงเท่านี้ ได้ผลดีแก่จิตใจยิ่งกว่าจะยกมือไหว้พร้อมกับอธิษฐานปรารถนาสิ่งนั้นสิ่งนี้ไปด้วยมากมายหลายสิ่งหลายอย่าง หรือการจะบริจาคเงินสร้างวัดวาอาราม ด้วยใจที่มุ่งให้เป็นการบูชาคุณพระรัตนตรัยเพียงเท่านี้ ก็ได้ผลดีแก่จิตใจ ยิ่งกว่าจะปรารถนาวิมานชั้นฟ้า หรือบ้างช่องโอ่อ่าทันตาเห็นในชาตินี้ หรือการจะสละเวลากำลังกาย กำลังทรัพย์เพื่อช่วยเหลืองานพระศาสนา โดยมุ่งเพื่อผลสำเร็จของงานนั้นจริง ๆ เพียงเท่านี้ก็ได้ผลดีแก่จิตใจยิ่งกว่าปรารถนาจะได้หน้าได้ตาว่าเป็นคนสำคัญ เป็นกำลังใจให้เกิดความสำเร็จ หรือการคิดพูดทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้วยใจที่มุ่งเทิดทูนรักษาอย่างเดียวเช่นนี้ ให้ผลดีแก่จิตใจยิ่งกว่าหวังได้ลาภยศหน้าตาตอบแทน

    ทำความดีอย่างบริสุทธิ์ สะอาดจริงเถิด

    ทุกวัน เรามีโอกาสทำดีด้วยกันทุกคน ดังนั้นจึงขอให้พยายามตั้งสติให้ดี ใช้ปัญญาให้ควร อย่าโลภ อย่าหลง อย่าทำความดีอย่างมีโลภมีหลง ให้ทำความดีอย่างบริสุทธิ์สะอาดจริงเถิด

    มีวิธีตรวจใจตนเองว่า ทำความดีด้วยใจปราศจากเครื่องเศร้าหมอง คือ กิเลส โลก โกรธ หลง หรือไม่ ก็คือให้ดูว่าเมื่อทำความดีนั้น ร้อนใจที่จะแย่งใครเขาทำหรือเปล่า กีดกัดใครเขาหรือไม่ ฟุ้งซ่านวุ่นวายกะเก็งผลเลิศในการทำหรือเปล่า ต้องการจะทำทั้ง ๆ ที่ไม่สามารถจะทำได้ แล้วก็น้อยเนื้อต่ำใจหรือโกรธแค้นอาฆาตพยาบาทอุปสรรคหรือเปล่า

    ถ้าเป็นคำตอบปฏิเสธทั้งหมดก็นับว่าดี เป็นการทำดีอย่างมีกิเลสห่างไกลจิตใจพอสมควรแล้ว สบายใจ เย็นใจในการทำความดีใด ๆ ก็นับว่ามีกิเลสห่างไกลใจในขณะนั้นอย่างน่ายินดียิ่ง จะเป็นเหตุให้ผลอันเกิดจากรรมดีนั้นบริสุทธิ์ สะอาด และสูงส่งจริง

    ทำให้ไม่มีตัวเราของเราได้...วิเศษสุด

    ไม่มีตัวเราของเราแล้วไม่มีความทุกข์ เพราะไม่ถูกกระทบ ไม่มีอะไรให้ถูกกระทบ

    เหมือนคนไม่มีมือ ก็ไม่เจ็บมือ, คนไม่มีขา ก็ไม่เจ็บขา ดังนั้น การทำให้ไม่มีตัวเราของเราได้จึงวิเศษสุด แต่ก็ยากยิ่งนักสำหรับบุถุชนคนสามัญทั้งหลาย ฉะนั้นขอให้มีเพียงเราเล็ก ๆ มีเราน้อย ๆ ก็ยังดี ดีกว่าจะมีเราใหญ่โตมโหฬาร มีของเราเต็มบ้านเต็มเมือง

    เมื่อบุถุชนไม่สามารถทำตัวเราให้หายไปได้ ยังหวงแหนห่วงใยตัวเราอยู่ ของเราจึงยังต้องมีอยู่ด้วย ของเราจะหมดไปก็ต่อเมื่อตัวเราหมดไปเสียก่อน นี้เป็นธรรมดา

    ถ้ายังมีตัวเราของเราอยู่ ยังต้องกระทบกระทั่งอยู่ ยังหวงแหนรักษาตัวเราของเราไว้ ก็ควรอย่างยิ่งที่จะหวงแหนรักษาให้ถูกต้อง จะได้ไม่ต้องรับโทษทุกข์ของการมีตัวเราของเรามากเกินไปอย่างเดียว แต่มีโอกาสที่จะได้รับคุณรับประโยชน์บ้างจากการมีตัวเราของเรา นั่นก็คือต้องระวังรักษาปฏิบัติต่อตัวเราของเราให้ดี ให้เป็นตัวเราของเราที่ดี

    (ตอนหนึ่งพระธรรมเทศนาของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร....)
     
  4. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285

    พระพุทธไตรรัตนนายก

    <TABLE class=font cellSpacing=0 cellPadding=5 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=text_blackHead align=middle bgColor=#cccccc>พระพุทธไตรรัตนนายก</TD></TR><TR><TD><TABLE class=text_black cellSpacing=0 cellPadding=6 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right width=120>สถานที่ประดิษฐาน :</TD><TD>พระวิหารหลวงวัดพนัญเชิง วรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>พุทธลักษณะ : </TD><TD>ศิลปะอู่ทองตอนปลาย ปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ ขนาด หน้าตักกว้าง ๑๔.๒๐ เมตร สูง ๑๙.๒๐ เมตร วัสดุ ปูนปั้นลงรักปิดทอง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#cccccc>รายละเอียด</TD></TR><TR><TD vAlign=top>หลวงพ่อพนัญเชิงหรือหลวงพ่อโต หรือพระโตของชาวอยุธยาองค์นี้ ถือกันว่าเป็นพระโบราณคู่บ้านคู่เมืองกรุงศรีอยุธยามาแต่แรกสร้างกรุง พงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวง ประเสริฐอักษรนิติ์ระบุว่าสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. ๑๘๖๘ หรือก่อนสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สถาปนากรุงศรีอยุธยา ๒๖ ปี และเมื่อกรุงศรีอยุธยาใกล้จะแตก ปรากฏในคำให้การชาวกรุงเก่าว่า พระปฏิมากรใหญ่ที่วัดพนัญเชิงมีน้ำพระเนตรไหลเป็นที่อัศจรรย์
    หลวงพ่อพนัญเชิงเป็นที่เคารพสักการะของผู้คนตลอดจนถึงพระมหากษัตริย์มาตลอดทุกยุคทุกสมัย แม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ โปรดฯ ให้ปฏิสังขรณ์พระโตทั้งองค์แล้วลงรักปิดทองใหม่ พระราชทานนามว่าพระพุทธไตรรัตนนายก
    ในยุครัตนโกสินทร์ได้มีเหตุเภทภัยเกิดแก่หลวงพ่อพนัญเชิง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไฟไหม้ผ้าห่มที่ห่มองค์พระ ทำให้องค์พระชำรุดร้าวรานหลายแห่ง โปรดฯ ให้ซ่อมแซมกลับคืนดังเดิม เสด็จพระราชดำเนินทรงปิดทองแล้วมีสมโภช ต่อมาในรัชกาลที่ ๗ องค์พระส่วนพระหนุ (คาง) พังทลายลงมาจนถึงพระปรางค์ทั้งสองข้างได้ซ่อมแซมจนเรียบร้อยภายในเวลา ๑ ปี ครั้งนั้นได้เปลี่ยนพระอุณาโลมจากทองแดงเป็นทองคำด้วย ในรัชกาลปัจจุบันมีการปฏิสังขรณ์ลงรักปิดทองใหม่ทั้งองค์ ๒ ครั้งแล้วคือในปี ๒๔๙๑ กับปี ๒๕๓๔ - ๒๕๓๖ หลวงพ่อพนัญเชิงเป็นพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นที่เคารพนับถือในหมู่ชาวจีนมากโดยเรียกกันว่าซำปอกง นอกจากชาวไทยแล้วยังมีผู้มีเชื้อสายจีนหลั่งไหลกันมากราบไหว้บูชาจำนวนมากและงานประจำปีใหญ่ ๆ ๔ งานก็เป็นงานที่เนื่องด้วยประเพณีจีนเสีย ๒ งาน กล่าวคือ
    ๑. งานสงกรานต์ ๑๓ เมษายน เป็นงานใหญ่มีการนมัสการและเวียนเทียนประทักษิณรอบองค์พระติดต่อกันถึง ๕ วัน
    ๒. งานสรงน้ำและห่มผ้าถวาย วันแรม ๘ ค่ำเดือนเมษายน มีการสรงน้ำและเปลี่ยนผ้าห่มผืนใหม่ ส่วนผืนเก่าที่ใช้มาตลอด ๑ปี จะฉีกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แจกจ่ายให้ผู้คนนำไปบูชา
    ๓. งานทิ้งกระจาดหรืองานงิ้วเดือน ๙ จะมีงิ้วและมหรสพอื่น ๆ เล่นประชันกันอย่างครึกโครม จะมีผู้คนนับหมื่นหลั่งไหลกันมานมัสการนับเป็นงานทิ้งกระจาดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยทีเดียว
    ๔. งานตรุษจีนเป็นงานใหญ่อีกงานหนึ่งจะมีการเปิดประตูพระวิหารหลวงไว้ทั้งวันทั้งคืนตลอด ๕ วันที่จัดงาน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    ขอขอบคุณเว็บ
    http://www.krusiam.com
     
  5. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    พระใส

    <TABLE class=font cellSpacing=0 cellPadding=5 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=text_blackHead align=middle bgColor=#cccccc>พระใส</TD></TR><TR><TD><TABLE class=text_black cellSpacing=0 cellPadding=6 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right width=120>สถานที่ประดิษฐาน :</TD><TD>วัดโพธิ์ชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>พุทธลักษณะ : </TD><TD>ศิลปะล้านช้าง ปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ ขนาด หน้าตัก ๒ คืบ ๘นิ้ว วัสดุสำริด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#cccccc>รายละเอียด</TD></TR><TR><TD vAlign=top>แผ่นดินอีสานนั้นเป็นแหล่ง " พระดี " ดังที่เราทราบกันอยู่ พระวิปัสสนาจารย์องค์สำคัญ ๆ มักถือกำเนิดและเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ปฏิบัติเจริญภาวนาจนแก่กล้าในญาณจนเป็นที่เคารพเลื่อมใสข องพุทธศาสนิกชนทั่วไป ณ ดินแดนอีสานแห่งนี้ มีพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นอาทิ นอกจากมี " พระดี " แล้ว อีสานยังมีปูชนียวัตถุสถานสำคัญทางพุทธศาสนาเป็นอันมากแสดงให้เห็นถึงศรัทธาปสาทะ ที่ชาวอีสานมีต่อพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี และหากจะกล่าวถึงภาคอีสานทางตอนเหนือก็จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าวถึงพระพุทธรูปอันเป็นที่เคารพสักการะ ของชาวอีสานอย่างยิ่งยวดองค์หนึ่ง นั่นคือหลวงพ่อพระใส
    หลวงพ่อพระใสเป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในล้านช้าง มีตำนานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาที่เล่าสืบต่อกันมาว่าพระธิดาสามพี่น้องของกษัตริย์ล้านช้างองค์หนึ่ง ร่วมกันสร้างพระพุทธรูประจำพระองค์ขึ้นสามองค์ แล้วขนานพระพุทธรูปตามพระนามว่า พระเสริม พระสุก และพระใส ตามลำดับ ประดิษฐานไว้ ณ เมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงของล้านช้างอยู่มาก ด้วยปรากฏว่า
    พระพุทธรูปทั้งสามองค์ คงเป็นที่เคารพบูชาของชาวล้านช้างอยู่มาก ด้วยปรากฏว่าครั้งใดบ้านเมืองมีคึกสงครามมาประชิดเมือง ชาวเวียงจันทร์จะเชิญพระพุทธรูปทั้งสามองค์ไปรักษา ไว้ยังที่ที่ปลอดภัย และจะนำกลับมาต่อเมื่อการคึกสงบเรียบร้อยแล้ว ดังเช่นเมื่อเมื่อกองทับไทยไปตีเวียงจันทร์ในสมัยกรุงธนบุรี พระเจ้าธรรมเทววงศ์ได้เชิญไปไว้ ณ เมืองเชียงคำชั่วคราว และในรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อกองทับไทยไปตีเมืองเวียงจันทร์อีกครั้ง ชาวเมืองก็ได้เชิญพระทั้งสามไปซ่อนไว้ยังสถานที่ที่เรียกว่าภูเขาควาย แต่ครั้งนี้กองทับไทยพบเข้าและได้เชิญข้ามฝั่งโขงมาฝั่งไทยระหว่างล่องแพพระสุกพลัดตกจมน้ำไป คงเหลือแต่พระเสริมและพระใสที่มาจนถึงหนองคายนั้นเอง โดยพระเสริมอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย และพระใสอยู่ที่วัดหอก่อง(วัดประดิษฐธรรมคุณ)
    มาในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด ฯ ให้เชิญพระเสริมและพระใสลงกรุงเทพ ฯ เพื่อประดิษฐาน ยังวัดประทุมวนาราม ก็ปรากฏเหตุอัศจรรย์ว่าเกวียนที่เชิญ พระใสนั้นหักลงตรงหน้าวัดโพธิ์ชัยครั้งแล้วครั้งเล่า ชาวเมืองจึงพร้อมใจกันอันเชิญพระใสขึ้นประดิษฐาน ณ วัดโพธิ์ชัยแทนพระเสริมซึ่งอัญเชิญลงไปกรุงเทพ ฯ หลวงพ่อพระใสจึง ประดิษฐานเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองหนองคายเป็นที่เคารพสักการะ ของทั้งหนองคายและชาวอีสานทั้งมวลมาจนทุกวันนี้
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ขอขอบคุณเว็บ
    http://www.krusiam.com
     
  6. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    พระเจ้าแค่งคม


    <TABLE class=font cellSpacing=0 cellPadding=5 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=text_blackHead align=middle bgColor=#cccccc>พระเจ้าแค่งคม</TD></TR><TR><TD><TABLE class=text_black cellSpacing=0 cellPadding=6 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right width=120>สถานที่ประดิษฐาน :</TD><TD>วิหารวัดศรีเกิด ถนนราชดำเนิน ตำบลพระสิงห์
    อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>พุทธลักษณะ : </TD><TD>ศิลปะล้านนา ปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ
    ขนาด หน้าตักกว้าง ๙๔ นิ้ว</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#cccccc>รายละเอียด</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วัดศรีเกิดหรือวัดพิชารามเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่ง ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่ที่ขนย้ายมาจากวัดร้างนอกเมือง
    พระพุทธรูปองค์นี้มีนานตั้งแต่แรกสร้างว่า พระป่าตาลน้อยแต่เนื่องจากองค์พระมีลักษณะเด่นคือพระชงฆ์(หน้าแข้งเป็นสันคมเห็นได้ชัด ผู้คนจึงพากันเรียกขานตามสำเนียงพื้นเมืองว่า พระเจ้าแค่งคมหรือพระเจ้าแข่งคมแทน
    พระเจ้าแค่งคมหล่อขึ้นในสมัยพระเจ้าติโลกราช เมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๐ โดยใช้ทองสำริด หนัก ๓๓ แสน (หรือเท่ากับ ๓๙๖๐ กิโลกรัม) ทำการหล่อ ณ วัดตาลวันมหาวิหาร(วัดป่าตาล) ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้(ปัจจุบันนี้คือ บริเวณหลังโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ)นอกเมือง โดยพระเจ้าติโลกราชมีพระประสงค์ให้เป็นพระพุทธรูปแบบลวปุระ เมื่อหล่อเสร็จทรงบรรจุพระธาตุ ๕๐๐ องค์แล้วขนานนามว่า พระป่าตาลน้อยประดิษฐานอยู่ที่วัดป่าตาลมาเป็นเวลาถึง ๓๑๖ ปี อย่างไรดีพระเจ้าแค่งคมที่เห็นในปัจจุบัน นักวิชาการศิลปะมีความเห็นว่ามีพุทธศิลปะเป็นแบบสุโขทัยผสมล้านนามากกว่าแบบลพบุรี
    ในปี ๒๓๔๒ วัดป่าตาลได้กลายเป็นวัดร้างชำรุดทรุดโทรมเป็นที่น่าเศร้าใจ เจ้าเมืองเชียงใหม่ขณะนั้นคือ พระเจ้ากาวิสะ จึงให้เชิญพระป่าตาลน้อยมายังวัดศรีเกิดโดยสร้างวิหารขึ้นประดิษฐานสืบมาจนปัจจุบัน
    ทุกปีในเทศกาลสงกรานต์จะมีการสรงน้ำพระธาตุหน้าพระวิหารในวันที่ ๑๕ เมษายน และจะมีการสรงน้ำพระเจ้าแค่งคมด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    ขอขอบคุณเว็บ
    http://www.krusiam.com
     
  7. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285

    [​IMG]


    พญานาค เป็นราชาแห่งงู จัดเป็นเดรัจฉานด้วย เพราะมีลำตัวไปทางขวางและไม่สามารถบรรลุธรรมได้ แต่ก็จัดอยู่ฝ่ายสุคติภูมิ อยู่สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พญานาคเลื้อยไปด้วยอกไม่เหมือนงูทั่วไป จะชูคอตลอด ต้องอ้าปากตลอดเพราะร้อนจากภายในด้วยวิบากกรรม
    มีพิษที่ เขี้ยว ผิวกาย ลมหายใจ และพิษที่ตา แปลงร่างได้ แต่ต้องกลับคืนเป็นพญานาคเมื่อ
    เกิด ลอกคราบ เสพสังวาสกันนาคด้วยกัน นอนหลับ ตาย
    เกิดเป็นพญานาค เพราะ
    1.ทำบุญ แต่ยังยึดติดในราคะ สุรา นารี กาเม นาคเกย์ นาคบัณเฑาะก็มี
    2.ทำบุญแล้วยึดติดอยากจะไปเกิดเป็นพญานาค จึงอธิษฐาน
    พญานาคจะมีดวงแก้วคู่บารมีซึ่งอยู่ที่คอ จะบังเกิดด้วยบุญของตนสามารถเนรมิต อาหารทิพย์ ของทิพย์ต่าง ๆ ได้
    พญานาคมีตั้งแต่สวรรค์ชั้น จตุมหาราชิกา จนถึงพื้นมนุษย์เลยครับ แล้วก็มีอยู่ ทั่วโลก เคยมีคนเป็น พญานาคตระกูลกัณหาโคตมะ
    (ผิวสีดำ)ที่ตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์ แม่น้ำสายหนึ่งของเมือง เซลยู (Seljord)ด้วยนะครับ
    ชาวเมืองแถวนั้นก็เคยเห็นกัน แต่พญานาคใต้บาดาลแถบนั้น มีจำนวนไม่มากนัก คือ น้อยกว่าแม่น้ำโขง ,
    มีอายุไม่ยืน เท่าที่แม่น้ำโขงด้วยแค่ 200 กว่าปีเอง (อายุของนาคแต่ละประเภทไม่เท่ากัน)
    พญานาคแบ่ง ออกเป็น 4 ตระกูลใหญ่ คือ

    [​IMG]

    ตระกูลวิรูปักษ์ พญานาคตระกูลสีทอง

    [​IMG]

    ตระกูลเอราปถ พญานาคตระกูลสีเขียว
    ตระกูลฉัพพยาปุตตะ พญานาคตระกูลสีรุ้ง
    และตระกูลกัณหาโคตมะ พญานาคตระกูลสีดำ
    **พญานาคเกิดได้ทั้ง 4 แบบ คือ
    แบบโอปปาติกะเกิดแล้วโตทันที
    แบบสังเสทชะ เกิดจากเหงื่อไคล สิ่งหมักหมม
    แบบชลาพุชะเกิดจากครรภ์
    แบบอัณฑชะเกิดจากฟองไข่
    พญานาคชั้นสูงเกิดแบบโอปปาติกะ เป็นชนชั้นปกครอง ที่อยู่ของพญานาคมีตั้งแต่ในแม่น้ำ หนอง คลอง บึงต่างๆ
    ในอากาศ จนไปถึงสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พวกพญานาคอยู่ ในการปกครองของท้าววิรูปักษ์(ท้าววิรูปักษ์เป็นหนึ่งในท้าวมหาราชทั้ง 4 ที่ปกครองสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา)

    [​IMG]

    ท้าวจตุมหาราชทั้ง 4 ผู้ปกครองสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา
    -ท้าวธตรฐมหาราช ทำหน้าที่ปกครองคนธรรพ์
    -ท้าววิรุฬหก ปกครองกุมภัณฑ์
    -ท้าววิรูปักษ์มหาราช ปกครองเหล่านาคทั้งหลาย
    -ท้าวเวสสุวรรณมหาราช ปกครองยักษ์

    [​IMG]

    ผู้ปกครองสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาด้านทิศตะวันตก เหตุที่มาเกิดเป็นพญานาคเพราะทำบุญเจือด้วยราคะ
    หรือมีจิตผูกพันธ์กับแม่น้ำและพญานาค หรืออธิฐานจิตขอเกิดเป็นพญานาค
    (ถึงแม้ทำบุญมามากแค่ไหนพอที่จะไปเกิดสวรรค์ชั้นสูง ๆ กว่านี้ได้ แต่ถ้ามีจิตผูกพันธ์ ยึดติดกับอะไรตายไปก็จะไปตรงนั้น)
    ดังนั้นควรยึดถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งสูงสุดเพราะเป็นสรณะอันประเสริฐที่สุดเพียงหนึ่งเดียว


    ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บ
    http://www.siammongkol.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มกราคม 2009
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]


    เวร อันหนึ่ง
    กรรม อีกอันหนึ่ง


    พูดไว้ ๒ อย่าง

    เวร นั้นทำแล้วต้องผูกอาฆาตพยาบาท จองล้างจองผลาญซึ่งกันและกัน

    เราทำให้คนนี้แหละเช่นว่า นาย ก. ทำนาย ข. นาย ก. นั้นผูกพยาบาทอาฆาตไว้ว่า เจ็บใจแสนที่สุดให้นาย ข. จึงฆ่านาย ข. หรือตีนาย ข. หรือทำให้เจ็บช้ำน้ำใจด้วยประการต่างๆ สมปรารถนาของตน แม้จะฆ่าให้ตายแล้วยังอยากจะฆ่าอีกให้ตายไม่รู้แล้วรู้รอดกันสักที อันนั้นแหละเวร

    คราวนี้นาย ข. เป็นคนผูกอาฆาตอีกเหมือนกัน มึงทำกู กูก็จะต้องทำอย่างนั้นเหมือนกัน ครั้นถ้าหากว่าไปพบหน้าชาติหน้าหรืออะไรก็ตามเถอะ นาย ข. นี้ต้องผูกเวรนั้นอยู่ตลอดเวลา กลับมาทำให้นาย ก. เช่นเดียวกับที่นาย ก. ทำให้นาย ข. เมื่อนาย ข. ทำให้นาย ก. นาย ก.ก็จะต้องผูกเวรนาย ข. อีกต่อไป อย่างนี้ไม่รู้แล้วไม่รู้รอดกันสักที

    ดังเรื่องนางกุลธิดากับนางยักขิณีในกถาธรรมบท นั่นแหละเป็นเรื่อง เวร

    คราวนี้ เวรนี่จะหมดเวรด้วยประการใด? เวรย่อมไม่ระงับเพราะมีเวร เวรระงับเพราะไม่มีเวร ความข้อนั้น เวรระงับเพราะไม่มีเวร คือ หมายความว่า คนนี้ก็เลิกร้างกัน เห็นโทษของตนแล้วเลิกร้างไม่ทำเวรต่อไป

    คือนาย ก. ไม่ทำเวรกับนาย ข. ต่อไป แต่นาย ข. ล่ะคราวนี้ยังไม่เลิกร้าง มันก็ต้องจำเป็นต้องผูกเวรกับนาย ก. อีกต่อไป อันนั้นยังไม่ทันหมดเวร ยังไม่ได้ระงับเวรเพราะมีเวร หากว่าทั้ง ๒ เลิกร้างต่อกัน นาย ก. และนาย ข. ลบร้างกันแล้วก็หมดเวรหมดกรรม อันนั้น ระงับเพราะไม่มีเวร

    แต่ว่าอันคนตายไปแล้ว มันจะพูดกันรู้เรื่องอย่างไรได้ ตายไปไม่ทราบว่าเกิดโลกไหน อย่างว่าเป็นสัตว์เป็นสาเป็นอะไรต่างๆ อย่างนี้ เป็นวัว เป็นควาย หรือเป็นเปรตอสุรกาย กับมนุษย์มันจะพูดรู้เรื่องกันหรือ หากว่าคนนี้ตายไปแล้วก็ มันก็พูดกันไม่รู้เรื่องอีกเหมือนกัน เราก็ไม่อยากทำเวรละ แต่เวรมันเกี่ยวเนื่องกันอยู่ เพราะเหตุที่จิตอาฆาตพยาบาท มันยากอยู่ตรงนี้ ยากที่จะระงับเวรได้ เพราะตรงนี้

    ที่ท่านว่า เวรย่อมระงับได้เพราะไม่มีเวร นั้นจริง แต่ว่ามันระงับไม่ได้เพราะเหตุที่ไม่รู้เรื่องของกันและกัน มีทางเดียวซึ่งอยู่ในชีวิตมนุษย์เป็นมนุษย์มีชีวิตอันนี้อยู่ ต่างคนต่างเห็นโทษของกันและกัน แล้วก็พูดกันต่อหน้าเสียบอกว่า ฉันทำผิดอย่างนั้น ทำผิดอย่างนี้ ถึงว่าทำผิดโดยเจตนาหรือไม่เจตนา แต่โดยเหตุที่อีกผู้หนึ่งเข้าใจผิด แล้วก็อาฆาตพยาบาทจองเวรซึ่งกันและกัน

    ครั้นหากว่าต่างคนต่างเห็นโทษของเวรอย่างนั้นแล้ว เข้าไปหากันแล้ว ระงับเวรด้วยการขอขมาโทษกัน ให้อโหสิกรรมกัน นั้นเป็นหมดเรื่องในชาตินี้เท่านั้น ไม่ต้องไปนมนานถึงหลายภพหลายชาติต่อไป อันนี้ ระงับได้เพราะไม่มีเวรอย่างนี้

    คราวนี้ กรรม กรรมไม่ใช่อย่างนั้น

    คนที่ทำกรรมจะรู้จักหน้ารู้จักตา รู้จักชื่อเสียงวงศ์ตระกูลอะไรกันต่างๆก็ตามเถอะ หรือไม่รู้จักก็ช่าง อย่างว่าคนเราทำกรรมเช่น ไปฆ่าสัตว์หรือฆ่ามนุษย์ โดยเหตุที่ไม่รู้จักหน้ารู้จักตา ไม่รู้จักวงศ์ตระกูลของกันและกัน อย่างสงครามโลกนี้เป็นต้นไม่รู้จักว่าคนชาติไหน ประเทศใด อยู่ต่างน้ำต่างแดนโน่นล่ะแล้ว ก็ยิงก็ฆ่ากันตายไป แล้วไม่รู้จักอาฆาตพยาบาทกัน มุ่งที่จะฆ่าทำลายกันและกัน ย่อมเป็นกรรมทั้ง ๒ ฝ่าย

    ผลกรรม ที่จะให้ละคราวนี้ ไม่ใช่คนที่เราทำนั้นมาให้ คนอื่นทำให้ก็ได้ หรือสิ่งอื่นทำให้ก็ได้เช่น เราตกน้ำตาย ฟ้าผ่าตาย รถคว่ำตาย เครื่องบินตกตาย น้ำท่วมพายุพัดตาย อย่างนี้เป็นต้น อันนั้นเรียกว่า กรรม กรรมที่เราทำไว้นั้นแหละย่อมสนองให้เราเป็นอย่างนั้น ไม่ใช่คนที่เราทำให้นั้นมาทำให้เรา อันนั้นเรียกว่า กรรม

    หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย
    <!-- m -->
    http://www.thewayofdhamma.org/page3_1_2/30.html<!-- m -->
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE class=maintable cellSpacing=1 cellPadding=0 width=600 align=center><TBODY><TR><TD class=navmenu vAlign=center align=middle witdh="100%"></TD><TD class=navmenu vAlign=center align=middle width=48></TD><TD class=navmenu vAlign=center align=middle width=48></TD><TD class=navmenu vAlign=center align=middle width=48></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- End standard table --><!-- Start standard table --><TABLE class=maintable cellSpacing=1 cellPadding=0 width=600 align=center><TBODY><TR><TD class=tableb style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; WHITE-SPACE: nowrap" align=middle height=100><TABLE class=imageborder cellSpacing=2 cellPadding=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]




    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- BEGIN img_desc --><TABLE class=img_caption_table cellSpacing=0 cellPadding=0><!-- BEGIN title --><TBODY><TR><TH>ในหลวงกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช </TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    'ในหลวง' ทรงสอน 'พุทธศาสนานี้ ปฏิบัติที่ไหน ปฏิบัติอย่างไร'
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=223 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=223></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชศรัทธาปสาทะอันแน่วแน่มั่นคงในบวรพุทธศาสนา โดยได้เสด็จออกทรงพระผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม-5 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 ในระหว่างนั้นได้ทรง ศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ดังที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้ทรงเล่าถึงพระราชจริยวัตรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวขณะทรงพระผนวชว่า

     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาฯ นี้ พระอาจารย์ที่เคารพ จะไปแสวงบุญที่อินเดีย พระอาจารย์ท่านนี้ทั้งพี่ใหญ่และ อ.ประถมฯ ได้พิจารณารูปถ่ายที่ผมถ่ายให้ดูแล้ว ต่างยืนยันว่าท่านสำเร็จวิชชา 3 รู้สัตว์เกิดตายแล้ว สามารถทำของเองได้ และเข้าขั้นแล้ว พระอุปัฏฐากท่านได้ติดต่อมาเพื่อขอพระพิมพ์ที่ผมมีอยู่ นำไปขอบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์ในกัปปปัจจุบัน พระนาม สมณโคดม ท่านลงมาทำให้ ณ ใต้ต้นโพธิ์ตรัสรู้ ที่พุทธคยา ผมจึงได้จัดพระสกุลลำพูนที่เก็บไว้ คือพระเปิมดำ พระคงดำ และพระรอดดำ พร้อมพระพิมพ์สมเด็จเนื้ออาบว่านสบู่เลือดอย่างละร้อยองค์ถวายท่าน และจะขอท่านคืนมาหลังจากที่ได้กลับประเทศไทยแล้วบางส่วน ซึ่งจะได้นำมาแจกจ่ายให้พวกเราที่ทำบุญกับทุนนิธิฯ ให้ได้เก็บท่านไว้คุ้มตัวต่อไป ในเรื่องการขอบารมีนี้ ในคราวที่แล้วที่ท่านไปเมื่อเดือน พ.ย. 51 ผมนำพระพิมพ์สมเด็จที่แจกให้ผู้ที่ทำบุญ "ผ้าห่มหนาว" ซึ่งเป็นพระพิมพ์สมเด็จอาบว่านสบู่เลือด ไปให้ท่านเพียง ร้อยองค์ ขาไปโบ๋เบ๋ คือพลังอ่อนมาก จนพี่ใหญ่บอกว่า เดี๋ยวทำให้ใหม่ แต่พอท่านพระอาจารย์ผมท่านไปอินเดีย ผมจึงฝากไปขอบารมีก่อนซึ่งไม่ได้คิดอะไรมาก แต่พอไปรับพระที่ขอไว้คืน ท่านเล่าให้ฟังถึงเบื้องหลังการขออธิษฐานพลัง ท่านบอกว่า ขอไปทั้งหมด สามรอบ ข้างบนท่านเมตตามากลงมาทำให้เป็นสายๆ ถึง สามครั้ง ภายหลังผมได้คืนมา แค่ ยีสิบองค์ แตกไป สององค์ พอยื่นให้พี่ใหญ่พิจารณา ยังไม่ทันเอาออกจากถุงพลาสติกเลย พี่ใหญ่บอก เฮ้ย.เอาท่านไปทำอะไรมาว๊ะ คราวนี้ทำไมแข็งปึกเลย ..ใช้ได้เลย เอาไปแจกให้พวกทำบุญกัน คราวนี้เลยเพิ่มปริมาณ และขอคืนจากท่านมากหน่อยครับ เอาไว้เสร็จแล้วจะแจ้งให้ทราบก็แล้วกัน...และก็หวังว่าท่านข้างบนท่านจะเมตตาอย่างเดิมอีก เพราะพวกเราก็นับว่าได้ช่วยสงฆ์อาพาธซึ่งนับว่าเป็นตัวแทนของท่านอยู่แล้ว ด้วยพระเมตตา และพระปริสุทธิคุณของท่าน ผมว่าเราไม่ผิดหวังแน่นอนครับ..
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มกราคม 2009
  11. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    หลักการทำสมาธิเบื้องต้น

    [​IMG]

    จิตของคนทั่วๆ ไปที่ไม่เคยทำสมาธินั้น ก็มักจะมีสภาพเหมือนม้าป่าพยศที่ยังไม่เคยถูกจับมาฝึกให้เชื่อง มีการซัดส่ายไปในทิศทางต่างๆ อยู่เป็นประจำ การทำสมาธินั้นก็เหมือนการจับม้าป่านั้นมาล่ามเชือก หรือใส่ไว้ในคอกเล็กๆ ไม่ยอมให้มีอิสระตามความเคยชิน เมื่อตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ ม้านั้นก็ย่อมจะแสดงอาการพยศออกมา มีอาการดิ้นรน กวัดแกว่ง ไม่สามารถอยู่อย่างนิ่งสงบได้ ถ้ายิ่งพยายามบังคับ ควบคุมมากขึ้นเท่าไหร่ ก็จะยิ่งดิ้นรนมากขึ้นเท่านั้น

    การจะฝึกม้าป่าให้เชื่องโดยไม่เหนื่อยมากนั้นต้องใจเย็นๆ โดยเริ่มจากการใส่ไว้ในคอกใหญ่ๆ แล้วปล่อยให้เคยชินกับคอกขนาดนั้นก่อน จากนั้นจึงค่อยๆ ลดขนาดของคอกลงเรื่อยๆ ม้านั้นก็จะเชื่องขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่แสดงอาการพยศอย่างรุนแรงเหมือนการพยายามบีบบังคับอย่างรีบร้อน เมื่อม้าเชื่องมากพอแล้ว ก็จะสามารถใส่บังเหียนแล้วนำไปฝึกได้โดยง่าย

    การฝึกจิตก็เช่นกัน ถ้าใจร้อนคิดจะให้เกิดสมาธิอย่างรวดเร็วทั้งที่จิตยังไม่เชื่อง จิตจะดิ้นรนมาก และเมื่อพยายามบีบจิตให้นิ่งมากขึ้นเท่าไหร่ จิตจะยิ่งเกิดอาการเกร็งมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งนั่นจะหมายถึงความกระด้างของจิตที่เพิ่มขึ้น (จิตที่เกร็งจะเป็นจิตที่กระด้าง ซึ่งต่างจากจิตที่ผ่อนคลายจะเป็นจิตที่ประณีตกว่า) แล้วยังจะทำให้เหนื่อยอีกด้วย ถึงแม้บางครั้งอาจจะบังคับจิตไม่ให้ซัดส่ายได้ แต่ถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นว่าจิตมีอาการสั่น กระเพื่อมอยู่ภายใน

    เหมือนการหัดขี่จักรยานใหม่ๆ ถึงแม้จะเริ่มทรงตัวได้แล้ว แต่ก็ขี่ไปด้วยอาการเกร็ง การขี่ในขณะนั้นนอกจากจะเหนื่อยแล้ว การทรงตัวก็ยังไม่นิ่มนวลราบเรียบอีกด้วย ซึ่งจะต่างกันมากเมื่อเปรียบเทียบกับการขับขี่ของคนที่ชำนาญแล้ว ที่จะสามารถขี่ไปได้ด้วยความรู้สึกที่ผ่อนคลายอย่างสบายๆ ราบเรียบ นุ่มนวล ไม่มีอาการสั่นเกร็ง

    หลักทั่วไปในการทำสมาธินั้น พอจะสรุปเป็นข้อๆ ได้ดังนี้


    [​IMG]


    1.) หาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำสมาธิให้มากที่สุดก่อนที่จะทำสมาธิ เพื่อจะได้ประหยัดเวลาไม่ต้องลองผิดลองถูก และไม่หลงทาง ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเพราะความไม่รู้ หรือเข้าใจผิด นอกจากนี้ยังป้องกันความฟุ้งซ่านที่อาจจะเกิดขึ้นจากความลังเลสงสัยอีกด้วย

    2.) เลือกวิธีที่คิดว่าเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด แล้วลองทำไปสักระยะหนึ่งก่อน ถ้าทำแล้วสมาธิเกิดได้ยากก็ลองวิธีอื่นๆ ดูบ้าง เพราะจิตและลักษณะนิสัยของแต่ละคนไม่เหมือนกัน วิธีที่เหมาะสมของแต่ละคนจึงต่างกันไป บางคนอาจจะเหมาะกับการตามดูลมหายใจ ซึ่งอาจจะใช้คำบริกรรมว่าพุทธ-โธ หรือ เข้า/ออก ประกอบ บางคนอาจจะเหมาะกับการแผ่เมตตา บางคนถนัดการเพ่งกสิณ เช่นเพ่งวงกลมสีขาว ฯลฯ

    ซึ่งวิธีการทำสมาธินั้นมีมากถึง 40 ชนิด เพื่อให้เหมาะกับคนแต่ละประเภท แต่ที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญมากที่สุด ก็คืออานาปานสติ คือการตามสังเกต ตามรู้ลมหายใจเข้าออกนั่นเอง (ดูรายละเอียดได้ในเรื่องนิวรณ์ 5 และวิธีแก้ไข ในหมวดสมถกรรมฐาน (สมาธิ) ในหัวข้อวิธีแก้ไขนิวรณ์ 5/อุทธัจจกุกกุจจะ และในเรื่องอานาปานสติสูตร ในหมวดวิปัสสนา (ปัญญา) ) เพราะทำได้ในทุกที่ โดยไม่ต้องเตรียมอุปกรณ์ใดๆ เลย ทำแล้วจิตใจเย็นสบาย ไม่เครียด

    3.) อยู่ใกล้ผู้รู้ หรือรีบหาคนปรึกษาทันทีที่สงสัย เพื่อไม่ให้ความสงสัยมาทำให้จิตฟุ้งซ่าน

    4.) พยายามตัดความกังวลทุกอย่างที่อาจจะเกิดขึ้นออกไปให้มากที่สุด โดยการทำงานทุกอย่างที่คั่งค้างอยู่ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนที่จะทำสมาธิ หรือถ้าทำสมาธิไปแล้ว เกิดความกังวลถึงการงานใดขึ้นมา ก็ให้บอกกับตัวเองว่าตอนนี้เป็นเวลาทำสมาธิ ยังไม่ถึงเวลาทำงานอย่างอื่น เอาไว้ทำสมาธิเสร็จแล้วถึงไปทำงานเหล่านั้นก็ไม่เห็นเสียหายอะไร ถ้าแก้ความกังวลไม่หายจริงๆ ก็หยุดทำสมาธิแล้วรีบไปจัดการเรื่องนั้นๆ ให้เรียบร้อยก่อนก็ได้ ถ้าคิดว่าขืนนั่งต่อไปก็เสียเวลาเปล่า เมื่องานนั้นเสร็จแล้วก็รีบกลับมาทำสมาธิใหม่

    5.) ก่อนนั่งสมาธิถ้าอาบน้ำได้ก็ควรอาบน้ำก่อน หรืออย่างน้อยก็ควรล้างหน้า ล้างมือ ล้างเท้าก่อนจะทำให้โล่งสบายตัว เมื่อกายสงบระงับ จิตก็จะสงบระงับได้ง่ายขึ้น

    6.) ควรทำสมาธิในที่ที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย ไม่พลุกพล่านจอแจ

    7.) ก่อนนั่งสมาธิควรเดินจงกรม (เดินกลับไปกลับมาช้าๆ โดยยึดจิตไว้ที่จุดใดจุดหนึ่งในเท้า ข้างที่กำลังเคลื่อนไหว เช่น ปลายเท้า หรือส้นเท้า โดยควรมีคำบริกรรมประกอบ เช่น ขวา/ซ้าย ฯลฯ) หรือสวดมนต์ก่อน เพื่อให้จิตเป็นสมาธิในระดับหนึ่งก่อน จะทำให้นั่งสมาธิได้ง่ายขึ้น

    8.) การนั่งสมาธินั้นควรนั่งในท่าขัดสมาธิ หลังตรง (ไม่นั่งพิงเพราะจะทำให้ง่วงได้ง่าย) หรือถ้าร่างกายไม่อำนวย ก็อาจจะนั่งบนเก้าอี้ก็ได้ นั่งบนพื้นที่อ่อนนุ่มตามสมควร ทอดตาลงต่ำ ทำกล้ามเนื้อให้ผ่อนคลาย อย่าเกร็ง (เพราะการเกร็งจะทำให้ปวดเมื่อย และจะทำให้จิตเกร็งตามไปด้วย) นั่งให้ร่างกายอยู่ในท่าที่สมดุล มั่นคง ไม่โยกโคลงได้ง่าย มือทั้ง 2 ข้างประสานกัน ปลายนิ้วหัวแม่มือแตะกันเบาๆ วางไว้บนหน้าตัก หลับตาลงช้าๆ หลังจากนั้นส่งจิตไปสำรวจตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ให้ทั่วทั้งตัว เพื่อดูว่ามีกล้ามเนื้อส่วนใดที่เกร็งอยู่หรือไม่ ถ้าพบก็ให้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนนั้นให้หายเกร็ง โดยไล่จากปลายเท้าทีละข้าง ค่อยๆ สำรวจเลื่อนขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึงสะโพก แล้วย้ายไปสำรวจที่ปลายเท้าอีกข้างหนึ่ง ทำเช่นเดียวกัน จากนั้นก็สำรวจจากสะโพก ไล่ขึ้นไปจนถึงยอดอก แล้วสำรวจจากปลายนิ้วมือทีละข้าง ไล่มาจนถึงไหล่ เมื่อทำครบสองข้างแล้ว ก็สำรวจไล่จากยอดอกขึ้นไปจนถึงปลายเส้นผม ก็จะเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้ทั่วร่างกาย จากนั้นหายใจเข้าออกลึกๆ สัก 3 รอบ โดยมีสติอยู่ที่ลมหายใจ ตรงจุดที่ลมกระทบปลายจมูก พร้อมกับทำจิตใจให้รู้สึกผ่อนคลายลงเรื่อยๆ หลังจากนั้นจึงเริ่มทำสมาธิตามวิธีที่เลือกเอาไว้

    9.) อย่าตั้งใจมากเกินไป อย่าไปกำหนดกฎเกณฑ์ว่าวันนั้นวันนี้จะต้องได้ขั้นนั้นขั้นนี้ เพราะจะทำให้เคร่งเครียด จิตจะหยาบกระด้าง และจิตจะไม่อยู่กับปัจจุบัน เพราะมัวแต่ไปจดจ่ออยู่กับผลสำเร็จซึ่งยังไม่เกิดขึ้น จิตจะพุ่งไปที่อนาคต เมื่อจิตไม่อยู่ที่ปัจจุบันสมาธิก็ไม่เกิดขึ้น

    ให้ทำใจให้สบายๆ ผ่อนคลาย คิดว่าได้แค่ไหนก็แค่นั้น แล้วค่อยๆ รวมจิตเข้ามาที่จุดที่ใช้ยึดจิตนั้น (เช่นลมหายใจ และคำบริกรรม) แล้วคอยสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าในขณะนั้น (เช่น ความหยาบ/ละเอียด ความยาว ความลึก ความเย็น/ร้อน ของลมหายใจ) จิตก็จะอยู่ที่ปัจจุบัน แล้วสมาธิก็จะตามมาเอง ถ้าฟุ้งซ่านไปบ้างก็คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาของจิต อย่ากังวล อย่าอารมณ์เสีย (จะทำให้จิตหยาบขึ้น) เพราะคนอื่นๆ ก็เป็นกันทั้งนั้น เมื่อรู้ตัวว่าฟุ้งออกไปแล้ว ก็ใจเย็นๆ กลับมาเริ่มทำสมาธิใหม่ แล้วจะดีขึ้นเรื่อยๆ เอง

    10.) ใหม่ๆ ควรนั่งแต่น้อยก่อน เช่น 5 - 15 นาที แล้วจึงค่อยๆ เพิ่มขึ้นเป็น 20, 30, 40, ... นาที ตามลำดับ เพื่อให้ร่างกายและจิตใจค่อยๆ ปรับตัว เมื่อนั่งไปแล้วหากรู้สึกปวดขาหรือเป็นเหน็บ ก็ขอให้พยายามอดทนให้มากที่สุด ถ้าทนไม่ไหวจริงๆ จึงจะขยับ เพราะทุกครั้งที่มีการขยับตัวจะทำให้จิตกวัดแกว่ง ทำให้สมาธิเคลื่อนได้ และโดยปรกติแล้วถ้าทนไปได้ถึงจุดหนึ่ง เมื่ออาการปวดหรือเป็นเหน็บนั้นเกิดขึ้นเต็มที่แล้ว อาการปวดหรือเป็นเหน็บนั้นก็จะหายไปเอง และมักจะเกิดความรู้สึกเบาสบายขึ้นมาแทนที่ ซึ่งเป็นอาการของปิติที่เกิดจากสมาธิ

    11.) การทำสมาธินั้น เมื่อใช้สิ่งไหนเป็นเครื่องยึดจิต ก็ให้ทำความรู้สึกเหมือนกับว่า ตัวเราทั้งหมดไปรวมเป็นก้อนกลมๆ เล็กๆ อยู่ที่จุดยึดจิตนั้น เช่น ถ้าใช้ลมหายใจ (อานาปานสติ) ก็ทำความรู้สึกว่าตัวเราทั้งหมดย่อส่วนเป็นตัวเล็กๆ ไปนั่งอยู่ที่จุดที่รู้สึกว่าลมกระทบอย่างชัดเจนที่สุด เช่นปลายรูจมูกข้างใดข้างหนึ่ง หรือริมฝีปากบน เป็นต้น ให้ทำความรู้สึกที่จุดนั้นเพียงจุดเดียว ไม่ต้องเลื่อนตามลมหายใจ เหมือนเวลาเลื่อยไม้ ตาก็มองเฉพาะที่จุดที่เลื่อยสัมผัสกับไม้เพียงจุดเดียว ไม่ต้องมองตามใบเลื่อย ก็จะรู้ได้ว่าตอนนี้กำลังเลื่อยเข้าหรือเลื่อยออก เมื่อจิตอยู่ที่จุดลมกระทบเพียงจุดเดียว ก็จะรู้ทิศทาง และลักษณะของลมได้เช่นกัน

    12.) ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็อย่าตกใจ อย่ากลัว อย่ากังวล เพราะทั้งหมดเป็นเพียงอาการของจิต พยายามตั้งสติเอาไว้ให้มั่นคง ตราบใดที่ไม่กลัว ไม่ตกใจ ไม่ขาดสติ ก็จะไม่มีอันตรายใดๆ เกิดขึ้น ทำใจให้เป็นปรกติ แล้วคอยสังเกตสิ่งเหล่านั้นเอาไว้ แล้วทุกอย่างจะดีขึ้นเอง ถ้าเห็นภาพที่น่ากลัวปรากฏขึ้นมา หรือรู้สึกว่าได้สัมผัสกับสิ่งที่น่ากลัวใดๆ ก็ตาม ให้แผ่เมตตาให้สิ่งเหล่านั้น แล้วคิดว่าอย่าได้มารบกวนการปฏิบัติของเราเลย ถ้าไม่หายกลัวก็นึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้เป็นที่พึ่งทางใจ แล้วพยายามอย่าใส่ใจถึงสิ่งที่น่ากลัวนั้นอีก ถ้าแก้ไม่หายจริงๆ ก็ตั้งสติเอาไว้ หายใจยาวๆ แล้วค่อยๆ ถอนจากสมาธิออกมา เมื่อใจเป็นปรกติแล้วถึงจะทำสมาธิใหม่อีกครั้ง สำหรับคนที่ตกใจง่าย ก็อาจนั่งสมาธิหน้าพระพุทธรูป หรือนั่งโดยมีเพื่อนอยู่ด้วย ก่อนนั่งก็ควรสวดมนต์ไหว้พระก่อน แล้วอธิษฐานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยคุ้มครอง

    13.) ถ้าจิตไม่สงบ ก็ลองแก้ไขตามวิธีที่ได้อธิบายเอาไว้ในเรื่องนิวรณ์ 5 และวิธีแก้ไข ในหมวดสมถกรรมฐาน (สมาธิ) ซึ่งได้อธิบายเอาไว้อย่างละเอียดแล้ว

    14.) เมื่อจะออกจากสมาธิ ควรแผ่เมตตาให้กับสรรพสัตว์ทั้งหลายก่อน โดยการระลึกถึงความปรารถนาให้ผู้อื่น และสัตว์ทั้งหลายมีความสุขด้วยใจจริง จากนั้นก็อุทิศส่วนกุศลที่ได้จากการทำสมาธินั้น ให้กับเจ้ากรรมนายเวร ผู้มีพระคุณ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย (ระลึกให้ด้วยใจ) แล้วหายใจยาวๆ ลึกๆ สัก 3 รอบ พร้อมกับค่อยๆ ถอนความรู้สึกจากสมาธิช้าๆ เสร็จแล้วค่อยๆ ลืมตาขึ้น บิดเนื้อบิดตัวคลายความปวดเมื่อย แล้วจึงค่อยๆ ลุกขึ้นยืนช้าๆ

    15.) เมื่อตั้งใจจะทำสมาธิให้จริงจัง ควรงดเว้นจากการพูดคุยให้มากที่สุด เว้นแต่เพื่อให้คลายความสงสัยที่ค้างคาอยู่ในใจ เพราะการคุยกันนั้นจะทำให้จิตฟุ้งซ่าน คือในขณะคุยกันก็มีโอกาสทำให้เกิดกิเลสขึ้นมาได้ ทำให้จิตหยาบกระด้างขึ้น และเมื่อทำสมาธิก็จะเก็บมาคิด ทำให้ทำสมาธิได้ยากขึ้น โดยเฉพาะการคุยกับคนที่สมาธิน้อยกว่าเรา นอกจากนี้ ควรเว้นจากการร้องรำทำเพลง การฟังเพลง รวมถึงการดูการละเล่นทั้งหลาย เพราะสิ่งเหล่านี้จะเพิ่มกามฉันทะ ซึ่งเป็นนิวรณ์ชนิดหนึ่ง (ดูเรื่องนิวรณ์ 5 และวิธีแก้ไข ในหมวดสมถกรรมฐาน (สมาธิ) ประกอบ) อันเป็นอุปสรรคต่อการทำสมาธิ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มกราคม 2009
  12. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    การนั่งสมาธิแฟชั่นล่าสุดของตะวันตก


    [​IMG]




    การนั่งสมาธิกำลังได้รับความนิยมอย่างสูงในซีกโลกตะวันตก ขณะที่ผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ยืนยันว่า การทำสมาธิ ไม่เพียงแต่ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานของร่างกาย หากยังทำให้ความเครียดในใจลดลงด้วย


    ทุกวันนี้ในอเมริกา มีคนวัยผู้ใหญ่มากกว่า ๑๐ ล้านคน ที่นั่งสมาธิเป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็นการนั่งสมาธิในแบบพุทธ ฮินดู เต๋า หรือการสวดภาวนาในแบบคริสต์ ซึ่งตัวเลขดังกล่าว เพิ่มขึ้นจากเมื่อ ๑๐ ปีที่แล้วถึงเท่าตัว ขณะเดียวกันชั้นเรียนการนั่งสมาธิ ก็เต็มไปด้วยนักเรียนที่มาจากทุกชนชั้นอาชีพ ไม่เฉพาะแต่คนที่ฝักใฝ่ในทางธรรมเท่านั้น หากยังรวมไปถึงนักกฎหมาย และคนทำงานออฟฟิศทั่วไปด้วย


    ในปัจจุบัน การนั่งสมาธิ ไม่ได้เป็นเรื่องยากลำบาก ถึงขั้นต้องบุกป่าฝ่าดงเพื่อฝากตัวเป็นสาวกท่านมหาฤาษีเหมือนในสมัยก่อน ว่ากันจริงๆ แล้ว การนั่งสมาธิกลายเป็นสิ่งที่ยากจะหลีกเลี่ยงแล้วด้วยซ้ำ ตามโรงเรียน โรงพยาบาล สำนักงานกฎหมาย หน่วยงานราชการ สำนักงานบริษัท และแม้แต่ในเรือนจำ


    การนั่งสมาธิ กลายเป็นหัวข้อวิชาในหลักสูตรโรงเรียนนายร้อยเวสต์พอยต์ กลายเป็นส่วนหนึ่งของข้อแนะนำของฟิลแจ็คสัน โค้ชทีมแอลเอ.เลเกอร์ส ส่วนที่มหาวิทยาลัยมหาริชชี (หรือมหาฤาษี) ในเมืองแฟร์ฟิลด์ รัฐไอโอวา นักเรียน นักศึกษาของที่นี่ จะนั่งสมาธิร่วมกันทุกวันๆๆ ละ ๒ ครั้ง ขณะที่ศูนย์ชัมบาลา เมาน์เทน ในโคโลราโด ซึ่งดูเหมือนสถานกาสิโนในสไตล์ทิเบต มีคนมาใช้บริการเพิ่มขึ้นจาก ๑,๓๔๒ คน ในปี ๒๕๔๑ เป็น ๑๕,๐๐๐ คน ในปีนี้


    ดารา นักการเมือง และผู้มีชื่อเสียงจำนวนมากในอเมริกาหันมานั่งสมาธิอย่างจริงจัง อาทิ โกลดี้ฮอว์น ดาราสาวใหญ่ที่ยังสวยไม่สร่าง, ชาไนยา ทเวน นักร้องคันทรีสาวสวย, ฮีทเธอร์ แกรมห์ ดาราสาวหุ่นเซกซี่, ริชาร์ด เกียร์ นักแสดงมากฝีมือ และ อัล กอร์ อดีตรองประธานาธิบดี ซึ่งเกือบๆ จะได้เป็นประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา


    ขณะที่การนั่งสมาธิกลายเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมมากขึ้น รูปแบบและวิธีการของมัน ก็ถูกทำให้เรียบง่าย และตัดส่วนที่เป็นเรื่องลี้ลับออกไปด้วย ทุกวันนี้ การนั่งสมาธิไม่จำเป็นต้องมีการจุดธูปเทียน หรือพิธีกรรมเพื่อความศักดิ์สิทธิ์ แต่ยังคงส่วนที่เป็นแก่นสำคัญอยู่ คือ ความเชื่อที่ว่า การนั่งเงียบๆ เป็นเวลา ๑๐-๔๐ นาที โดยให้ใจจดจ่ออยู่กับรูปภาพ ถ้อยคำหรือแม้แต่ลมหายใจ จะทำให้คุณเกิดสมาธิที่อยู่กับภาวะปัจจุบัน โดยไม่วอกแวกไปกับอดีตที่ผ่านไปแล้วหรืออนาคตที่ยังมาไม่ถึง รวมทั้งทำให้คุณสามารถเข้าสู่สัจธรรมได้



    ความนิยมในการนั่งสมาธิที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ไม่ได้เป็นแค่กระแสในทางวัฒนธรรมเท่านั้น หากยังเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์ด้วยเนื่องจากแพทย์หลายคนแนะนำว่า การนั่งสมาธิช่วยป้องกัน หรืออย่างน้อยก็ยับยั้งความเจ็บปวดจากโรคเรื้อรัง อย่างเช่น โรคหัวใจ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (เอดส์) และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ การนั่งสมาธิ ยังเป็นสิ่งที่แพทย์แนะนำให้ทำ เพื่อแก้อาการทางจิต อาทิ ภาวะซึมเศร้า (depression) ภาวะไฮเปอร์แอคทีฟ (hyperactivity) และอาการสมาธิสั้น(attention deficit disorder)
    การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในเรื่องการนั่งสมาธิ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงทศวรรษ ๒๕๐๐-๒๕๑๐ ซึ่งได้ผลลัพธ์ยืนยันว่า การนั่งสมาธิทำให้จิตใจ "อยู่กับปัจจุบัน" อย่างแท้จริง
    ในอินเดีย นักวิจัยชื่อ พี.เค.อนันต์ พบว่า บรรดาโยคีที่อยู่ในภาวะ "สมาธิ" จะไม่มีปฏิกิริยาใดๆ แม้ว่าจะถูกวัตถุร้อนแนบเข้าที่ต้นแขน ขณะที่ในญี่ปุ่น ผลการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ที.ฮิราอิ แสดงให้เห็นว่า ผู้นั่งสมาธิแบบ "เซน" จะอยู่ในภวังค์ จนไม่ได้ยินเสียงนาฬิกาปลุกที่ดังติดต่อกันนานถึงชั่วโมง



    ในปี ๒๕๑๐ ดร.เฮอร์เบิร์ท เบนสัน ศาสตราจารย์ด้านการแพทย์ จากฮาร์วาร์ด ใช้เครื่องมือแพทย์ ตรวจวัดการทำงานของร่างกาย ผู้นั่งสมาธิ ๓๖ คน พบว่าเมื่อคนเราอยู่ในภาวะสมาธิ ร่างกายจะใช้ออกซิเจนน้อยลง ๑๗% ขณะที่อัตราการเต้นของหัวใจจะลดลง จากภาวะปกตินาทีละ ๓ ครั้ง ขณะที่คลื่นสมอง "เธต้า" อันเป็นคลื่นสมองที่เกิดขึ้น ในภาวะหลับสนิท จะเพิ่มสูงขึ้น


    เบนสัน สรุปว่า การนั่งสมาธิช่วยให้คนเรามีจิตใจที่สงบขึ้น และมีความสุขมากขึ้น
    "สิ่งที่ผมทำ" เบนสัน ระบุ "เป็นการอธิบายในทางวิทยาศาสตร์ ต่อเทคนิคที่คนเราได้เรียนรู้ และนำมาประยุกต์ใช้ ตั้งแต่เมื่อหลายพันปีที่แล้ว"


    การศึกษาเรื่อง การนั่งสมาธ ิเริ่มเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ เมื่อเดือน มี.ค ๒๕๔๓ เมื่อองค์ทะไล ลามะ ผู้นำจิตวิญญาณแห่งธิเบต ได้พบปะพูดคุยกับนักจิตวิทยา และนักวิทยาศาสตร์ด้านระบบประสาท ที่ธรรมศาลา ประเทศอินเดีย ซึ่งพระองค์เสนอให้มีการศึกษาเรื่อง ภาวะสมาธิ โดยใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ในการตรวจวัดคลื่นสมอง ซึ่งจะมีการหารือผลของการศึกษานี้ ในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้


    สิ่งหนึ่งที่วงการวิทยาศาสตร์ได้เรียนรู้ ก็คือการปฏิบัติสมาธิในระยะหนึ่ง จะทำให้ระบบประสาทในสมอง ปรับตัวให้เข้ากับกิจกรรมในสมองส่วนตัว ซึ่งเป็นสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การคิดโดยใช้เหตุผล การตระหนักรู้ และการควบคุมอารมณ์มากขึ้น
    "การศึกษาวิจัยในช่วง ๓๐ ปีที่ผ่านมา ทำให้เราพบว่า การนั่งสมาธิ เป็นยารักษาอาการเครียดได้ชะงัดนัก" แดเนียล โกลแมน ผู้เขียนหนังสือ Destructive Emotions ซึ่งรวบรวมบทสนทนาระหว่างองค์ทะไล ลามะ กับคณะนักประสาทวิทยากล่าว "แต่ที่น่าตื่นเต้นกว่านั้น ก็คือ นั่งสมาธิ ยังช่วยปรับสภาพจิตใจและสมองได้อีกด้วย"


    ทั้งนี้ ผลการวิจัย ซึ่งรวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อน พบว่า การนั่งสมาธิทำให้สมองกลับมาอยู่ในสภาพ "สด-ใหม่" รวมถึงขจัดอาการ "ปัญหาจราจรติดขัด" ในเส้นเลือด หรืออาการเส้นเลือดอุดตัน และที่สำคัญ ต้นทุนในการนั่งสมาธิ ซึ่งใช้เพียงแค่เบาะรองนั่งใบเดียว ก็ถูกกว่าการผ่าตัดใหญ่หลายเท่าตัว


    "การนั่งสมาธิเป็นเหมือนการเติมน้ำมันให้กับสมอง" โรเบิร์ท เธอร์แมน ผู้อำนวยการสถาบันทิเบต เฮาส์ กล่าว "การนั่งสมาธิในแบบเอเซีย อาจเป็นวิธีที่เป็นธรรมชาติที่สุด"
    "อีกอย่างที่ผมอยากจะเสนอ ก็คือเราควรแยกออกจากกัน ระหว่างการนั่งสมาธิกับการนับถือศาสนาพุทธ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ไม่ว่าคุณจะนับถือศาสนาหรือความเชื่อแบบใด คุณก็สามารถนั่งสมาธิในแบบพุทธได้" เธอร์แมน กล่าว..


    http://th.wisdominside.org/index.php?option=com_content&task=view&id=232&Itemid=67
     
  13. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    วิถีแห่งการใช้เงินแบบพุทธ ใช้ยังไงก็ไม่ทุกข์


    [​IMG]


    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
    อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต มุณฑราชวรรคที่ ๕

    ๑. อาทิยสูตร

    [๔๑] ครั้งนั้น ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดี เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคได้ตรัสกับท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีว่า ดูกรคฤหบดี ประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ

    อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่น ความขยัน สะสมขึ้นด้วยกำลังแขน อาบเหงื่อต่างน้ำ ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม เลี้ยงตนให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำบริหารตนให้เป็นสุขสำราญ เลี้ยงมารดาบิดาให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำ บริหารให้เป็นสุขสำราญ เลี้ยงบุตร ภรรยา ทาสกรรมกร คนใช้ ให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำ บริหารให้เป็นสุขสำราญ นี้เป็นประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ข้อที่ ๑ ฯ

    อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่น ความขยัน สะสมขึ้นด้วยกำลังแขน อาบเหงื่อต่างน้ำ ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม เลี้ยงมิตรสหายให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำ บริหารให้เป็นสุขสำราญ นี้เป็นประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ข้อที่ ๒ ฯ

    อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่น ความขยัน สะสมขึ้นด้วยกำลังแขน อาบเหงื่อต่างน้ำ ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม ป้องกันอันตรายที่เกิดแต่ไฟ น้ำ พระราชา โจร หรือทายาทผู้ไม่เป็นที่รัก ทำตนให้สวัสดี นี้เป็นประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ข้อที่ ๓ ฯ

    อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่น ความขยัน สะสมขึ้นด้วยกำลังแขน อาบเหงื่อต่างน้ำ ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม ทำพลี ๕ อย่าง คือ
    ๑. ญาติพลี [บำรุงญาติ]
    ๒. อติถิพลี [ต้อนรับแขก]
    ๓. ปุพพเปตพลี [บำรุงญาติผู้ตายไปแล้วคือทำบุญอุทิศกุศลให้]
    ๔. ราชพลี [บำรุงราชการ คือบริจาคทรัพย์ช่วยชาติ]
    ๕. เทวตาพลี [บำรุงเทวดา คือทำบุญอุทิศให้เทวดา]
    นี้เป็นประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ข้อที่ ๔ ฯ

    อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่น ความขยัน สะสมขึ้นด้วยกำลังแขน อาบเหงื่อต่างน้ำ ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม บำเพ็ญทักษิณา มีผลสูงเลิศ เกื้อกูลแก่สวรรค์ มีวิบากเป็นสุข ยังอารมณ์เลิศให้เป็นไปด้วยดีในสมณพราหมณ์ ผู้เว้นจากความมัวเมาประมาท ตั้งอยู่ในขันติและโสรัจจะ ผู้มั่นคง ฝึกฝนตนให้สงบระงับดับกิเลสโดยส่วนเดียว นี้เป็นประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ข้อที่ ๕ ฯ

    ดูกรคฤหบดี ประโยชน์ที่จะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้แล ถ้าเมื่ออริยสาวกนั้นถือเอาประโยชน์แต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้ โภคทรัพย์หมดสิ้นไปอริยสาวกนั้นย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า เราได้ถือเอาประโยชน์แต่โภคทรัพย์นั้นแล้วและโภคทรัพย์ของเราก็หมดสิ้นไป ด้วยเหตุนี้ อริยสาวกนั้น ย่อมไม่มีความเดือดร้อน ถ้าเมื่ออริยสาวกนั้นถือเอาประโยชน์แต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้โภคทรัพย์เจริญขึ้น อริยสาวกนั้นย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า เราถือเอาประโยชน์แต่โภคทรัพย์นี้แล้ว และโภคทรัพย์ของเราก็เจริญขึ้น อริยสาวกนั้นย่อมไม่มีความเดือดร้อน อริยสาวกย่อมไม่มีความเดือดร้อนด้วยเหตุทั้ง ๒ ประการฉะนี้แล ฯ

    นรชนเมื่อคำนึงถึงเหตุนี้ว่า เราได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงตน
    แล้ว ได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงคนที่ควรเลี้ยงแล้ว ได้ผ่านพ้น
    ภัยที่เกิดขึ้นแล้ว ได้ให้ทักษิณาอันมีผลสูงเลิศแล้ว ได้ทำ
    พลี ๕ ประการแล้ว และได้บำรุงท่านผู้มีศีล สำรวมอินทรีย์
    ประพฤติพรหมจรรย์แล้ว บัณฑิตผู้อยู่ครองเรือน พึงปรารถนา
    โภคทรัพย์ เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้น เราก็ได้บรรลุ
    แล้ว เราได้ทำสิ่งที่ไม่ต้องเดือดร้อนแล้ว ดังนี้ชื่อว่าเป็นผู้
    ดำรงอยู่ในธรรมของพระอริยะ บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญ
    เขาในโลกนี้ เมื่อเขาละจากโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงใจใน
    สวรรค์ ฯ

    จบสูตรที่ ๑


    สรุปพระพุทธเจ้าสอนการใช้เงิน 5 ประการ

    1) ใช้เงินเพื่อบริหารตนให้มีความสุข (อยู่ดีมีสุข) เลี้ยงมารดาบิดาให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ เลี้ยงบุตร ภรรยา ทาสกรรมกร คนใช้ ให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ

    2) ใช้เงินเลี้ยงมิตรสหายให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำ บริหารให้เป็นสุขสำราญ

    3) ใช้เงินป้องกันอันตรายที่เกิดแต่ไฟ น้ำ พระราชา โจร หรือ คนที่เกลียดเรา นั่นคือใช้เงินเพื่อป้องกันตัวเองจากภัยอันตรายต่างๆ

    4) ใช้เงินเพื่อทำ พลีอีก 5 ประการ

    5) ใช้เงินเพื่อบำรุงสมณชีพราหมณ์ให้มีความสุข


    ถ้าใช้แล้วเงินหมดก็อย่าไปเดือดร้อนให้คิดเสียว่าทำไปก็เพื่อประโยชน์ทั้ง ห้า ประการแล้ว
    ถ้าใช้แล้วเงินมี ก็อย่าหลงดีใจ อย่าไปคิดให้เดือดร้อนอีกว่าทำไมเงินเยอะจัง ก็ให้ทำต่อไปเรื่อยๆ ยังประโยชน์ทั้ง 5 ประการไปเรื่อยๆ

    แบบนี้แลเรียกว่า ใช้เงินอย่างมีความสุข
     
  14. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    พระโอวาทพระอาจารย์จี้กง

    [​IMG]


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    อาชีพต้องห้าม 5 อย่าง

    อาชีพที่ห้ามทำ 5 อย่างของชาวพุทธที่พระพุทธเจ้าบอกว่าไม่ควรทำมีอะไรบ้าง

    5 อาชีพที่พระพุทธองค์ ทรงห้ามไว้ มีดังนี้
    (ถ้าทำตามข้อห้ามนี้ไม่ได้ แสดงว่า อกุศลวิบากจากกรรมเก่า ...กำลังส่งผล: กรรมเก่าส่งผลให้เลือกอาชีพอื่นไม่ได้)

    1. ห้ามขายสัตว์ (เลี้ยงสัตว์-ให้เขาเอาไปฆ่า)
    2. ห้ามขายมนุษย์ ,แรงงานเถื่อน...
    3. ห้ามขาย อาวุธ - ปืน , เบ็ดตกปลา , อีกมากมาย
    4. ห้ามขายยาพิษ
    5. ห้ามขายสุรา และไม่ดื่ม สุรา

    ซึ่ง ทั้ง 5 ข้อนี้รวมอยู่ใน อาชีวัฎฐะมะกะศีล ด้วย

    ดูข้อมูล อาชีวัฎฐะมะกะศีล จาก หนังสือ สวดมนต์ของ คุณแม่ดร.สิริ กรินชัยได้
    หรือ จะถามคนที่เคยเข้าปฏิบัติ วิปัสสนา ในโครงการของ คุณแม่สิริ ที่ ยุวพุทธ www.ybat.org ก็ได้
    หรือ จะ serach ข้อมูลจาก google.co.th ก็ได้ข้อมูลดังนี้

    http://tinyurl.com/3na7s



    อ้างอิง
    อ้างอิง
    อาชีวัฏฐมกศีลนี้ เป็นศีลส่วน อาทิพรหมจรรย์ คือ เป็นหลักความประพฤติเบื้องต้นของพรหมจรรย์ กล่าวคือ มรรค เป็นสิ่งที่ต้องประพฤติให้บริสุทธิ์ในขั้นต้น ของการดำเนินตามอริยอัฏฐังคิกมรรค

    ว่าโดยสาระ อาชีวัฏฐมกศีล ก็คือ องค์มรรค ๓ ข้อ ในหมวดศีล คือข้อที่ ๓-๔-๕ ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และ สัมมาอาชีวะ นั่นเอง

    ดู (๒๗๘) มรรคมีองค์ ๘; (๓๐๗,๓๐๘) กุศลกรรมบถ ๑๐.

    Vism.11. วิสุทฺธิ.๑/๑๓
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>
    [​IMG]


    ปกิณกธรรม : วิธีสอนธรรมของ
     
  17. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    สาธุครับ
    โมทนาบุญด้วยครับ
     
  18. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    วันนี้ผมได้นำเงินที่ผู้กองท็อป(ร.ต.อ.ศิรณวิชญ์ อินทร) จำนวน 500 บาทที่ได้ฝากผ่านมาทางผมเพื่อร่วมบริจาคเข้าทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ไปฝากเข้าบัญชีของทุนนิธิฯเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปกติผู้กองท๊อป นายตำรวจผู้มากด้วยน้ำใจและอัธยาศัยดีมากๆก็ได้ร่วมบริจาคและไปร่วมทำบุญกันอยู่เป็นประจำอยู่แล้ว ก็ขอขอบพระคุณและโมทนาบุญกับผู้กองด้วยนะครับ

    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ
     
  19. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    ท่านหลวงตาพระมหาบัวพูดเรื่องเสือกับหลวงปู่ตื้อ
    ในหนังสือ พ่อแม่ครูอาจารย์ ซึ่งเป็นประวัติของท่านหลวงตา พระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี ได้พูดถึงหลวงปู่ตื้อ ภายใต้หัวข้อ “เสือกับหลวงปู่ตื้อ” ดังนี้ : -

    <TABLE id=table22 border=0 align=left><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>
    พระอาจารย์มหาบัว

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    “หลวงปู่ตื้อ บ้านข่า สามผง เราเคยไปพักอยู่เหมือนกันแต่ก่อน ไปภาวนา เสือชุมมากแถวนั้น หลวงปู่ตื้อ ท่านมีคาถาเป็นครูเสือ ไปอยู่ไหนเสือมักมานอนเฝ้าอยู่รอบๆ ข้างๆ ที่พักท่าน
    หลวงปู่ตื้อท่านไปอยู่แม่ฮ่องสอนไปอยู่ในบ้าน เสือก็มาอยู่ด้วย เสือโคร่งใหญ่นะมันมาแอบอยู่ด้วย
    ผู้เฒ่า (หลวงปู่ตื้อ) ไม่ได้สนใจกลัวมันแหละ เพราะมันเป็นครู คนอื่นนั่นสิ พระไปอยู่ด้วย พอดีกลางคืนพระปวดเบา จะออกมาเบา ออกมาเสือมันหมอบอยู่ข้างๆ เสือฮ่าๆ ใส่ เสียงร้องจ้าก วิ่งมา
    มันไม่มีอะไร มันจะเป็นอะไร มันไม่เป็นไรแหละ หลวงปู่ตื้อ บอก ไม่เป็นไร มันตื่น บางทีมันอาจทักทายเฉยๆ ก็ได้ ท่านว่าอย่างนั้น
    เสือมันโฮกๆ ใส่ พระก็โดดเข้ากุฏิ กุฏิพังกระมัง พระองค์นั้นมาอยู่ได้คืนเดียว วันหลังเผ่นเลย กลัว โอ๊ย ! อยู่ไม่ได้
    ไม่เป็นไรแหละ อยู่จะเป็นไรไป มันก็อยู่กับคนดีแล้วนี่ หลวงปู่ตื้อท่านว่างั้นนะ
    เสือมันอยู่แอบๆ อยู่นี่ไม่ออกมาหาคนแหละ บางทีก็เห็นมันอยู่ในป่า คนอยู่อย่างนี้ แต่ถ้ามีคนแปลกหน้ามา มันคำรามนะ ท่านว่าให้มันทำ มันไม่ทำแหละ เพราะมันเป็นหมาของพระ ว่างั้นเถอะ รักษาเจ้าของ ใครมาแปลกๆ หน้านี่ไม่ได้ มันขู่คำราม ว่างั้น
    พอหลวงปู่ตื้อว่า อย่าไปขู่เขานะ มันก็เงียบเลย
    เวลาหลวงปู่ตื้อไปไหนมาไหน เสือมักจะตามไปรักษาท่าน รักษา เงียบๆนะ มันอยู่ในป่าแหละเสือ ท่านไปพักภาวนานี่ เสือมักจะมาอยู่ข้างๆ ถ้ามีคนแปลกหน้ามา เราถึงจะรู้ว่ามีเสือนะ
    ถ้าไม่มีคนแปลกหน้ามาก็เหมือนไม่มีเสือ มันไม่แสดงตัว มันอยู่ รอบๆ ข้างๆ ถ้ามีคนแปลกหน้ามา มีพระแปลกหน้ามา มันคำรามใส่ บางทีขู่คำราม เฮ่อๆ ใส โอ๊ย !
    ไม่เป็นไรแหละ มันรักษาพระ มันอยู่นี้เป็นประจำไม่เป็นไร ไม่ต้องกลัวมัน
    นี่หลวงปู่ตื้อท่านเป็นอย่างนั้นนะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มกราคม 2009
  20. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    มงคลหมา
    เรื่องที่หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ชอบพูดประกอบในเวลาที่ท่านสั่งสอนศิษย์ หรือบางครั้งในการแสดงพระธรรมเทศนา ท่านมักจะยกเรื่องความดีของสุนัข ซึ่งท่านเรียกว่า มงคลหมา
    บางคนอาจเข้าใจว่าเป็นเรื่องชวนขำ แต่ว่านำไปพิจารณาแล้ว จะเห็นว่า หลวงปู่ ได้พิจารณาเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งเป็นสายของสัตว์โลก มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหมือนกันหมด การนำมาเปรียบเทียบกับชีวิตของคนก็ไม่น่าจะเป็นเรื่องเสียหาย
    หลวงปู่บอกว่าบางครั้งสัตว์ยังดีกว่าคนบางคนเลยอีก สัตว์ทุกจำพวกมันมีดีประจำอยู่ในตัวของมัน ตามภูมิของมัน การพิจารณาชีวิตของสัตว์อันเป็นเครือของวัฎฏสงสารเหมือนกันนี้ เป็นการหาอุปมาเครื่องเปรียบเทียบ ดังนั้น เวลามีโลกธรรมครอบงำ เราก็สามารถพิจารณาหาเหตุผลมายับยั้งชั่งใจได้ เช่นถ้าใครเขาด่าเปรียบเปรย ว่าเราเป็นหมา ก็ไม่น่าจะโกรธ เพราะหมาก็มีความดีหลายอย่าง
    หลวงปู่ดื้อท่านบอกว่า ลองพิจารณาดูให้ดี จะเห็นว่าหมาก็มีมงคล คือ ความดีประจำตัว อย่างน้อยก็ ๒๐ ประการ คือ
    ๑. หมาวิ่งได้เร็ว คนวิ่งตามไม่ทัน
    ๒. หมาเดินกลางคืนได้ ไม่ต้องจุดไฟ
    ๓. หมาเข้าป่าหนามไม่ปักตีน
    ๔.. หมามีจมูกเป็นทิพย์
    ๕. หมากินอาหารได้ไม่เลือก
    ๖. เวลาเยี่ยวมันยกขาไหว้ธรณี
    ๗. ก่อนนอนหมาเดินเวียนสามรอบ
    ๘. เวลาสืบพันธุ์ หมาไม่รู้จักอาย
    ๙. หมารู้จักเจ้าของดี
    ๑๐. ถ้ามีแขกแปลกหน้ามา หมามันเห่า
    ๑๑. หมาออกลูกไม่ต้องมีแม่หมอ
    ๑๒. หมากินอาหารก้างไม่ติดคอ
    ๑๓. หมาไม่เคยห่มผ้า
    ๑๔. เวลานอนหมาไม่หนุนหมอน
    ๑๕. หมาไม่ต้องปูที่นอน
    ๑๖. หมากินข้าวแล้วไม่ต้องกินน้ำ
    ๑๗. หมาไม่ต้องคิดบุญคิดบาป
    ๑๘. หมานอนตากแดดได้นานถึง ๓ ชั่วโมง
    ๑๙. ไม่ถึงฤดูกาลไม่มีการสืบพันธุ์
    ๒๐. หมาตกน้ำไม่ตาย ว่ายน้ำได้เร็วกว่าคน
    หลวงปู่ท่านบอกว่า คนเราหากไม่มีดี ก็สู้สัตว์ไม่ได้ และจะถูกตราหน้าว่า เป็นคนประพฤติถอยหลัง ไม่สมกับที่เกิดมาเป็นมนุษย์
    หมาบางตัวที่เขาเลี้ยงไว้ มียศถึงนายพันเอกมีเงินเดือนหลายพันบาท ใครจะว่าหมาไม่ดีก็ว่าไม่ได้ ลูกสาวคุณนายเลี้ยงมาแต่เล็กๆ หมดเงินเป็นแสน เวลาโตขึ้นมาทำให้พ่อแม่ต้องเสียใจ ต้องลำบาก เดือดร้อนเนรคุณก็มี เรื่องเช่นนี้ไม่มีในหมา
    หลวงปู่ยกมงคลหมาขึ้นมาแสดง เพื่อให้เราเห็นเป็นเครื่องเปรียบเทียบว่า คนเราถ้าไม่มีศีลธรรมก็ไม่ต่างอะไรจากสัตว์เพราะ มีการกิน การนอน การสืบพันธุ์ เหมือนกัน ก็เท่านั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มกราคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...