วิทยาศาสตร์-ธรรมะ กับความท้าทาย..เพื่อศาสตร์ที่ค้นหา..สุขภาพจิตที่มีคุณภาพ

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ไม้บรรทัด, 13 มีนาคม 2010.

  1. ไม้บรรทัด

    ไม้บรรทัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2008
    โพสต์:
    116
    ค่าพลัง:
    +293
    ดาไล ลามะ กับการบรรจบของ "วิทยาศาสตร๋และธรรมะ" ความท้าทายเพื่อศาสตร์ที่ค้นหา "สุขภาพจิตที่มีคุณภาพ"

    โดย fah@matichon.co.th

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]<STYLE> P { margin: 0px; } </STYLE>[/FONT]
    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]ก่อนหน้านี้ เป็นปัญหาขัดข้องหมองใจให้กับรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน เป็นอย่างยิ่ง เมื่อ บารัค โอบามา เปิดทำเนียบรับรอง ดาไล ลามะ ผู้นำแห่งจิตวิญญาณชาวธิเบต ไปเรียบร้อยแล้ว[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]ขณะนี้ ดาไล ลามะ ยังปฏิบัติภารกิจเผยแผ่คำสอน และธรรมะอยู่ในแดนอินทรีย์ ทั้งมีกำหนดจะมาเยี่ยมเยือนเมืองเมดิสัน รัฐวิสคอนซิน ในวันที่ [/FONT][FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]15-16 พฤษภาคมนี้ โดย The Center for Investigating Healthy Minds แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นเจ้าภาพเชื้อเชิญ เพื่อมาพบปะกับผู้คนที่สนใจ มีนัดหมายกันที่ เวสแมน เซ็นเตอร์ [/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]การมาเยือนของ ดาไล ลามะ องค์ที่ [/FONT][FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]14 นั้น ริชาร์ด เดวิดสัน (Richard Davidson) นักวิทยาศาสตร์ด้านประสาทชีววิทยา (neuroscientist) พูดถึงดาไล ลามะ ไว้ในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน (http://www.news.wisc.edu/17757) ว่า มหาวิทยาล้ยฯ จัดตั้งศูนย์ทดสอบสุขภาพจิตใจ (CIHM) ขั้น เพื่อพัฒนาวิธีการตรวจสอบคุณภาพด้านจิตใจด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้่ ปลูกฝังและยกระดับจิตใจของผู้คน ซึ้งต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ มากมาย [/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]ทั้งนี้ เดวิดสัน ทำงานวิจัยเกี่ยวกับการทดสอบผู้คนที่ทำ " สมาธิ" ซึ่งปรากฎผลออกมาส่วนหนึ่งแล้วว่า คนกลุ่มนี้มีการการเปลี่ยนแปลงของเซลล์สมอง นำไปสู่การคิดเชิงบวก และมีความสุขขึ้น และพบว่าเป็นกลุ่มคนที่เห็นอกเห็นใจ มีความเมตตาต่อผู้อื่น จนเขาคิดว่า ถ้าสามารถขยายงานวิจัยนี้ออกไปในวงกว้าง จะสร้างผลดีให้กับสังคม[/FONT]
    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi] [/FONT]
    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]หากว่าไปแล้วเรื่องของ "สมาธิ" นั้น คนในศาสตร์พุทธศาสนารู้กันมานานแล้วว่า พระพุทธเจ้าตรัสไว้เป็นพระสูตรในการรักษาโรค เช่น โพชฌงค์เจ็ด ก็เริ่มด้วยสติ ซึ่งก็คือสติปัฏฐานสี่ มีพลังในการบำบัด ฟื้นฟูร่างกาย ด้วยมีข้อพิสูจน์ทั้งในและต่างประเทศ เพียงแต่ว่า คนจำนวนมากเข้าใจว่า สมาธิเป็นเรื่องยากที่จะปฏิบัติ[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]และในครั้งนี้ นักวิทยาศาสตร์ตะวันตก ต้องการค้นหาว่า สมาธิ เชื่อมโยงหรือผสมผสาน ให้มีผลต่อเซลล์ในม้ันสมองของมนุษย์ออกมาเป็นรูปธรรมได้อย่างไร[/FONT][FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]?[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]เดวิดสัน เล่าว่า เขามีโอกาสได้พบกับดาไล ลามะ เมื่อปี 1992 มีโอกาสสนทนากัน และก็พบความท้าทายจากการพูดคุยครั้งนั้นว่า "ผมสามารถหาเครื่องมือด้านวิทยาศาสตร์ จากตะวันตก มาศึกษาดูความกลัว ความสะเทือนใจของผู้คน เพื่อหาทางขจัดมันได้หรือไม่ และนั้นทำให้ศูนย์ ทดสอบสุขภาพจิตใจ (CIHM) ถูกตั้งโจทย์กลับมาอย่างท้าทาย เพือจะกลายเป็นเป้าหมาย ให้ศูนย์ฯนี้ เป็นสถาบันชั้นนำของโลกสำหรับการวิจัยรูปแบบดังกล่าว ซึ่งเรามีศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยา และจิตเวช และผู้อำนวยการด้านจินตนาการและพฤติกรรม เวสแมน แล็บบอราทอรี่ สนับสนุนอย่างแข็งขัน"[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]ก่อนหน้านี้ ดาไล ลามะ เคยมาเยือนแล็ปดังกล่าว เมื่อปี 2001 ครั้งนั้นยังได้แลกเปลี่ยน และพอกพูนความรู้ร่วมกันกับนักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆ พบเพิ่มเติมอีกว่า ประเพณี วัฒนธรรมของชนแต่ละชาติ เชื่อมโยงกับประสาทชีววิทยา ซึ่งเกิดการเรียนรู้และนำไปสู่การใช้ชีวิต[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]ศูนย์ฯนี้ได้รวมการวิจัยพฤติกรรม และประสาทชีววิทยาขั้นพื้นฐาน เป็นการวิจัยที่จำเป็นในวันข้างหน้า เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ และขยายงานของแล็ปให้กว้างออกไปก สู่โรงเรียน โรงพยาบาล และชุมชน ที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงในสังคม[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]นั่นหมายถึง การผสมผสานความหลากหลายของศาสตร์ เพื่อการศึกษา ไม่เฉพาะเจาะจงเพียงนักวิทยาศาสตร์ แต่ยังรวมไปถึง นักวิชาการด้านมนุษยศาสตร์ นักศึกษาศาสตร์ ผู้คนในแวดดวงการแพทย์ สาธารณสุข และผู้คนในแวดวงศาสนา ที่จะร่วมกันศึกษาคุณภาพของ "สุขภาพจิตใจ"[/FONT]

    [FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]"[/FONT][FONT=ms sans-serif, Tahoma, DB ThaiTextFixed, Thonburi]เราพบว่ามีหลากหลายวิธีการที่จะสร้างเสริมสุขภาพจิตใจให้ดี และจะทุ่มเทศึกษาความหลากหลายครั้งนี้ ซึงถือเป็นภารกิจของศูนย์ฯ ในการทำวิจัย กระนั้น สิ่งสำคัญที่ต้องค้นหาและ ตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ได้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ อะไรบ้างที่เรียกว่า สุขภาพใจที่มีคุณภาพที่ดี"

    เพราะหากบรรดาผู้มีมันสมองจากหลากแวดวงวิชาชีพ สามารถหาคำตอบนี้ได้เ แม้เวลานี้ยังเป็น "ความหวัง" แต่ความฝันเป็นจริงได้

    เผื่อว่า "ดาไล ลามะ" จะได้กลับธิเบต เพราะผู้นำรัฐบาลจีน มีความเห็นอกเห็นใจ และเห็นว่า ธิเบตไม่ได้กระด้างกระเดื่อง ประสงค์จะแบ่งแยกความเป็นจีนออกจากกัน

    หรือช่วยให้ผู้คนในเมืองไทย (อยากจะให้ใจบอดสี) มองเห็นทุกคนเป็นสีเดียวกัน รักกัน เหมือนรักตัวเอง

    .... วิทยาศาสตร์ ทำให้โลกดีขึ้น วิทยาศาสตร์ น่าจะช่วยทำให้คนรักกันได้ !!
    [/FONT]

    <!-- <script Language="JavaScript">function BackPage() {history.back();}</script>



    -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 มีนาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...