หมดแล้ว ล็อกเก็ตหลวงปู่มั่น สร้างโบสถ์

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย woottipon, 12 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    <TABLE style="WIDTH: 618pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=823><TBODY><TR style="HEIGHT: 29.25pt; mso-height-source: userset" height=39><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 421pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #f0f0f0 1pt solid" class=xl93 width=560 colSpan=5>ธนาคารกสิกรไทย สาขาลี้ </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 68pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=91></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 75pt; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl81 width=100></TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt; mso-height-source: userset" height=34><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 25.5pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl79 height=34 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 421pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #f0f0f0 1pt solid" class=xl93 width=560 colSpan=5>พระมหาสิงห์ วิสุทโธ</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 68pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=91></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 75pt; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl81 width=100></TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt; mso-height-source: userset" height=37><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 27.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl79 height=37 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 421pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #f0f0f0 1pt solid" class=xl93 width=560 colSpan=5>เลขที่บัญชี ๓๔๗-๒-๓๔๐๔๙-๑</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 68pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=91></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 75pt; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl81 width=100></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl79 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 122pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=162></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 77pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=102></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 77pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=102></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 77pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=103></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 68pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=91></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 68pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0" class=xl80 width=91></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 75pt; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl81 width=100></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl97 width=751 colSpan=7>จำนวนการจัดสร้าง ๘๐ องค์ </TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7>ล็อกเก็ต องค์หลวงปู่มั่น ฉากทอง ร่วมบุญองค์ละ 2,000 บาท </TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7>โอนร่วมบุญเป็นงวดๆ นาน ๙ เดือน โดยโอนเข้าบัญชีวัด รับพระออกพรรษา ประมาณ พฤศจิกายน ๕๔ </TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7>บรรจุผงพุทธคุณ แร่มงคล ว่านยา ผงทองคำสมเด็จองค์ปฐมวัดป่าพุทธโมกข์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7>เกศาธาตุ อังคารธาตุ ข้าวก้นบาตร จีวร ฯพระกรรมฐานทั่วประเทศ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-height-source: userset" height=24><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; WIDTH: 54pt; HEIGHT: 18pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0" class=xl84 height=24 width=72></TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-LEFT: #f0f0f0 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: #efebef; WIDTH: 564pt; BORDER-TOP: #f0f0f0 1pt solid; BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid" class=xl87 width=751 colSpan=7></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กันยายน 2011
  2. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    พระอริยสงฆ์สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    ที่หลวงตากล่าวถึง...ว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก


    พระอริยสงฆ์ที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (พระอรหันต์แห่งประวัติชาติไทยองค์ปัจจุบัน แห่งวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ) ได้กล่าวถึงว่าท่านเหล่านี้ได้ปฏิบัติธรรมจนสามารถทำจิตให้บริสุทธิ์, และหมดแห่งกิจที่ควรทำแล้ว ก็จะมีครูบาอาจารย์ต่างๆในสายพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมากมาย ที่ท่านหลวงตามหาบัวได้กล่าวถึงประจำ แต่ในบางครั้งท่านเหล่านั้นจะไม่พูดว่าได้ขั้นไหน ๆ แล้วเพราะท่านอาจจะมองเห็นปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น คนมารุมตอม.ไม่เว้นแต่ละวันทำให้ท่านไม่ได้พักผ่อน

    ยกตัวอย่างเหตุกาณ์ ในวันนั้นที่ข้าพเจ้าถามพระเถระพระป่า (ไม่ขอเอ่ยนามท่าน) ข้าพเจ้าถามว่า.....ดังนี้

    ..หลวงปู่เป็นพระอรหันต์หรอครับ....
    ท่านก็จะตอบว่า..........ดูเอานี่ไงหันซ้ายหันขวา..
    แล้วท่านก็.....จะทำท่าหันไปข้างซ้าย...หันไปข้างขวาให้เราดู...
    คนถามก็จะอดหัวเราะไปกับท่านไม่ได้ครับ........

    แล้วท่านก็เมตตาบอกว่า....ไม่สำคัญที่จะไปถามว่าพระรูปไหนสำเร็จอะไร เราจะไปกังวลถามทำไม....เราปฏิบัติเองเรารู้เอง..ไม่ต้องถามคนอื่น...

    ทิ้งท้ายท่านเมตตาบอกว่า
    แต่บุญที่ทำกับพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสนั้นได้กุศลมากเลยทีเดียวนะ....

    -------------------------------------------------------------------

    เหตุกาณ์หนึ่งที่ผู้เขียนได้รับฟังมาจากหูโดยตรง....จากพระธรรมเทศฯองค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
    ท่านได้รับรองว่าท่านนั้น ท่านนี้เป็นพระอริยบุคคลหมดกิเลส หลายรูปครับ
    ผู้เขียนจึงอดที่จะเอาเอาเทศนาของหลวงตามหาบัว นั้น มาให้ผู้อ่านรู้ด้วยไม่ได้ครับ
    ดังนี้ครับ........


    "พระหมดกิเลสในสายหลวงปู่มั่น นี้ก็ไม่ใช่น้อย แต่ท่านไม่เปล่งบอกใครเพราะเกี่ยวกับอรรถกับธรรมเห็นธรรมดีเลิศกว่า แต่ที่เราบอกเราก็ไม่ได้อวดอุตริ ใดๆ ทั้งสิ้น จริงคือจริงไม่มีปิดบัง ไม่สงสัยในธรรม ใครจะเอาตำราไหนมาอ้าง ก็ให้มันเอามาได้เลย ที่วัดป่าบ้านตาด ดราไม่สะทกสะเทือน จะชี้แจงแถลงไขให้เข้าใจเอง เอ้าเชิญมา....."


    ที่ได้ฟังท่านเปรย ๆ มาก็พอจับใจความมาว่าท่านไหนได้แล้ว...เสียดายที่ไม่ได้อัดเทบไว้ครับ....
    และนี่ก็คือท่านเปรยว่าล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์เนื้อนาบุญของโลกเลยทีเดียว

    ท่านบอกว่า
    1.ท่านอาจารย์เจี๊ยะ จุนโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าภูริทัตปฏิปทาราม อ.สามโคก จ.ประทุมธานี

    2.หลวงปู่ลี กุสลธโร
    วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    3.หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร
    วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี

    4.หลวงปู่ขาล ฐานวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าบ้านเหล่า อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย

    5.พระอาจารย์แบน ธนากโร
    วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

    6.หลวงปู่หลวง กตปุญโญ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดคีรีสุบรรพต จ.ลำปาง

    7.อาจารย์เหรียญ วรลาโภ (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง)
    วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย

    8.อาจารย์สมชาย ฐิตวิริโย (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง)
    วัดเขาสุกิม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

    9.หลวงปู่หลอด ประโมทิโต
    วัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนานิคม) เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

    10.หลวงปู่มหาเนียม สุวโจ
    วัดเจริญสมณกิจ (หลังศาลภูเก็ต ) อ.เมือง จ.ภูเก็ต

    11.หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล
    วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม

    12.หลวงปู่ศรี มหาวีโร
    วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด

    13.พระอาจารย์สายทอง เตชธัมโม
    วัดป่าห้วยกุ่ม (ใกล้เขื่อนจุฬาภรณ์ ) อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ

    14.หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป
    วัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร

    15.พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญมากโร
    วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

    16.พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

    17.หลวงปู่ทา จารุธัมโม
    วัดถ้ำซับมืด จ.นครราชสีมา

    18.พระอาจารย์เพียร วิริโย
    วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    19.อาจารย์สาย เขมธัมโม
    วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู

    20.อาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป
    วัดอรัญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

    21.หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร
    วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง จ.กรุงเทพมหานคร

    22.อาจารย์พวง สุขินทริโย
    วัดศรีธรรมมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร

    23.หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต
    วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู

    24.หลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโม
    วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร

    25.หลวงปู่บุญหนา ธัมทินโน
    วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร

    26.หลวงปุ่บุญพิน กตปุญโญ
    วัดผาเทพนิมิตร อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร

    27.หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดเหสลึก อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    28.หลวงปู่แปลง สุนทโร
    วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร

    29.หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี

    30.หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป
    วัดโพธิ์สมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี

    31.พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร
    วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย

    32.พระอาจารย์อุ่นหล้า ฐิตธัมโม
    วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    33.พระอาจารย์คำบ่อ ฐิตปัญโญ
    วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    34.พระอาจารย์อุทัย สิรินธโร
    วัดถ้ำพระ อ.เซกา จ.หนองคาย

    35.หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
    สำนักสงฆ์สวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

    36.พระอาจรย์วิไล เขมิโย
    วัดถ้ำพณาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ

    37.หลวงปู่จันทา ถาวโร
    วัดป่าเขาน้อย อ.วังทรายพูล จ.พิจิตร

    38.อาจารย์อ่ำ ธัมกาโม
    วัดธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพรชบูรณ์

    39.หลวงปู่ถวิล
    จ.อุดรธานี (ไม่ทราบที่อยู่และฉายาท่าน)

    40.อาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสโก
    วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี

    41.อาจารย์วันชัย วิจิตโต
    วัดภูสังโฆ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    42.หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต
    วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    43.อาจารย์เสน ปัญญาธโร
    วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    44.อาจารย์คำแพง อัตสันโต
    วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    45.พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี

    46.หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต
    วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    47.อาจารย์เสน ปัญญาธโร
    วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    48.อาจารย์คำแพง อัตสันโต
    วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    49.พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี

    50.ท่านฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมญาณ ) (ท่านมรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ )
    วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี
    (หลวงปู่สิม เคยปรารภให้อาจารย์มหาบัวฟัง)

    51.หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก
    จ.สุพรรณบุรี

    52.หลวงปู่วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    (อันนี้หนังสือไม่ชัดครับเล่มนี้เก่ามากครับ )
    ขอเพิ่มเติมแค่นี้ครับ..วันนี้ผมขอไปดูหนังสือเล่มนี้ก่อนเพราะมีอีกเยอะครับ
    จะเห็นว่าพระอริยสงฆ์หรือพระอรหันต์สายอื่นที่ไม่ใช่สายหลวงปู่มั่นก็มีนะครับ..แต่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านพูดถึงติดต่อกันครับ....

    53.พระอาจารย์มหาโส กัสโป
    วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น

    54.หลวงปู่คำฟอง เขมจาโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดกุดเรือคำ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร

    55.หลวงปู่บุญเพ็ง กัปโป
    วัดป่าวิเวกธรรม (วัดป่าช้าเหล่างา) อ.เมือง จ.ขอนแก่น


    56.พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร
    วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    57.หลวงปู่ผาง โกสโล
    วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร

    58.หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร

    59.ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    60.หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร
    วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

    61.หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม
    วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย

    62.หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต
    วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์

    63.หลวงปู่ทอง จันทสิริ
    วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

    64.หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร
    สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    65.หลวงปู่คูณ สุเมโธ
    วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    66.พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโม
    วัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่
    จ.จันทบุรี

    67.หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล
    วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

    68.หลวงปู่อ้ม สุขกาโม
    วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร

    69.ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม
    วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร

    70.ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโร
    วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม ( วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม ) อ.ส่องดาว
    จ.สกลนคร

    71.หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ
    วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย

    72.หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี

    73.พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ
    วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด

    74.หลวงปู่เผย วิริโย
    วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย

    75.หลวงปู่จันทร์แรม เขมสิริ
    วัดเกาะแก้วะดงคสถาน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์

    76.คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    สำนักชีบ้านห้สยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร

    77.พระอาจารย์ทุย (ปรีดา) ฉันทกโร
    วัดป่าดานวิเวก อ.โซ่พิสัย จ.หนองคาย

    78.พระอาจารย์สรวง สิริปุญโญ
    วัด่าศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร

    79.พระอาจารย์สาคร ธัมวุธโธ
    วัดป่ามณีกาญจ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

    80.พระอาจารย์จันทร์โสม กิตติกาโม
    วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    81.พระอาจารย์แยง สุขกาโม
    วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย

    82.หลวงปู่แฟ็บ สุภัทโท
    วัดป่าดงหวาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

    83.พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร
    วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี

    84.หลวงปู่ผาง โกสโล
    วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร

    85.หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร

    86.ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    87.หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร
    วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

    88.หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม
    วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย

    89.หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต
    วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์

    90.หลวงปู่ทอง จันทสิริ
    วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

    91.หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร
    สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    92.หลวงปู่คูณ สุเมโธ
    วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    93.พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโม
    วัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่
    จ.จันทบุรี

    94.หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล
    วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

    95.หลวงปู่อ้ม สุขกาโม
    วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร

    96.ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม
    วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร

    97.ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโร
    วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม ( วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม ) อ.ส่องดาว
    จ.สกลนคร

    98.หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ
    วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย

    99.หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)
    วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี

    100.พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ
    วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด

    101.หลวงปู่เผย วิริโย
    วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย


    ต่อนะครับ.......
    102.หลวงปู่คำพอง ขันติโก
    วัดป่าอัมพวัน จ.เลย

    103.หลวงปู่อว้าน เขมโก
    วัดป่านาคนิมิตร อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

    104.ท่านพระอาจารย์วิชัย เขมิโย
    วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    105.พระอาจารย์บุญทัน ปุญทัตโต (ท่านเพิ่งจะมรณภาพ เดือน ธค.49 )
    วัดป่าสามัคคีสันติธรรม อ.ฝาง จ.ขอนแก่น

    106.หลวงปู่พิศดู ธรรมจารีย์
    วัดเทพธารทอง ต.พลวง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี

    107.หลวงปู่เนย สมจิตฺโต
    วัดป่าโนนแสนคำ บ.ทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร

    108. หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ
    วัดป่าพระอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

    109.ท่านพระอาจารย์อุทัย ธมฺมวโร
    วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    110.หลวงปู่ประสาร สุมโน
    วัดป่าหนองไคร้ ต.หนองหิน อ.เมือง จ.ยโสธร

    ครับ.....................
     
  3. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    ท่านใดนับถือสายพระกรรมฐาน แนะนำรายชื่อตามหลวงตามหาบัวท่านบอก ไว้เป้นแนวทางเก็บวัตถุมงคล ของสายนี้ได้ครับ ที่ผมไม่มีครับไม่ได้จำหน่าย แต่ผมจะสร้างสิ่งที่เรียกว่า ท่านเสกมาทั้งชีวิตท่านก็ว่าได้ มวลสารเกศาธาตุและอัฐิอังคารธาตุ ตามเจตนารมณ์ท่านเจ้าของมวลสารที่มอบมา หนึ่งถุงใหญ่ แต่ตอนนี้ยังไม่รู้ว่าจะสร้างอะไร แต่จะนำประวัติพระปฏิบัติที่ได้รับมวลสารแต่ละองค์มาลงไปเรื่อยๆก่อนครับ
     
  4. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    เชียร์ให้ทำพระผงของขวัญ พิมพ์สวยๆ ขนาดกำลังดี ห้อยได้ทั้งเด็ก ผู้หญิง ผู้ชาย แจกเลยครับพี่ หนับหนุนๆ
     
  5. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    พระบูชาเล็งไว้ว่าอยากจะทำ พระสมเด็จบรมจักรพรรดิพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระประธานในโบสถ์ ..........พร้อมพิมพ์ลอยองค์ห้อยคอบูชาเท่าจำนวนพระบูชา
    ที่ระลึกในงานผูกพัทธสีมาวัดพระพุทธบาทถ้ำป่าไผ่ ยังไม่รู้จะทำได้หรือเปล่าครับ ค่าใช้จ่ายสูง
     
  6. เอ๋เชียงใหม่

    เอ๋เชียงใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    843
    ค่าพลัง:
    +1,791
    สนับสนุนเต็มที่เลยครับ ช่วยๆกันคงไม่ยากครับ
     
  7. คนบรรพต

    คนบรรพต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2007
    โพสต์:
    647
    ค่าพลัง:
    +4,456
    ขอโมทนาในบุญกุศลที่จะทำด้วยครับผม คิดดีทำดี เจตนาดี มีแต่ผู้ที่คอยสนับสนุนอยู่แล้วครับผม

    ขอสนับสนุนด้วยคนครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กุมภาพันธ์ 2011
  8. anoldman

    anoldman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    1,950
    ค่าพลัง:
    +4,558
    สาธุๆ





    สวัสดีครับพี่วุฒิ ^_^

    ผมก็เห็นด้วยกับทั้งสองท่านนะครับ ทั้งพระผง พระบูชา
    แต่ถ้าเป็นพระบูชาก็ทำเป็นหลวงปู่มั่นเลย ถือว่าบูชาครูบาอาจารย์ ทำเป็นเนื่อแก้วใสก็ดีจะได้เห็นมวลสารเกศาหรืออื่นๆ ของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ชัดๆ เหมือนเป็นผอบในตัว

    หรือจะเป็นโลหะ แล้วมีช่องโชว์มวลสารก็น่าจะดี ทำแบบปราณีต คงไม่เป็นที่ผิดหู ผิดตาแต่ประการใด เพราะโลหะก็คงทนดี เพราะถ้าอุดฐานคงไม่เห็นอะไร ทำแบบให้โชว์สวยๆเลยนะครับ

    มวลสารอาจจะอยู่ตรงช่องผ้าสังฆาฏิ แล้วมีกระจก หรืออะคริลิคใสปิดกันไว้ก็น่าจะดี ก็เห็นมวลสารชัดเจนดี ตัวมวลสารก็ทำเป็นพิมพ์พระ หรือ พระธรรมจักร หรือดอกบัว ก็สุดแล้วแต่ นะครับ

    แต่สุดท้ายตามพี่เห็นสมควรครับ รอติดตามอยู่นะครับ ^_^
    ______________________________
    hello9
    กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติจังหวัดเพชรบูรณ์
    กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติจังหวัดเพชรบูรณ์มาทำงานกัน

    แจกเหรียญน้ำมนต์รุ่น 4 รูปลักษณ์หลวงปู่เทพโลกอุดร ครับ
    แจกเหรียญน้ำมนต์รุ่น-4-รูปลักษณ์-หลวงปู่เทพโลกอุดร-ครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  9. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    บรรจุเกศา ข้าวก้นบาตร


    วันพฤหัสบดี ที่ 2 กรกฎาคม 2552
    พระผู้ทรงอริยคุณ หลวงปู่จันทา ถาวโร
    Posted by เบญจพร , ผู้อ่าน : 3839 , 22:12:10 น.
    หมวด : ศิลปะ/วัฒนธรรม <!-- retweet and facebook --><!-- keep in file social.html --><!-- end retweet and facebook -->
    [​IMG] พิมพ์หน้านี้ [​IMG] <!--blog vote-->[​IMG] โหวต 1 คน

    <TABLE class=blog_center_data><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
    และรูปภาพจากเวปวัดป่า WWW.WATPA.COM



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มีนาคม 2011
  10. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    หลวงปู่จันทา ผมได้ฟังมาจากครูบาอาจารย์ท่านหนึ่งว่าท่านสำเร็จปฏิสัมภิทาญาณ ทรงคุณอย่างยอดเยี่ยม
     
  11. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) : สูงส่งด้วยสมณศักดิ์ แน่นหนักด้วยกตัญญูกตเวที






    [​IMG]

    โดย เทียบธุลี




    [​IMG]


    บรรจุอังคารธาตุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มีนาคม 2011
  12. anoldman

    anoldman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    1,950
    ค่าพลัง:
    +4,558
    สาธุๆ


    จิตท่านเร็วมากเลยครับ ผมมีพระผงชานหมากขอท่านองค์หนึ่ง ด้วยความไม่รู้จักเลยเลยคิดปรามาlกับท่านไปประมาณว่าจะเก่งจริงเหรอ ปรากฏว่าพระผงของท่าน ที่ตอนนั้นผมจับอยู่หลุดจากมือทันที ดีว่าเนื้อพระแกร่งเละบิ่นที่ขอบนิดหน่อย ส่วนอื่นไม่มีบุบสลายเลย ผมเลยต้องขอขมาท่านผ่านอากาศ และเชื่อแล้วของท่านดีจริงๆ ^_^

    ______________________________
    hello9
    กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติจังหวัดเพชรบูรณ์
    กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติจังหวัดเพชรบูรณ์มาทำงานกัน

    แจกเหรียญน้ำมนต์รุ่น 4 รูปลักษณ์หลวงปู่เทพโลกอุดร ครับ
    แจกเหรียญน้ำมนต์รุ่น-4-รูปลักษณ์-หลวงปู่เทพโลกอุดร-ครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  13. เด็ก น้อย

    เด็ก น้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    516
    ค่าพลัง:
    +3,045
    สร้างพระผงพิมพ์สมเด็จองค์ปฐมพิมพ์ปรกโพธิ์ ครับ
    จะคอยร่วมบุญครับ:cool:
     
  14. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    ตอนนี้ยังไม่ได้สร้างอะไรทั้งนั้นครับ ตั้งกะทู้ไว้สนทนาสายพระกรรมฐาน และรับบริจากชนวนมวลสารไปเรื่อยๆ งานหลักๆอีกงานคือระดมเงินร่วมสบทบสร้างพระอุโบสถวัดป่าไผ่ให้แล้วเสร็จภายในปีนี้ครับ มีเจ้าภาพออกค่าแรงช่างแล้ว ยังคงค้างค่าวัสดุก่อสร้างเท่านั้น
     
  15. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top><HR>[​IMG]

    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่สาย เขมธมฺโม

    วัดป่าพรหมวิหาร
    ต.โนนเมือง อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู




    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    บรรจุเกศาธาตุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มีนาคม 2011
  16. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    ๏ ลำดับการจำพรรษา

    แม้ในการบวชครั้งที่ 2 ท่านจะมีอายุมากถึง 57 ปีแล้วก็ตาม แต่หลังจากบวช ท่านได้เข้าป่าเพื่อบำเพ็ญเพียรเพียงอย่างเดียว ในปีแรก ได้ไปพำนักจำพรรษาอยู่กับหลวงตาขนบ ณ วัดดอนอีใข อ.เมือง จ.อุดรธานี

    พรรษาที่ 2 ย้ายไปจำพรรษาที่วัดป่าศรีอุดม อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี โดยมี หลวงปู่แสง ญาณวโร เป็นประธานสงฆ์ คอยให้คำแนะนำ ทำให้การปฏิบัติภาวนามีความรุดหน้า จิตสงบ ในพรรษานี้ ท่านได้มีโอกาสไปกราบเรียนธรรมปฏิบัติกับ พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร ณ วัดป่าแก้วชุมพล ต.บ้านชุม อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    พระอาจารย์สิงห์ทอง ได้ให้อุบายธรรมเพื่อให้หลวงปู่ได้นำไปพิจารณาและแนะแนวทางในการปฏิบัติกรรมฐาน เมื่อท่านได้รับความกระจ่างหมดปัญหาที่ติดขัด ก็ออกท่องปลีกวิเวกและธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ ทั้งในประเทศ และประเทศใกล้เคียง เพื่อค้นหาความจริงต่อไป

    ในบางครั้ง หลวงปู่สาย มีโอกาสได้เข้าไปพักอาศัยกับครูบาอาจารย์ เพื่อรับฟังโอวาทธรรม อาทิ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ, หลวงปู่คำดี ปภาโส, หลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ ฯลฯ

    ในตอนที่หลวงปู่สายเข้าไปกราบหลวงปู่อ่อน ญาณสิรินั้น หลวงปู่อ่อนได้ทักขึ้นว่า “ผ่านเสียงได้แล้วนี่” สาเหตุที่หลวงปู่อ่อนทักเช่นนี้ คงเป็นเพราะหลวงปู่สายเดินจงกรมสู้กับเสียงที่เกิดจากเครื่องขยายที่ใช้ในงานมหรสพ หลวงปู่สาย ปรารภว่า “เสียงก็อยู่ส่วนเสียง ไม่เข้ามากระทบจิตเลย ต่างคนต่างอยู่”

    นอกจากนี้ ท่านยังเป็นศิษย์องค์สำคัญของ “หลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน” แห่งวัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระสงฆ์ที่ได้คุณธรรมชั้นสูง หลวงปู่ท่านเป็นผู้ที่มีความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์ ไม่เคยตำหนิ หรือกล่าวร้ายผู้อื่นเลย


    ๏ สร้างวัดป่าพรหมวิหาร

    ในช่วงที่หลวงปู่สายปลีกวิเวกอยู่ที่ภูน้อย (ภูพนัง) เกิดฝนตกอย่างหนัก ชาวบ้านได้นำสังกะสีเก่าๆ มาทำที่พักชั่วคราวให้ท่านพอกันแดดฝนได้เท่านั้น นับเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างวัดป่าพรหมวิหารขึ้นในปี พ.ศ.2524 และท่านก็ได้อยู่จำพรรษาที่แห่งวัดนี้จนถึงปัจจุบัน

    หลวงปู่สายตกลงใจปฏิบัติภาวนาอยู่ที่ภูน้อย (ภูพนัง) แห่งนี้ ในระยะแรกได้รับความยากลำบากอยู่เป็นอันมาก โดยเฉพาะในเรื่องน้ำ แต่ก็ไม่ได้เป็นปัญหาสำหรับท่าน ตรงกันข้ามกลับกลายเป็นเครื่องสนับสนุนในการปฏิบัติความเพียรเป็นอย่างดี

    แม้ท่านจะนั่งวิปัสสนากรรมฐานเพียงลำพังด้วยตัวเอง โดยไม่ได้อยู่กับครูบาอาจารย์ แต่ท่านมักจะมีธรรมมาเตือนอยู่เสมอ ไม่ว่าเกี่ยวกับธรรมหรือวินัย ประหนึ่งว่ามีครูบาอาจารย์คอยตักเตือนอยู่เสมอ ทำให้ท่านปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งบางเรื่องไม่มีตำรา

    [​IMG]
    ป้ายชื่อวัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู

    [​IMG]
    ทัศนียภาพวัดป่าพรหมวิหาร ในปัจจุบัน

    [​IMG]
    เสนาสนะภายในวัดป่าพรหมวิหาร

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top><HR>[​IMG]
    หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต


    ๏ ปฏิปทาตามแบบอย่างครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่น

    ธรรมะที่หลวงปู่นำมาเทศน์โปรดคณะศรัทธาญาติโยมนั้น เกิดจากธรรมที่ผุดขึ้นมาจากการฝึกฝนอบรมปฏิบัติทั้งสิ้น มิใช่ไปหาอ่านจากตำรามาเล่าสู่กันฟัง มีลักษณะเป็นคำกลอน มีทั้งสำนวนไทยอีสานและสำนวนไทยกลาง มีความคล้องจองและมองเห็นธรรมะอย่างแจ่มชัดแบบง่ายๆ ให้สาธุชนได้รู้จิตของตนเอง เพื่อจะได้บังคับกายและวาจาให้ทำดี มีความสงบสุขร่มเย็น ดังคำกลอนที่ว่า “หมากัดหมาไม่เหมือนหมากัดคน หมากัดคนไม่เหมือนคนกัดคน คนกัดคนหมาไม่สนใจด้วย หมาก็ไม่ช่วยเพราะไม่ใช่เรื่องของหมา”

    นอกจากนี้ ท่านยังมีธรรมะสุภาษิตที่เทศนาบรรยายออกมาอย่างคล่องปาก แม้ท่านจะไม่เคยเรียนการแต่งกลอนมาจากที่ใด แต่ท่านสามารถเทศน์สอนคนได้คล่องมาก เท่าที่คณะศิษยานุศิษย์รวบรวมเอาไว้สามารถพิมพ์เป็นหนังสือได้เป็นเล่ม

    สิ่งหนึ่งที่ท่านยึดมั่นและยกขึ้นมาสอนลูกศิษย์ให้ระลึกถึงคำสอนของพระศาสดา คือประโยคที่ว่า “ใครจะเป็นผู้วิเศษเหนือพระพุทธเจ้า จะมีใครเล่าอยู่เหนือโลกทั้งสาม เหนือพระศาสดาจารย์ไปอีก ไม่มีในโลกนี้หรือโลกไหนไม่มีแล้ว เหนือแก้วพุทธะหาไม่มีเลย”

    นอกจากนี้หลวงปู่สายเคยให้คติธรรมนำไปขบคิดในการดำเนินชีวิตว่า “ของจริง ไม่เหมือนของปลอมฉันใด ทองจริงก็ย่อมไม่เหมือนทองปลอมฉันนั้น”

    หลวงปู่ท่านเป็นผู้มีเมตตาธรรมสูงมาก แม้แต่การกราบเรียนถามปัญหาธรรมทางโทรศัพท์ผ่านพระอุปัฏฐาก หลวงปู่ก็เมตตาตอบให้

    นับตั้งแต่หลวงปู่สายมาอยู่พำนักจำพรรษาที่ภูน้อย (ภูพนัง) แห่งนี้ จวบจนกระทั่งสร้างขึ้นเป็น “วัดป่าพรหมวิหาร” ในทุกวันนี้ หลวงปู่ยังไม่เคยได้ย้ายไปจำพรรษาที่ใดอีกเลย ปัจจุบัน หลวงปู่สาย สิริอายุได้ 85 พรรษา 29 (เมื่อปี พ.ศ.2550) แม้วัยจะล่วงเข้าสู่ไม้ใกล้ฝั่ง แต่ท่านก็ยังสามารถปฏิบัติศาสนกิจได้เป็นปกติ

    ทั้งนี้ ปฏิปทาของหลวงปู่สายยังปฏิบัติตามแบบอย่างที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต นำพาดำเนินไป สำหรับธุดงควัตรที่หลวงปู่ยึดถืออย่างเคร่งครัด คือ บิณฑบาตเป็นวัตร, บริโภคอาสนะเดียวเป็นวัตร และฉันภาชนะเดียวเป็นวัตร ส่วนธุดงควัตรข้ออื่นๆ นั้น ล้วนปฏิบัติตามกาลอันสมควร ถือได้ว่าหลวงปู่เป็นพระดีที่ควรค่าแก่การกราบไหว้ได้สนิทใจโดยแท้


    ๏ การสร้างวัตถุมงคล

    สำหรับเรื่องวัตถุมงคล เครื่องรางของขลังนั้น หลวงปู่สายได้ให้ข้อคิดที่น่าสนใจว่า ความดีอยู่ที่กาย วาจา โดยมีจิตเป็นผู้กำหนดควบคุม เพราะต้นเหตุอยู่ที่การกระทำ กายทำดี วาจาทำดี เพราะจิตสั่งให้ทำดี วัตถุมงคลหรืออะไรต่างๆ ก็เป็นสิ่งที่ดี คนที่เคารพก็บูชาสิ่งที่ดี ฉะนั้น การบูชาก็ต้องขึ้นอยู่กับกายและวาจา ที่มีจิตที่ดีกำกับอยู่ เมื่อเป็นดังนี้แล้ว หลวงปู่สายจึงมิได้มีความประสงค์ในการจัดสร้างวัตถุมงคลขึ้นแต่อย่างใด แต่ด้วยความเมตตาของท่าน เมื่อมีลูกศิษย์ลูกหามาขออนุญาตหลวงปู่จัดสร้าง ท่านก็มิได้ขัดข้องแต่ประการใด

    วัตถุมงคลที่โดดเด่น มีอยู่ด้วยกัน 3 รุ่น คือ เหรียญหลวงปู่สาย รุ่นหยดน้ำ พ.ศ.2536, เหรียญโล่หลวงปู่สาย พ.ศ.2548 และเหรียญรูปไข่หลวงปู่สาย รุ่นสร้างเจดีย์ พ.ศ.2549 ท่านจึงเป็นทั้งพระเกจิและพระวิปัสสนาจารย์ที่เป็นสายธารธรรมแห่งหนองบัวลำภูโดยแท้


    ๏ สร้างบูรพาจารย์เจดีย์ (เขมธัมมเจดีย์)

    วัดป่าพรหมวิหารได้ก่อสร้าง บูรพาจารย์เจดีย์ (เขมธัมมเจดีย์) ขึ้นบริเวณหน้าวัด (ตรงข้ามกับสถานีตำรวจภูธรโนนเมือง ถนนเส้นศรีบุญเรือง-โนนสัง) เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ รวมทั้งรูปเหมือนของหลวงปู่สาย เขมธมฺโม และพระบูรพาจารย์ โดยมีพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ยกยอดเจดีย์ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2550

    ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2549 ซึ่งหลวงปู่สายมีอายุครบ 84 ปีนั้น คณะศิษยานุศิษย์ได้พร้อมใจกันจัดงานบุญมหากุศล และเททองหล่อรูปเหมือนขนาดเท่าองค์จริงขององค์หลวงปู่ แบบนั่ง 1 องค์ และแบบยืน 1 องค์ เพื่อนำไปประดิษฐาน ณ บูรพาจารย์เจดีย์ (เขมธัมมเจดีย์) วัดป่าพรหมวิหาร

    นอกจากนี้แล้ว ทางวัดป่าพรหมวิหารยังมีโครงการอื่นๆ อีก กล่าวคือ ในปี พ.ศ.2548 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงรับ “โครงการสร้างอ่างเก็บน้ำวัดป่าพรหมวิหาร” ความจุ 112,000 ตารางเมตร ไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และได้รับจัดสรรงบประมาณดำเนินการขุดลอกอ่างเก็บน้ำเมื่อปี พ.ศ.2551 จำนวน 2,478,000 บาท โดยกรมชลประทานดำเนินการแล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2551

    [​IMG]

    [​IMG]
    บูรพาจารย์เจดีย์ (เขมธัมมเจดีย์)

    [​IMG]
    เขมธัมมเจดีย์ ขณะกำลังดำเนินการก่อสร้างอยู่



    .............................................................

    ♥ รวบรวมและเรียบเรียงมาจาก ::
    (1) หนังสือพิมพ์ข่าวสด หน้า 1 คอลัมน์ มงคลข่าวสด
    (2) หนังสือรวมคำสอนหลวงปู่สาย เขมธมฺโม
    ♥ ขอกราบขอบพระคุณที่มาของรูปภาพทุกแหล่ง
    โดยเฉพาะจากเว็บไซต์ -:-
     
  17. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    <TABLE border=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center>
    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" height=20 vAlign=bottom noWrap align=right></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR class=hrcolor SIZE=1 width="100%">
    [​IMG]

    หลวงปู่ผู้พูดน้อย

    ปฏิปทาหลวงปู่นั้นท่านไม่พูดอะไรมาก แม้กระทั่งประวัติส่วนองค์ท่าน ท่านก็เล่าเพียงสั้นๆเท่านั้น ส่วนใหญ่ท่านจะปฏิบัติให้เห็นมากกว่าการเอ่ยด้วยถ้อยคำ หากจะสอนสิ่งใดก็เพียงปรารภอุบายธรรมสั้นๆพอให้ตรงกับอุปนิสัยของผู้นั้น โดยท่านปรารภทีเดียวเท่านั้น แล้วแต่ผู้ฟังจะนำไปพิจารณาทางปํญญาได้มากน้อยเพียงใด เช่น " ไปอยู่กรุงเทพ เดี๋ยวหลงแสง หลงสี กินแต่ของดี ขี้เหม็น" เพื่อเตือนสติพระผู้ติดตาม สมัยหลวงปู่ท่านเข้ารับการรักษาอาพาธที่กรุงเทพมหานคร


    เป็นพระยากที่สุด

    หลวงปู่ท่านอยู่อย่างพระภิกษุผู้ยากจน ไม่ขอไม่ร้องในเหตุเกินควรแก่ฐานะพระภิกษุสงฆ์ ท่านไม่เคยขอร้อง ไม่เคยออกปากอยากได้ อยากมี อยากเป็นอะไรๆ กับใคร แม้แต่กับญาติพี่น้อง ท่านมีความเป็นอยู่เลี้ยงปากเลี้ยงท้องอย่างสม่ำเสมอ นับแต่ปี ๒๔๗๘ ที่ได้บวชมา อาหารบิณฑบาต ๑ มื้อ ก็เพียงพอต่อสังขารร่างกายของท่าน ให้อยู่ปฏิบัติธรรมต่อไปได้อย่างบริบูรณ์ยิ่ง

    บริขารก็เช่นกัน ท่านอาศัยเพียงผ้า ๓ ผืนฉันในบาตร อยู่ในอาสนะพอควร หนักแน่นด้วยธรรมปฏิบัติ เจริญศีล เจริญภาวนา ครั้งหนึ่งท่านเคยปรารภว่า "พระพุทธเจ้าท่านเป็นพระมหากษัตริย์ ท่านยังสละออกป่า อนาถานอนกลางดิน กินของชาวบ้าน จนสำเร็จมรรคผลนิพพาน นั่น... นี่เราเป็นคนด้อยวาสนา เป็นชาวนา จะเอาอะไรให้มากกว่านี้ พระนั้นมิใช่ว่าจะเป็นได้ง่ายๆ บวชเข้ามาเป็นผีเฉยๆก็มาก ลงนรกก็แยะไป เออ...เป็นพระน่ะมันยากที่สุด ไม่ใช่ว่าใครจะคิด จะทำ จะนึก เอาตามใจตัวเองนั้นไม่ได้หรอก บวชแล้วลืมตัวว่าเป็นพระก็ลงนรก เพราะยังพกเอาความหลงมาทำให้พระศาสนาสกปรก"




    อานิสงค์ภายหน้า

    ในงานกฐินหรือผ้าป่าครั้งหนึ่ง คณะญาติโยมก็ได้กล่าวคำถวายและร่วมกันอธิษฐานว่า

    "....ขอให้พ้นทุกข์ในชาติหน้าภพหน้าเทอญ...."
    หลวงปู่ท่านได้ยินจึงพูดออกไมโครโฟนว่า

    "สิเอาเฮ็ดหยังข้างหน้า มันสิหน้าไปเรื่อย เอามันมื่อนี่พ้นมันเดี๋ยวนี่ล่ะ" (จะไปเอาทำไมข้างหน้า มันก็จะหน้าไปเรื่อย เอามันวันนี้พ้นมันเดี๋ยวนี่ล่ะ)

    นี่แหละ "ปัจจุบันธรรม" ที่หลวงปู่ได้สอนศิษย์ทั้งหลาย "ให้ พากันพิจารณาธรรมในปัจจุบัน ทำปัจจุบันทุกๆขณะจิตให้ดีที่สุด อย่าส่งจิตออกนอกไปยึดติดกับอดีตที่ผ่านมาแล้วหรืออนาคตที่ยังมาไม่ถึง" เหมือนกับที่ หลวงปู่แหวน สุจิณโณ แห่งวัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่ ท่านกล่าวไว้ว่า

    "อดีตก็ธรรมเมา อนาคตก็ธรรมเมา เฮามีแต่ปัจจุบันธรรมเท่านั้น"



    อ่านทั้งหมด 6 หน้าได้ที่

    http://larndham.org/index.php?/topic/40334-%CB%C5%C7%A7%BB%D9%E8%CD%E8%CD%B9%CA%D2-%CA%D8%A2%A1%D2%E2%C3/page__pid__735941__st__0&#entry735941
     
  18. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    ชีวประวัติ และปฏิปทาของหลวงปู่สอ พันธุโล ( พระครูภาวนากิจโกศล ) วัดป่าบ้านหนองแสง ตำบลสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
    [​IMG]

    ชาติภูมิ
    หลวงปู่สอ พันธุโล นามสกุล ขันเงิน ท่านเกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 8 ปีระกา ตรงกับวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 ที่บ้านทุ่งมน ตำบลทุ่งมน อำเภอลุมพุก ( คำเขื่อนแก้ว ) จังหวัดอุบลราชธานี ( ปัจจุบันคือจังหวัดยโสธร ) บิดาชื่อนายตา ขันเงิน มารดาชื่อนางขอ ขันเงิน มีพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน 2 คน เป็นชายทั้งหมด คนแรกคือ หลวงปู่สอ พันธุโล คนที่สองคือ นายหมอ ขันเงิน ปัจจุบันอยู่ที่บ้านเดื่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย หลวงปู่สอ พันธุโล สมัยที่ท่านเป็นฆราวาสนั้นเป็นคนที่ชอบสนุกสนาน ร่าเริง เข้ากับหมู่คณะได้ทุกคน ขณะเดียวกันก็ยังเป็นคนที่ค่อนข้างจะมีความสามารถในการกล่าวกลอนสด ( ผญา ) ของคนอีสาน เป็นที่ชอบใจของผู้ฟังทำให้คนแปลกใจว่าทำไรหลวงปู่ จึงมีความสามารถมากเช่นนั้นจริงๆ ที่หลวงปู่สอ เรียนจบเพียงชั้น ป.3 แต่ถึงท่านจะชอบสนุกสนานรื่นเริง นิสัยประจำตัวอย่างหนึ่งของท่านที่มีอยู่โดยตลอด คือ ความอดทน ความขยันหมั่นเพียรซึ่งนับว่าเป็นคุณสมบัติอันสำคัญยิ่งที่ส่งผลให้การทำความเพียรของท่านในภายหลังจากอุปสมบทแล้วมีความเด็ดเดียวมั่นคงและเจริญก้าวหน้าไปโดยลำดับ

    ครองฆราวาสวิสัย
    เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตฆราวาสอยู่นั้น เมื่ออายุได้ประมาณ 20 ปีเศษ หลวงปู่ได้แต่งงานกับนางบับ ซึ่งเป็นหญิงสาวชาวบ้านเดียวกันนั่นเอง หลังจากแต่งงานมีครอบครัวแล้วความรับผิดชอบทุกอย่างก็ตกอยู่กับท่าน เพราะท่านเป็นหัวหน้าครอบครัวจะต้องตื่นแต่เช้าขยันทำการงาน หนักเอาเบาสู้โดยหวังจะให้ภรรยา และลูกๆ มีความสุข บางครั้งต้องเดินทางรอนแรมไปต่างจังหวัดเพื่อหาเงินมาจุนเจือครอบครัว หลายครั้งเมื่อกลับมาถึงบ้านก็มีปัญหาทะเลาะเบาะแว้งกับภรรยาบ้าง ตามประสาของฆราวาสเหมือนลิ้นกับฟันที่ต้องกระทบกันอยู่ทุกวัน
    ในช่วงมีครอบครัวนี้ ท่านมีบุตร 3 คน ดังนี้คือ

    1. นางอ่าง ขันเงิน ปัจจุบันอยู่บ้านหนองแสง ตำบลสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
    2. เป็นผู้ชาย ( ไม่ทราบนาม ) ปัจจุบันได้เสียชีวิตแล้ว
    3. นางนาง ขันเงิน ปัจจุบันอยู่บ้านหนองแสง ตำบลสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร

    สาเหตุแห่งการออกบวช
    ความคิดครั้งแรกก่อนแต่งงานท่านคิดว่าชีวิตจะมีความสุขมีความราบรื่น แต่สุดท้ายก็คิดได้ตามหลักสัจจะธรรม ว่าการมีครอบครัวเป็นการทำให้หมดอิสรภาพแทบทุกอย่าง ต้องแบกภาระมากมายจิตใจก็หมกมุ่นอยู่แต่ในเรื่องของฆราวาสวิสัยในกิจการงานจนไม่มีเวลาเป็นของตนเอง ชีวิตมีแต่ความทรมานเร่าร้อนเหมือนนั่งอยู่บนกองไฟ ความรู้สึกเช่นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับฆราวาสโดยทั่วไปมากนัก นอกจากผู้มีบุญบารมีเก่าที่เคยสั่งสมมาในอดีตชาติเท่านั้น หลวงปู่ได้ตัดสินใจบอกความประสงค์ของท่านต่อภรรยาว่าท่านปรารถนาจะออกบวช เพราะรู้สึกเบื่อหน่ายต่อการครองเรือนแต่ภรรยาของท่านก็ไม่เห็นด้วย เนื่องจากอยู่ในระหว่างการสร้างเนื้อสร้างตัว และลูกก็เล็กอยู่ หลวงปู่ไม่ละความพยายามเมื่อมีโอกาสก็ขออนุญาตออกบวชอยู่เสมอ จนภรรยาของท่านต้องยินยอมแต่มีข้อแม้ว่าต้องออกบวชเพียง 15 วันเท่านั้น
    การบวชครั้งแรก
    ในปี พ.ศ.2496 ขณะอายุของหลวงปู่ได้ 32 ปี ท่านได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ เป็นครั้งแรก ณ พัทธสีมา วัดสร่างโศรก ( วัดศรีธรรมาราม ) ตำบลในเมือง อำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระครูปลัดบุญสิงห์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสังฆ์รักษ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระมหาสาย เป็นอนุสาวนจารย์ ได้รับฉายาว่า พันธุโล หลวงปู่สอ พันธุโล ได้เล่าว่าท่านมีความสุขใจ และมีความพอใจมากที่ได้บวชสมความตั้งใจ ทำให้มีความปลอดโปร่ง เหมือนบุคคลที่เป็นโรคแล้วหายจากโรค เหมือนบุคคลที่ถูกขุมขังแล้วหลุดพ้นจากที่คุม ขังจิตใจมีความสงบเยือกเย็น มองเห็นชีวิตแห่งการบวชเป็นทางที่จะแสวงหาความสุขได้อย่างแท้จริง ในการบวชครั้งนี้ หลวงปู่สอ ท่านพยายามที่จะทำตามกำหนดเวลาของภรรยาคือ บวช 15วัน แต่ในขณะที่บวชอยู่นั้นมีความรู้สึกสบายกายสบายจิต คิดว่าจะบวชให้นานที่สุด และท่านก็ได้ขอผัดผ่อนภรรยาเรื่อยมา สุดท้ายเมื่อครบ 15วัน ท่านก็ไม่ได้สึกตามที่ภรรยากำหนดไว้ จึงทำให้ท่านได้อยู่ในเพศพรหมจรรย์ และปฏิบัติธรรมเพื่อความสงบสันติแห่งใจเรื่อยมาถึง 2 พรรษา ในปี พ.ศ.2496 ซึ่งเป็นพรรษาแรก หลวงปู่สอ ท่านได้จำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านหนองแสง ตำบลสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ซึ่งขณะนั้นหลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ ( ปัจจุบันอยู่วัดป่าบ้านนาคูณ ) เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้แนะนำ สั่งสอนข้อวัตรปฏิบัติ ตลอดถึงในการอบรมด้านสมาธิภาวนา


    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="98%" align=center><TBODY><TR><TD>ประวัติหลวงปู่สอ พันธุโล</TD></TR><TR><TD>หลวงปู่สอ พันธุโล มรณภาพ [9 พฤศจิกายน 2552 00:13 น.]
    </TD></TR><TR><TD>ประวัติหลวงปู่สอ พันธุโล 2 [28 เมษายน 2552 21:40 น.]
    </TD></TR><TR><TD>ประวัติหลวงปู่สอ พันธุโล1 [28 เมษายน 2552 20:09 น.]
    </TD></TR><TR><TD>ดูทั้งหมด </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    จัดทำเป็นล๊อกเก็ตหลวงปู่มั่นฉากทอง และซีเปียขาวดำ ต้องทำพีธีขออนุญาต ครับ งานสบทบทุนสร้างอุโบสถ วัดพระพุทธถ้ำป่าไผ่ ติดตามไปเรื่อยๆครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ajmun1.jpg
      ajmun1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      54.8 KB
      เปิดดู:
      671
    • IMG_1695.JPG
      IMG_1695.JPG
      ขนาดไฟล์:
      668.1 KB
      เปิดดู:
      208
    • IMG_1698.JPG
      IMG_1698.JPG
      ขนาดไฟล์:
      350.2 KB
      เปิดดู:
      257
    • IMG_1701.JPG
      IMG_1701.JPG
      ขนาดไฟล์:
      696.4 KB
      เปิดดู:
      215
  20. woottipon

    woottipon เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2005
    โพสต์:
    11,794
    ค่าพลัง:
    +83,984
    หลวงปู่สังวาลย์ ธมฺมสาโร พระสุปฏิปัญโณ<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="BACKGROUND-COLOR: #ffffff; COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>ประวัติย่อ
    หลวงปู่สังวาลย์ ธมฺมสาโร

    หลวงปู่สังวาลย์ ธมฺมสาโร ตอนนี้ หลวงปู่จำวัดอยู่ที่ วัดป่าเขามโนราห์ ชายป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นวัดร้าง ลักษณะเหมือนบ้านของชาวบ้านธรรมดา เป็นเรือนไม้สองชั้น ไม่มีน้ำ ไม่มีไฟฟ้า ช่วงนี้ท่านก็สลับออกธุดงค์เข้าไปในป่าลึก เข้าธุดงค์ประมาณ1-2 เดือน เพื่อฝึกพระใหม่ที่ตามมาธุดงค์ เป็นการฝึก ซึ่งมีผู้กล่าวว่า ปู่สามารถฝึกพระบางองค์ได้ถึงขั้นอริสงฆ์ก็มีหลายรูปแล้ว ตอนนี้มีพระทั้งหมด 11 รูป

    หลวงปู่สังวาลย์ ท่านอายุ 73 ปี เกิดปี พ.ศ.2477 ท่านเป็นหลานแท้ๆ ของหลวงปู่ขาว อนาลโย เคยธุดงค์กับพระเกจิสุปฏิปันโนมากมาย อาทิ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่เสาร์ หลวงปู่ขาว หลวงปู่ชา หลวงปู่เกษม(สุสานไตรลักษณ์) หลวงปู่บุดดา หลวงปู่ดุลย์ หลวงปู่เทศ หลวงปู่มหาบัว ฯลฯ เป็นต้น โดยธุดงค์ในป่าลึก ทั้งเหนือ อีสาน ฯ บางครั้งท่านก็เดินธุดงค์องค์เดียวเป็นเวลาหลายปี ยกเว้นตอนเข้าพรรษาเท่านั้น ที่จำเป็นต้องอยู่จำพรรษาที่วัด ก็จะเป็นวัดล้างในป่า เสียส่วนมาก ท่านกรุณาเล่าประวัติให้ฟังพอสังเขป จำได้ไม่หมด ทั้งนี้เพราะทราบมาว่าปกติท่านไม่เคยเล่าให้ใครฟัง พระที่ตามธุดงค์กับท่านก็จะไม่ทราบเรื่องราวของท่านมากนัก ท่านไม่เคยให้สัมภาษณ์หนังสือใดๆ เพราะ ท่านไม่ติดยึดกับชื่อเสียงทางโลก หรือแม้กระทั่งการถ่ายรูป ตอนที่ท่านเข้าธุดงค์ในป่าลึกห้วยขาแข้ง เจ้าหน้าที่ป่าไม้ได้แอบถ่ายสถานที่ในวัดหลายรูป หัวหน้าเขตป่าไม้ชื่อคุณ.ทวี.เล่าให้คณะเราฟังในภายหลังว่าเคยแ อบถ่ายรูปโดยไม่ขออนุญาต ปรากฎว่ากล้องระเบิดเสียหายไป 3 ตัวเลย

    ดังนั้น ขอสรุปเรื่องราวของหลวงปู่สังวาลย์ โดยสังเขปดังนี้

    ท่านเป็นลูกศิษย์ ที่ร่วมคณะเดินธุดงค์กับท่านหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

    และพระสุปฎิปันโนที่เอ่ยนามแล้วทุกคนรู้จักเป็นที่เคารพของคนไท ยและท่านเป็นสหายธรรมกับหลวงตามหาบัว สมัยอยู่กับหลวงปู่เทส เทสรังสี หลวงปู่สังวาลย์ เล่าว่า ปู่เคยไปธุดงค์ที่ทุ้งแสลงหลวง(ตอนนั้นอายุ53ปี) และมีเณร(อายุ 15ปี) ตามไปด้วยหนึ่งองค์ ระหว่างทางปู่ได้ไปเยียบกับระเบิดเข้า เณรได้เข้ามากอดขาหลวงปู่ แต่ปู่บอกให้เณรออกไป เดี๋ยวตายทั้งคู่ ถ้าปู่เป็นอะไร เณรจะได้ไปบอกคนมาช่วย ขณะจะถอนเท้าออกจากกับระเบิดท่านบอกให้เณรหนีไปไกลๆก่อน

    เมื่อท่านยกเท้าขึ้นก็เกิดระเบิดตูมสนั่น ตัวท่านลอยไปตกในหลุมหลาวที่ทำจากไม้ไผ่หลาวปลายแหลม(ไม้เสียบแ หลมๆของพวกผู้ก่อการร้าย) แต่หลาวไม่สามารถแถงทะลุเข้าท่านได้ ท่านก็นอนค้างอยู่นั้น แต่ท่านก็ขาหักแขนหัก และมีบาดแผลใหญ่ถูกกระเบิดเป็นรูใหญ่ ตรงช่วงต้นขาซ้าย หลังจากนั้นเณรก็เขามาช่วยปู่เอาจีวรพันขาปู่ เพราะเลือดไหลไม่หยุด จึงเอายาฉุนยัดไว้ที่รูแผล รูขนาดลูกปิงปองเลย ปู่เปิดให้ดูรอยบาดแผลใหญ่มาก ท่านบอกให้เณรเดินไปตามลำธารน้ำแล้วจะไม่หลงป่า เมื่อพบชาวบ้านให้แจ้งคนมาช่วย ส่วนตัวท่านก็นอนอยู่ที่นั้นขยับกายไปไหนไม่ได้ นอนอยู่ 3วัน แมลงวันมาเกาะขณะที่ท่านสลบไป รู้สำตัวขึ้นมาก็เห็นหนอนไชแผลเต็มไปหมด เลือดไหลจนซีดหมดทั้งตัว ปู่บอกจะตายก็ตาย ชีวิตนี้ไม่เอา ไม่ยึดติดอะไรแล้ว กว่าเณรจะเดินตามลำธาร ไปพบชาวบ้านใช้เวลา ถึง 3วัน 2คืน แล้วทหารเสนารักษ์ก็มาช่วยรักษาพาท่านไปโรงพยาบาลในที่สุด


    -2-

    ต่อมา จากแรงระเบิดจึงทำให้ร่างกายของปู่บอบช้ำมาก โดยเฉพาะการทำงานของหัวใจไม่ดี ปู่พูดตามภาษาปู่ว่า <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...