"รากเหง้า" ใน "ธรรมะ" ของศิลปิน...อนุพงษ์ จันทร

ในห้อง 'พุทธศาสนากับคนดัง' ตั้งกระทู้โดย paang, 4 ตุลาคม 2007.

  1. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,326
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    </TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG][/IMG] [​IMG] ตกเป็นข่าวเกรียวกราวไปทันที สำหรับ "ภิกษุสันดานกา" ภาพรางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่งเหรียญทอง การประกวดศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 53 โดยฝีมือของ อนุพงษ์จันทร

    นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และอาจารย์ภาควิชาวิจิตรศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หลังจากกรณีประท้วงถึงความไม่เหมาะสมจากพระภิกษุสงฆ์บางกลุ่ม
    ถ้าพิจารณาย้อนหลังไปแล้วศิลปินและอาจารย์หนุ่มวัย 27 ปีรายนี้ ถือได้ว่า "ซื่อสัตย์" กับการนำเสนอผลงานในแนวทางนี้มาโดยตลอด และยังคว้ารางวัลจากเวทีศิลปะระดับชาติมาแล้วมากมาย นอกจากรางวัลครั้งล่าสุดแล้ว ยังเคยคว้ารางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองประเภทจิตรกรรม ศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 52 ในภาพชื่อ "เศษบุญ-เศษกรรม" รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 51 กับ "พุทธบริษัทหมายเลข 4" รางวัลชมเชย การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 18 ในภาพ "ภูมิลวง" ฯลฯ
    อนุพงษ์ไล่เรียงว่า จากการได้เข้าวัดเข้าวากับตายายมาตั้งแต่เด็กๆ ตามประสาพุทธศาสนิกชนทั่วไป ทำให้เขาซึมซับคำสอน "ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว" มาแต่ไหนแต่ไร ประกอบกับการเติบโตในจังหวัดปราจีนบุรี ที่ซึ่งอุดมไปด้วยวัดเก่าแก่ ทำให้เขาเห็นลายเส้นศิลปะไทยมาตั้งแต่เล็กแต่น้อย
    "ที่ผมเลือกเรียนสาขานี้ไม่ได้อยู่ในความคิดตั้งแต่ผมเอนทรานซ์เรียนศิลปะ ตอนแรกผมชอบประติมากรรม แต่พอได้เรียนที่ ม.ศิลปากรมีอยู่วิชาหนึ่งชื่อวิชา Folk Art (ศิลปะพื้นบ้าน) สอนโดยอ.ธงชัย ศรีสุขประเสิรฐ ท่านก็เอา สไลด์งานมาบรรยายให้ดู มีงานศิลปกรรมไทยแบบประเพณีดั้งเดิม แล้วค่อยๆ คลี่คลายให้เห็นถึงงานที่ใช้วัสดุ เนื้อหาอาจจะเป็นวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบัน หรือเป็นข้าวของเครื่องใช้ประกอบให้เป็นงานใหม่ขึ้นมา ผมก็รู้สึกว่าสาขานี้น่าสนใจ เราได้ทำงานศิลปะโดยเลือกเอาบางอย่างที่เป็นไทยมาสร้างสรรค์งาน" ศิลปินบอกเล่า
    จากศิลปะพื้นบ้านผสมผสานกับความสนใจในพระพุทธศาสนา ประกอบกับความสะเทือนใจที่ได้เห็นข่าวผู้ที่เรียกตัวเองว่าภิกษุสงฆ์ประพฤติตนออกนอกลู่นอกทางตามสื่อต่างๆ เป็นแรงบันดาลใจสำคัญให้อนุพงษ์สร้างสรรค์งานออกมาชิ้นแล้วชิ้นเล่า พร้อมยังส่งประกวดไปตามเวทีต่างๆ ไม่ได้ขาด
    "ผมไปศึกษาตามวัดแล้วมาเจอภาพที่วัดดุสิตตาราม ชื่อภาพนรกภูมิ ซึ่งเป็นภาพที่ขึ้นชื่อมากได้รับการยอมรับจากวงการศิลปะว่าดูมีชีวิตชีวา เขียนได้อารมณ์สะเทือนใจมาก อีกภาพคือภาพโบราณที่บันทึกไว้ในสมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงธนบุรี มันคล้ายกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในสังคมที่เราเห็นตามสื่อต่างๆ มีคนปลอมเป็นภิกษุเพื่อหาลาภ หาผลประโยชน์จากแรงศรัทธาของชาวบ้าน เราได้รับรู้และสะเทือนใจในฐานะที่เป็นชาวพุทธคนหนึ่ง วิธีการที่เราจะแสดงออกได้ คือการเขียนรูป ผมจึงเอาเนื้อหาในสังคมมาทดลองสร้างงานดู นี้ หลังจากเกิดเรื่อง ผมยังไปพูดคุยกับหลวงพ่อที่วัดสุทัศน์ ไปสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของท่านเกี่ยวกับรูป เกี่ยวกับสังคม ท่านบอกว่า โบราณมีเขียนเรื่องพวกนี้เอาไว้เยอะมาก ภาพจิตรกรรมต่างๆ ผมสู้ไม่ได้เลย มันมีมานานแล้ว ไม่ใช่เพิ่งมี"
    "ส่วนจะว่าเป็นนักล่ารางวัลผมคงไม่ใช่ แต่ผมทำงานศิลปะ การแสดงงาน มันคือหน้าที่หนึ่งของคนทำงานศิลปะที่จำเป็นต้องแสดงงานและต้องเผยแพร่งานของตัวเอง เพื่อให้วงการศิลปะเกิดความเคลื่อนไหว และเกิดสิ่งใหม่ๆขึ้น นักศึกษาศิลปะทุกคนอยากแสดงงาน เหมือนนักร้องที่อยากออกเทป อยากแสดงวัน แมน โชว์สักครั้ง"
    อนุพงษ์บอกด้วยว่า เขาโชคดีที่ได้เรียนศิลปะสาขาซึ่งสามารถหยิบยกความเป็นไทยมาประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย ได้ทำงานศิลปะไทยที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต สังคมปัจจุบัน สะท้อนให้คนตระหนัก ฉุกคิดว่าขณะนี้เกิดอะไรขึ้นกับสังคม
    งานที่ผมทำใช่ว่าจะมีเรื่องของภิกษุเรื่องของฆราวาสก็มี อย่างตอนที่ผมศึกษาเรื่องราวจากวรรณกรรมไทยขุนช้างขุนแผน ก็ได้แรงบันดาลใจจากตอนที่นางวันทองถูกบั่นคอ กลายเป็นเปรตหัวด้วน ก็นำมาสร้างเป็นผลงาน พูดถึงศีลธรรมของการครองเรือน การหย่าร้าง การผิดลูกผิดเมียทำให้สถาบันทางสังคมล่มสลาย ทำให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ตามมา"
    อาจารย์ศิลปินยังกล่าวด้วยว่า การจะให้วัยรุ่นไทยฝักใฝ่ธรรมะนั้นต้องมีการปลูกฝังจากครอบครัวตั้งแต่เนิ่นๆ ซึ่งในชั้นเรียน เขาก็พยายามพานักศึกษาออกไปชมความงามของวัดเป็นการศึกษานอกห้องเรียน ให้ลวดลายวิจิตรบรรจงแง่ศิลปะเป็นตัวดึงดูดให้เด็กวัยรุ่นหันมาสนใจศึกษาแก่นแท้ของศาสนา
    ผมเคยคิดอยากบวชอยากศึกษาธรรมะในฐานะเป็นชาวพุทธคนหนึ่ง แต่การได้เป็นอาจารย์ก็ถือเป็นสิ่งที่ท้าทาย เราเคยแต่เป็นคนรับ แล้วนำมาถ่ายทอด มันเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับตัวเราเอง และผู้รับด้วย ทำให้เรารู้ว่าสิ่งที่เราเรียนมาก็มีประโยชน์ ถ้าเราถ่ายทอดให้คนอื่น ก็เป็นบุญกุศลกับตัวเราเอง แก่วงการศิลปะด้วยเหมือนที่ครูบาอาจารย์ของเราที่ท่านเสียสละตนมาถ่ายทอดความรู้ให้กับเรา อนุพงษ์กล่าวทิ้งท้าย



    -->
    [​IMG]






    ตกเป็นข่าวเกรียวกราวไปทันที สำหรับ "ภิกษุสันดานกา" ภาพรางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่งเหรียญทอง การประกวดศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 53 โดยฝีมือของ อนุพงษ์จันทร

    นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และอาจารย์ภาควิชาวิจิตรศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หลังจากกรณีประท้วงถึงความไม่เหมาะสมจากพระภิกษุสงฆ์บางกลุ่ม



    [​IMG]



    ถ้าพิจารณาย้อนหลังไปแล้วศิลปินและอาจารย์หนุ่มวัย 27 ปีรายนี้ ถือได้ว่า "ซื่อสัตย์" กับการนำเสนอผลงานในแนวทางนี้มาโดยตลอด และยังคว้ารางวัลจากเวทีศิลปะระดับชาติมาแล้วมากมาย นอกจากรางวัลครั้งล่าสุดแล้ว ยังเคยคว้ารางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองประเภทจิตรกรรม ศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 52 ในภาพชื่อ "เศษบุญ-เศษกรรม" รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 51 กับ "พุทธบริษัทหมายเลข 4" รางวัลชมเชย การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 18 ในภาพ "ภูมิลวง" ฯลฯ

    อนุพงษ์ไล่เรียงว่า จากการได้เข้าวัดเข้าวากับตายายมาตั้งแต่เด็กๆ ตามประสาพุทธศาสนิกชนทั่วไป ทำให้เขาซึมซับคำสอน "ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว" มาแต่ไหนแต่ไร ประกอบกับการเติบโตในจังหวัดปราจีนบุรี ที่ซึ่งอุดมไปด้วยวัดเก่าแก่ ทำให้เขาเห็นลายเส้นศิลปะไทยมาตั้งแต่เล็กแต่น้อย




    [​IMG]



    "ที่ผมเลือกเรียนสาขานี้ไม่ได้อยู่ในความคิดตั้งแต่ผมเอนทรานซ์เรียนศิลปะ ตอนแรกผมชอบประติมากรรม แต่พอได้เรียนที่ ม.ศิลปากรมีอยู่วิชาหนึ่งชื่อวิชา Folk Art (ศิลปะพื้นบ้าน) สอนโดยอ.ธงชัย ศรีสุขประเสิรฐ ท่านก็เอา สไลด์งานมาบรรยายให้ดู มีงานศิลปกรรมไทยแบบประเพณีดั้งเดิม แล้วค่อยๆ คลี่คลายให้เห็นถึงงานที่ใช้วัสดุ เนื้อหาอาจจะเป็นวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบัน หรือเป็นข้าวของเครื่องใช้ประกอบให้เป็นงานใหม่ขึ้นมา ผมก็รู้สึกว่าสาขานี้น่าสนใจ เราได้ทำงานศิลปะโดยเลือกเอาบางอย่างที่เป็นไทยมาสร้างสรรค์งาน" ศิลปินบอกเล่าจากศิลปะพื้นบ้านผสมผสานกับความสนใจในพระพุทธศาสนา ประกอบกับความสะเทือนใจที่ได้เห็นข่าวผู้ที่เรียกตัวเองว่าภิกษุสงฆ์ประพฤติตนออกนอกลู่นอกทางตามสื่อต่างๆ เป็นแรงบันดาลใจสำคัญให้อนุพงษ์สร้างสรรค์งานออกมาชิ้นแล้วชิ้นเล่า พร้อมยังส่งประกวดไปตามเวทีต่างๆ ไม่ได้ขาด


    "ผมไปศึกษาตามวัดแล้วมาเจอภาพที่วัดดุสิตตาราม ชื่อภาพนรกภูมิ ซึ่งเป็นภาพที่ขึ้นชื่อมากได้รับการยอมรับจากวงการศิลปะว่าดูมีชีวิตชีวา เขียนได้อารมณ์สะเทือนใจมาก อีกภาพคือภาพโบราณที่บันทึกไว้ในสมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงธนบุรี มันคล้ายกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในสังคมที่เราเห็นตามสื่อต่างๆ มีคนปลอมเป็นภิกษุเพื่อหาลาภ หาผลประโยชน์จากแรงศรัทธาของชาวบ้าน เราได้รับรู้และสะเทือนใจในฐานะที่เป็นชาวพุทธคนหนึ่ง วิธีการที่เราจะแสดงออกได้ คือการเขียนรูป ผมจึงเอาเนื้อหาในสังคมมาทดลองสร้างงานดู นี้ หลังจากเกิดเรื่อง ผมยังไปพูดคุยกับหลวงพ่อที่วัดสุทัศน์ ไปสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของท่านเกี่ยวกับรูป เกี่ยวกับสังคม ท่านบอกว่า โบราณมีเขียนเรื่องพวกนี้เอาไว้เยอะมาก ภาพจิตรกรรมต่างๆ ผมสู้ไม่ได้เลย มันมีมานานแล้ว ไม่ใช่เพิ่งมี""ส่วนจะว่าเป็นนักล่ารางวัลผมคงไม่ใช่ แต่ผมทำงานศิลปะ การแสดงงาน มันคือหน้าที่หนึ่งของคนทำงานศิลปะที่จำเป็นต้องแสดงงานและต้องเผยแพร่งานของตัวเอง เพื่อให้วงการศิลปะเกิดความเคลื่อนไหว และเกิดสิ่งใหม่ๆขึ้น นักศึกษาศิลปะทุกคนอยากแสดงงาน เหมือนนักร้องที่อยากออกเทป อยากแสดงวัน แมน โชว์สักครั้ง"






    [​IMG]





    อนุพงษ์บอกด้วยว่า เขาโชคดีที่ได้เรียนศิลปะสาขาซึ่งสามารถหยิบยกความเป็นไทยมาประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย ได้ทำงานศิลปะไทยที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต สังคมปัจจุบัน สะท้อนให้คนตระหนัก ฉุกคิดว่าขณะนี้เกิดอะไรขึ้นกับสังคม

    งานที่ผมทำใช่ว่าจะมีเรื่องของภิกษุเรื่องของฆราวาสก็มี อย่างตอนที่ผมศึกษาเรื่องราวจากวรรณกรรมไทยขุนช้างขุนแผน ก็ได้แรงบันดาลใจจากตอนที่นางวันทองถูกบั่นคอ กลายเป็นเปรตหัวด้วน ก็นำมาสร้างเป็นผลงาน พูดถึงศีลธรรมของการครองเรือน การหย่าร้าง การผิดลูกผิดเมียทำให้สถาบันทางสังคมล่มสลาย ทำให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ตามมา"

    อาจารย์ศิลปินยังกล่าวด้วยว่า การจะให้วัยรุ่นไทยฝักใฝ่ธรรมะนั้นต้องมีการปลูกฝังจากครอบครัวตั้งแต่เนิ่นๆ ซึ่งในชั้นเรียน เขาก็พยายามพานักศึกษาออกไปชมความงามของวัดเป็นการศึกษานอกห้องเรียน ให้ลวดลายวิจิตรบรรจงแง่ศิลปะเป็นตัวดึงดูดให้เด็กวัยรุ่นหันมาสนใจศึกษาแก่นแท้ของศาสนา




    [​IMG]



    ผมเคยคิดอยากบวชอยากศึกษาธรรมะในฐานะเป็นชาวพุทธคนหนึ่ง แต่การได้เป็นอาจารย์ก็ถือเป็นสิ่งที่ท้าทาย เราเคยแต่เป็นคนรับ แล้วนำมาถ่ายทอด มันเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับตัวเราเอง และผู้รับด้วย ทำให้เรารู้ว่าสิ่งที่เราเรียนมาก็มีประโยชน์ ถ้าเราถ่ายทอดให้คนอื่น ก็เป็นบุญกุศลกับตัวเราเอง แก่วงการศิลปะด้วยเหมือนที่ครูบาอาจารย์ของเราที่ท่านเสียสละตนมาถ่ายทอดความรู้ให้กับเรา อนุพงษ์กล่าวทิ้งท้าย



    [​IMG]
    <TABLE align=center><TBODY></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    ที่มา คมชัดลึก
     
  2. เงาใจ

    เงาใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    259
    ค่าพลัง:
    +1,214
    มิจฉาทิฏฐิ แท้ๆ เห็น กงจักร เป็น ดอกบัว อนาถ แท้ๆ กรรม
    เราทำกรรม อันใด ไว้ ย่อม ได้รับ ผล ในชาตินี้เอง กาลเวลา จะพิสูจน์ คุณ ว่าเจตนา แอบแฝง อะไร แล้วคุณ จะรู้ว่า นรกมีจริง จ๊ะ
    ดง
     

แชร์หน้านี้

Loading...