ขอคาถามหาเมตตาใหญ่หน่อยค่ะอยากลองสวดดู

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย เจ้าหญิงคริสติน, 19 กุมภาพันธ์ 2008.

  1. เจ้าหญิงคริสติน

    เจ้าหญิงคริสติน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +37
    ขอคาถามหาเมตตาใหญ่หน่อยค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 มีนาคม 2008
  2. Aek9549

    Aek9549 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    811
    ค่าพลัง:
    +1,031
    ถ้ามีโอกาส..ขอให้ซื้อหนังสือมนต์พิธี ฉบับของพระครูสมุห์เอี่ยม วัดอรุณฯ ซักเล่ม
    ซิครับ..ในนั้นพระใช้่่ท่องสาธยายมนต์..และมีหลายบทสวดที่พอจะเป็นประโยชน์ได้บ้าง
    ฉบับพกพาก็มี..พกติดตัวไว้ไปที่ไหนก็ใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาครับ
     
  3. ผู้พันจุ่น

    ผู้พันจุ่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +2,983
    ทำใจให้มีเมตตาต่อคน-สัตว์ทั้งหลาย ไม่ต้องใช้คาถาเลย
    1.รู้จักให้ แม้แต่คำแนะนำ ด้วยความจริงใจ
    2.คำพูดที่ไพเราะ อ่อนโยน
    3.ทำตนเป็นประโยชน์ ไม่นิ่งดูดาย
    4.ไม่เย่อหยิ่ง ถือตัว วางตัวเสมอผู้อื่น และเสมอต้นเสมอปลาย

    ภาวนาไปด้วยก็ได้ ถ้าอยากใช้ก็เชิญ
    " ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภยัปปัตตา จะ นิพพยา โสกัปปัตตา จะนิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปานิโน " แปลว่า ผู้มีทุกข์จงพ้นทุกข์ ผู้มัภัยจงพ้นภัย ผู้มีโศกจงพ้นโศก.

    หรือ คาถาหลวงปู่ขุ้ย วัดซับตะเคียน หนองไผ่ เพชรบูรณ์ ก็ได้
    " เมตตัญ จะ สัพพะโลกัสสมิง มาณะสัมภาวะ เย". แปลว่า บุคคลพึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น.

    คาถาทางโลกสักหน่อย เสกแป้งผัดหน้าเป็นเสน่ห์
    "นะเมตตา โมกรุณา พุทปรานี ธายินดี ยะเอ็นดู นะโมพุทธายะ นะอ่อนใจรัก โมชักนำมา พุทสวมกอด ธายอดเสน่หา ยะเช็ดน้ำตาร้องมาหากู อะอา อิอี อุอู สวาหะ นิจิตติ นิมิตติ มานี่เร็วมา เอหิเอหิ."
    ทดลองเสกอาหารให้สุนัขกิน ถ้าเดินตามเป็นใช้ได้ หรือ ภาวนาให้หนวดตำลึงพันนิ้ว ถือว่าสำเร็จวิชา.
     
  4. นาๆจิตตัง

    นาๆจิตตัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +412
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา
    (มหาเมตตาใหญ่)
    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อารา เมฯ
    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ
    (๑) สุขัง สุปะติ
    (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ
    (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ
    (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๖) เทวะตา รักขันติ
    (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ
    (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ
    (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ
    (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ
    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ
    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุติฯ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา
    อะปีฬานะยะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา
    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา
    อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา
    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา
    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ
    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา.
     
  5. นาๆจิตตัง

    นาๆจิตตัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +412
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา
    (มหาเมตตาใหญ่แปล)
    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทานพระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง? (อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)
    (๑) นอนหลับเป็นสุข
    (๒) ตื่นเป็นสุข
    (๓) ไม่ฝันร้าย
    (๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส
    (๑๐) ไม่หลงตาย
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง?เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)
    (๑) ประเภทที่ ๑
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ประเภทที่ ๒
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ประเภทที่ ๓
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ประเภทที่ ๔
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ประเภทที่ ๕
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ประเภทที่ ๖
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ประเภทที่ ๗
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ประเภทที่ ๘
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ประเภทที่ ๙
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ประเภทที่ ๑๐
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯเมตตาพรหมวิหารภาวนา
     
  6. ugkui

    ugkui เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    81
    ค่าพลัง:
    +289
    ขอเรียนถามคุณ นาๆจิตตัง เรื่องพุทธานุภาพของบทสวดมนต์มหาเมตตาใหญ่
    ขอขอบคุณครับ
     
  7. chanin

    chanin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2005
    โพสต์:
    675
    ค่าพลัง:
    +1,331
  8. aisa0101

    aisa0101 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2007
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +89
    ขอบคุณค่ะ ว่าแต่มีเป็นหนังสือขายไหมคะ?

    อยากได้น่ะค่ะ
     
  9. รัตนถาวร

    รัตนถาวร สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0

    หนังสือและประวัติความเป็นมา หาได้ที่วัดอัมพวัน (หลวงพ่อจรัญ) สิงห์บุรี
     
  10. นาๆจิตตัง

    นาๆจิตตัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +412
    ตอบคุณ ugkui ........
    เรื่องของพุทธานุภาพของบทสวด หาอ่านได้ตามที่แปล เป็นภาษาไทยเลยครับ.......
    ส่วนในรายละเอียดปลีกย่อย เช่นหวังผลในเรื่องต่าง ๆ (ตามความเข้าใจของผม....)
    คงตามแต่เฉพาะบุญบารมี ของแต่ละท่านครับและผลจากการฝึกหรือใช้สมาธินั้น
    แผ่ออกไปด้วย ขณะเจริญบทสวด.........ซึ่งผู้ที่มีฐานหรือกำลังสมาธิที่สูงหรือสะสม
    บำเพ็ญเพียรมายาวนาน เช่นท่านปราถนาพุทธภูมิ เป็นพระโพธิสัตว์ ฯลฯ
    ก็เป็นเมตตาเจโตวิมุตติ แผ่ออกไปไม่มีประมาณ ไปยังภพทั้ง ๓ ก็ทำให้มีความสงบ
    ร่มเย็น ความผาสุข อย่างนี้เป็นต้น (ถ้าฌานแลสมาธิที่ดีแล้ว บ้างก็ไม่ต้องสวด โดยใช้
    บุญ บารมี ความเมตตา ความปราถนาดีนั้น แผ่ออกไปยังสรรพสัตว์ทั้งหลายเลย)
    ส่วนถ้าตัวเราเองเจริญบทสวด หมั่นรักษาศีล เจริญสมาธิภาวนาไปด้วยอานิสงส์ก็จะตก
    ถึงตัวเราเองด้วย ทั้งจิตเป็นสมาธิ ทำให้สงบร่มเย็นเป็นที่รัก ของมนุษย์และอมนุษย์
    ไม่เป็นผู้มีภัย เวร ส่วนที่ว่าสามารถไปเกิดพรหมโลกได้นั้น มาจาก เมตตา กรุณา
    มุทิตา อุเบกขา ซึ่งอยู่ในกรรมฐานของ พรหมวิหารสี่ นั้นเอง ไปไหนมาไหนก็สบาย
    มีความผาสุขอยู่ในตัว ของเราเอง ซึ่งก็พอจะสรุปเคร่า ๆ ได้ว่า ถ้าเราฝึกฌานแลสมาธิ
    ได้ในระดับไหนก็แผ่ออกไปด้วยในขณะที่เจริญบทสวด อานิสงส์ก็ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
    พอนาน ๆ วันเข้า ไม่ต้องเจริญบทสวด.......ก็แผ่เจริญเมตตาเจโตวิมุตติแผ่ออกไปได้เอง
    ก็เป็นสมาธิไปโดยอัตโนมัติ................เรื่องบางเรื่องเล่าหรือเขียนไปอาจสัมผัสได้ไม่ละเอียด
    เท่ากับลองหรือฝึก...ฝนด้วยตนเอง...........ลองฝึกหรือเจริญแผ่เมตตาเจโตวิมุตติดูนะครับ
    ขอโมทนาล่วงหน้า ส่วนตัวผมเอง ตั้งแต่ได้ทำดังกล่าวที่เขียนมาเบื้องต้น

    ผมว่าสวรรค์ในเมืองมนุษย์..........มีอยู่จริงและเกิดที่ตัวผมแล้ว
     
  11. Falcon_Se

    Falcon_Se เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2008
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +223
    ผมมีที่กลุ่มลูกศิษย์ของหลวงพ่อจรัญเป็นผู้จัดสร้างเป็นรูปเล่มที่อยู่ในรูปแบบไฟล์นามสกุล .doc ที่สามารถสั่งปริ้นท์จากโปรแกรม MS Word ได้เลย มีคำแปลให้ด้วย
    กว่าจะสวดจบแต่ละครั้งนี่เหนื่อยเอาการเหมือนกัน (ฝึกขันติครับ)
    ผมอัพโหลดไว้ให้แล้ว ขอเชิญทุกท่านโหลดไปปริ้น์สวดได้เลยจาก ที่นี่ ครับ
     
  12. @^น้ำใส^@

    @^น้ำใส^@ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    2,330
    ค่าพลัง:
    +4,674
    ขอบคุณทุกท่านค่ะ ขออนุญาตนำไปเผยแพร่ต่อนะคะ

    ^^
     
  13. Num_Myo

    Num_Myo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +113
    เราเริ่มสวดมหาเมตตาใหญ่ ครั้งแรกวันคืนวันพฤหัสบดี เริ่มสวดมนต์ตอนเที่ยงคืน เช้าวันต่อมาวันนั้นทั้งวันชีวิตราบรื่นดีค่ะ แต่มีเหตุที่ดีมากๆ คือ คนที่ทำงานด้วยกันจากที่เค้าไม่คุยกับเราแอบให้ร้ายลับหลังเราตลอด(เราอภัยให้ทุกครั้งไม่เคยร้ายตอบ) วันนั้นจังหวะเหมาะต้องเผชิญหน้ากัน เราและเค้าต่างยิ้มทักทายกัน และจับมือเหมือนมิตรกันและกัน นอกจากเค้าก็มีอีกคน ที่ไม่เคยยิ้มให้เราเลย ไปทางใหนเค้ามักเลี่ยงที่จะเผชิญหน้าเรา เย็นวันนั้นเราก้อได้เจอหน้าเค้าจังๆ ก็ยิ้มให้กันและกันอย่างอัตโนมัต สำหรับเราแล้ว มีความสุขเหลือเกินอยากให้ทุกๆ ที่มีแต่มิตรภาพมีแต่ความเมตตาต่อกัน เราก็จะสวดบทนี้กลางคืนหลังเที่ยงคืนเป็นต้นไป เพื่อให้เทวดาและสิ่งศักดิ์มาร่วมอนุโมทนาด้วย ยิ่งดึกยิ่งเงียบสงบดีนะ... ขอให้ทุกท่านเจริญในธรรม
     
  14. TUK2800

    TUK2800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    1,766
    ค่าพลัง:
    +1,161
    บทเมตตา...จำง่าย
    เมตตา คุณ<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>ณัง อะระหังเมตตา
    ออแอ ออ อา เมตตา พุทโธ
    (ท่องทุกวัน ๆ ละ 9 จบ)<O:p</O:p

    คาถาพระอินทร์
     
  15. หนึ่ง99999

    หนึ่ง99999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,369
    ค่าพลัง:
    +1,922
    มาสวดตามพระพุทธองดืกันดีว่าครับ
    คามพระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ
    เป็นฉบับที่รัชกาลที่ทรงสร้างถวายพระอารามหลวงและต่างปรเทศ
    คนทฺธวคฺเค เมตฺตากถา


    สาวตฺถีนิทานํ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    [๕๗๔]เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยาอาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา กตเม เอกาทส สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ มนุสฺสานํ ปิโย โหติ อมนุสฺสานํ ปิโย โหติ เทวตา รกฺขนฺติ นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ ตุวฏํ จิตฺตํ สมาธิยติ มุขวณฺโณ วิปฺปสีทติ อสมฺมูโฬฺห กาลํ กโรติ อุตฺตรึ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต พฺรหฺมโลกูปโค โหติ เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยา อาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย อิเม เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา ฯ

    [๕๗๕] อตฺถิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อตฺถิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อตฺถิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯกติหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    กตเมหิ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปาณา ฯ เป ฯ สพฺเพ ภูตา สพฺเพ ปุคฺคลา สพฺเพ อตฺตภาวปริยาปนฺนา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ
    กตเมหิ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺพา อิตฺถิโย อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุริสา ฯ เป ฯสพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพ เทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๖] กตเมหิ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตา ฯ เป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ เหฏฺฐิมาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณา ฯ เป ฯ ภูตา ปุคฺคลา อตฺตภาวปริยาปนฺนา สพฺพา อิตฺถิโย สพฺเพ ปุริสา สพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพ เทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกา ฯเป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสํ สตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนนวิเหสํวชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ สตฺเต เมตฺตายตีติ เมตฺตาตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโตสพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๗] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติสพฺเพสตฺตาอเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ปญฺญาย ปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรีโหนฺติสหคตาโหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๘]สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ โกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อวิชฺชาย น กมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาอลงฺการาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติสนฺติฏฺฐนาโหนฺติวิมุจฺจนาโหนฺติเอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๙] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา ฯเปฯปญฺญาย ปวิจินาติธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา ฯเป ฯวิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาฯ เปฯปริฬาหํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสตฺตาฯเป ฯ ทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ

    ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนาโหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิโพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติสฺวาลงฺกตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาปริวารา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๐] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอภินิโรเปติ สมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมา ปคฺคณฺหาติ สมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอุปฏฺฐาเปติ สมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาสมาทหติ สมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิมคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๑] สพฺเพสํ ปาณานํ สพฺเพสํ ภูตานํ สพฺเพสํ ปุคฺคลานํ สพฺเพสํ อตฺตภาวปริยาปนฺนานํสพฺพาสํอิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํ อริยานํ สพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ มาเวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุ มาทุกฺขิตตฺตาติอิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิสพฺเพ วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๒]สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมายทิสายสตฺตานํสพฺเพสํ อุปริมายทิสายสตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวาอสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺเต เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๓] สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณานํ ภูตานํ ปุคฺคลานํ อตฺต ภาวปริยาปนฺนานํ สพฺพาสํ อิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํ อริยานํ สพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จเจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๘๔] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตาโหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯ เป ฯสตึ อุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญาย ปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๕] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ อสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯโกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯอุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ อวิชฺชาย น กมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๖] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญาย ปวิจินาติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯวิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯเปฯปริฬาหํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯจิตฺตํ สมาทหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๗] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอภินิโรเปติ สมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ สมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปคฺคณฺหาติ สมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอุปฏฺฐาเปติ สมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯ สมฺมาสมาธิยติ สมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺตีติ ฯ
    เมตฺตากถา ฯ


    คัดลอกมาจากพระไตรปิฎก
    ฉบับภาษาบาลีครั้งแรกสมัยรัชกาลที่ ๕ รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ พุทธศักราช ๒๔๓๑
    สมัยรัชกาลที่ ๗ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๔๔ ตอนที่ ๓ วันที่ ๑๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐
    ประกาศมา ณ วันที่ ๑๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐ เปนปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน
    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ หน้าที่๔๘๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๔๗๐ ครั้งที่ ๔ พ.ศ.๒๕๓๘
    ข้อความจากการพิมพ์สมัยรัชกาลที่ ๕
    ว่า สัพเพสํ สํฆภูตานํ สามัคคี วุฑฺฒิสาธิกา
    แปลว่า ความสามัคคีของหมู่ชนทั้งปวงยังความเจริญให้สำเร็จ

    อานิสงส์ของบทนี้
    ๑.พระพุทธเจ้าสอนพระภิกขุที่จะไปอยู่ป่าหรืออยู่ที่ไหนๆ
    ๒.ทำให้ประเทศไทยคงความเป็นเอกราชมาตลอด
    ๓.ทำให้ดงพญาไฟ กลับเป็นดงพญาเย็น

    ความเป็นมาของบทเจริญธรรมบทนี้ได้ทราบมาจาก บทสวดเป็นตอนๆ ที่สมัยก่อนที่เกิดเหตุร้าย โจรชุกชุมภูตผีปีศาจ เกิดขึ้น พระท่านจะสวดบทนี้เพื่อขจัดสิ่งต่างๆออกไป เช่น จากคัมภีร์เก่าได้บันทึกไว้เมื่อสมัยของดงพญาไฟให้ คนทั้งหลายสวดจนเปลี่ยนชื่อจากดงพญาไฟเป็นดงพญาเย็นถึงปัจจุบันนี้<O<?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shapetype id=_x0000_t75 stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o:preferrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"> <v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><v:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></v:path><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock></v:shapetype><v:shape id=_x0000_i1025 style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\pong\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O<v:shape id=_x0000_i1026 style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\pong\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    ค้นพบอีกก็คือ สมัยอยุธยาพระสุพรรณกัลยาเป็นผู้ที่ชอบสวดมนต์ เมื่ออยู่ที่พม่าพระนางจะสวดมนต์และอ่านพระไตรปิฎก นอกเหนือจากนั้นยังได้นำคัมภีร์พระไตรปิฎกติดตามไปด้วย และส่วนหนึ่งได้เก็บซุกไว้ในที่แห่งหนึ่ง ตามบันทึก ที่ตำหนักของนางพระสุพรรณกัลยาที่ประเทศพม่า<O<v:shape id=_x0000_i1027 style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\pong\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O<v:shape id=_x0000_i1028 style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\pong\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>

     
  16. ถนอม021

    ถนอม021 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,098
    ค่าพลัง:
    +3,163
    อนุโมทนาสาธุด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ

    และขออุทิศบุญกุศลทั้งปวงแด่เจ้ากรรมนายเวรทุกภพทุกชาติ
    ให้ทุกท่านมีความสุขกายสุขใจตลอดไป ขอให้อโหสิรรมและ
    ขออโหสิกรรมกับทุกรูปทุกนามด้วยเถิด ให้ทุกท่านได้พระนิพพาน
    ในชาตินี้ด้วยเถิด

    ถนอม สุพัตรา ถกนธ์ พร้อมครอบครัวและญาติมิตร

    หลังจากสวดบูชาพระรัตนตรัยเสร็จเรียบร้อยแล้วสำหรับท่านที่ไม่ค่อยมีเวลามาก แนะนำบทสวดพุทธมนต์แบบย่อ ๆ แต่มีพลานุภาพมาก มีอานิสงส์มาก สวดไม่เกิน 5 นาทีจบ ดังนี้

    นะโม 3 จบ


    หัวใจ อิติปิโส ว่า
    อิสะวาสุ

    นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะพะกะสะ นะมะอะอุ

    หัวใจพาหุง
    พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ
    หัวใจพระเจ้าสิบชาติ
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
    หัวใจบารมี 30 ทัส
    ทา สี เน ปะ วิ ขะ สะ อะ เม อุ
    หัวใจพระอาการวัตตาสูตร
    มุนินทะ วะทะนัมโพชะ คัพพะสัมภาวะ สุนทะรีปาณีนัง สะระณัง วาณี มัยหัง ปิณะ ยะตัง มะนัง
    หัวใจพระธารณะปริตร
    ทิฏฐิลา ทัณฑิลา มันติลา โรคิลา ขะระรา ทุพพิลา เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
    หัวใจพระไตรปิฎก
    จิเจรุนิ
    หัวใจพระคาถาชินบัญชร
    ชะ จะ ต ะ สะ สี สัง หะ โก ทะ กะ เก นิ กุ โส ปุ เถ เส เอ ชะ ระ ธะ ขะ อา ชิ วา อะ ชิ สะ อิ ตัง
    คาถาบูชาพระพุทธเจ้า 16 พระองค์
    นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง สุอะนะอะ

    [​IMG]สวดจบควรแผ่เมตตาทุกครั้ง[​IMG]

    แผ่เมตตาจิต
    ...ทุกสิ่งทุกอย่างที่จะสัมฤทธิ์ผลนั้น เกิดจากกรรม 3 อย่าง คือ มโนกรรม เป็นใหญ่ แล้วค่อยแสดงออกมาทางวจีกรรม หรือกายกรรมที่เป็นรูป การบำเพ็ญสมาธิจิตเป็นกุศลดีกว่า เพราะว่า การแผ่เมตตา 1 ครั้ง ได้กุศลมากกว่าสร้างโบสถ์ 1 หลัง ขณะจิตที่แผ่เมตตานั้น จะเกิดอารมณ์แจ่มใส สรรพสัตว์ไม่มีโทษภัย ตัวท่านก็ไม่มีโทษภัย ฉะนั้น เขาจึงว่านามธรรมมีความสำคัญกว่า

    อานิสงส์การแผ่เมตตา
    ...ผู้ปฏิบัติธรรมนั้น ต้องรู้จักคำว่า แผ่เมตตา คือต้องเข้าใจว่า ความวิเวกวังเวงแห่งการคิดนึกของเราแต่ละบุคคลนั้น มีกระแสแห่งธาตุไฟผสมอยู่ในจิตและวิญญาณกระจายออกไปเ มื่อจิตของเรามีเจตนาบริสุทธิ์ เมื่อจิตของเราเป็นมิตรกับทุกคน เมื่อนั้นเขาก็ย่อมเป็นมิตรกับเรา เสมือนหนึ่งเราให้เขากินอาหาร คนที่กินอาหารนั้นย่อมคิดถึงคุณของเราหรืออีกนัยหนึ่งว่า เราผูกมิตรกับเขาๆก็ย่อมเป็นมิตรกับเรา แม้แต่คนอันธพาล เราแผ่เมตตาจิตให้ทุกๆวัน สักวันหนึ่งเขาก็ต้องเป็นมิตรกับเราจนได้ เมื่อจิตเรามีเจตนาดีต่อดวงวิญญาณทุกๆดวง ดวงวิญญาณทุกๆดวงย่อมรู้กระแสแห่งจิตของเรา เรียกว่ามนุษย์เรานี้มีกระแสธาตุไฟออกจากสังขาร เพราะเป็นพลังแห่งการนั่งสมาธิจิต วิญญาณจะสงบ ธาตุทั้ง 4 นั้น จะเสมอแล้วจะเปล่งเป็นพลังงานออกไป

    ฉะนั้น ผู้ที่นั่งสมาธิปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ จิตแน่วแน่แล้ว โรคที่เป็นอยู่มันจะหายไป ถ้าสังขารนั้นไม่ใช่จะพังเต็มทีแล้ว คือไม่ถึงวาระสิ้นอายุขัย หรือว่าสังขารนั้นร่วงโรยเกินไปแล้ว ก็จะรักษาให้มันกระชุ่มกระชวยได้หรือจะให้มันสบายหาย เป็นปกติดั่งเดิมได้

    ประโยชน์จากการฝึกจิต
    ...ผู้ที่ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน จนมีสมาธิแน่วแน่ เมื่อจิตนิ่งก็รู้ตน เริ่มพิจารณาตน รู้ตนเองได้ ปัญญาก็เกิดขึ้น ปัญญานี้เรียกว่า ปัญญาภายในจากจิตวิญญาณ ซึ่งเราจะใช้ปัญญานี้ได้แน่นอน เมื่อเกิดมีปัญหาขึ้นในชีวิตตลอดระยะเวลาอันยาวนานข้างหน้า

    นี่คือประโยชน์ของการฝึกจิตแล้ว คุณของสมาธิยังเป็นพลังป้องกันไม่ให้เกิดโรคภัย เจ็บป่วยได้ กล่าวคือ การบำเพ็ญจิต จนจิตสงบนิ่งแล้ว ระบบต่างๆทางประสาทจะได้รับการพักผ่อน เป็นการปรับธาตุในกายให้เกิดพลังจิตเข้มแข็ง กายเนื้อก็จะแข็งแรงกระชุ่มกระชวยด้วย โลหิตในร่างกายจะหมุนเวียนสะดวกขึ้น ความตึงเครียดตามร่างกายและประสาทต่างๆ จะผ่อนคลายเป็นปกติ โรคต่างๆจะลดน้อยลงโดยเฉพาะผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดัน โลหิตสูง หายป่วยได้ด้วยการฝึกจิตและเดินจงกรม



    จากหนังสือ เรียน ธรรมะบูชาพระสุปฏิปันโน เล่มของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โตพรหมรังสี
     
  17. TUK2800

    TUK2800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    1,766
    ค่าพลัง:
    +1,161
    [​IMG]อนุโมทนาสาธุด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ
     
  18. DD.

    DD. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    556
    ค่าพลัง:
    +103
    [​IMG] อนุโมทนาสาธุครับ สาธุ สาธุ <!-- / message --><!-- edit note -->
     
  19. คนกันเอง

    คนกันเอง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    7,441
    ค่าพลัง:
    +8,975
    พุทธังอนันตัง ธัมมังจักรวาลัง สังฆัมนิพพานัง ปัจจโยโหนตุ
     
  20. Bacary

    Bacary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,211
    ค่าพลัง:
    +23,196
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="3"><tbody><tr><td>[​IMG]</td><td>ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร.pdf (56.8 KB, 176 views)</td></tr><tr><td>[​IMG]</td><td>อนัตตลักขณสูตร.pdf (54.2 KB, 76 views)</td></tr><tr><td>[​IMG]</td><td>อาทิตตปริยายสูตร.pdf (52.8 KB, 68 views)</td></tr><tr><td>[​IMG]</td><td>มัคควิภังคสูตร.pdf (50.7 KB, 68 views)</td></tr><tr><td>[​IMG]</td><td>สติปัฏฐานปาฐะ.pdf (52.3 KB, 101 views)</td></tr></tbody></table>
    [​IMG] เมตตาพรหมวิหาระภาวนา(พระคาถาเมตตาใหญ่.pdf (327.3 KB, 463 views)



    พร้อมด้วยบทแปล

    [​IMG] อาทิตตปริยายสูตร.pdf (71.5 KB)

    [​IMG] อนัตตลักขณสูตร.pdf (79.1 KB)
     

แชร์หน้านี้

Loading...