พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    รีบๆเลยครับ(ping-love
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จากกระทู้พระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่า
    http://palungjit.org/showthread.php?p=980810#post980810


    <TABLE class=tborder id=post979194 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">เมื่อวานนี้, 12:37 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>uree<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_979194", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:32 AM
    วันที่สมัคร: Feb 2008
    ข้อความ: 5 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 1 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 15 ครั้ง ใน 4 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_979194 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->พระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่า
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->พระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)

    พระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) นายงานผู้สร้างพระนครคีรี
     
  3. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    สุขสันต์วันแห่งความรักครับศิษย์พี่....
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพิมพ์ของวังหน้า
    <O:p</O:p
    พระวังหน้า เริ่มมีการจัดสร้างจากพระบัณฑูรย์ของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (ท่านเป็นพระราชโอรสองค์ต้นของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า) โดยเริ่มมีการจัดสร้างขึ้นครั้งแรก ประมาณปี พ.ศ.2400 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    การจัดสร้างพระของวังหน้านั้น จะมีมวลสารที่นำมาสร้างอยู่หลายอย่าง เช่น ปูนเพชร (ซึ่งนำเข้ามาจากเทือกเขาเมืองอันฮุย ประเทศจีน โดยท่านกรมเจ้าคุณท่า ท่านเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี นามเดิมว่า ท้วม บุนนาค ส่วนกรมเจ้าคุณท่านั้น หน้าที่ราชการของกรมท่า มีหน้าที่ชำระความระหว่างคนไทยกับชาวต่างประเทศ ,รับรองพ่อค้าชาวต่างประเทศ รวมไปถึงการรับรองฑูตานุทูตของต่างประเทศ ,การนำฑูตานุฑูตของไทยไปเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ,การค้าขายกับต่างประเทศ ถ้าเปรียบเทียบในสมัยปัจจุบัน คือกระทรวงการต่างประเทศ) ,ผงอิทธิคุณ (เป็นผงที่เกิดจากการที่พระสงฆ์เขียนบาลี หรือยันต์ต่างๆ ) ซึ่งได้จากวังหน้าเอง หรือสำนักมูลกจายย์ ทั่วพระนคร ,เศษผงทองคำ(ใช้ในการโรยที่หน้าพระพิมพ์ แต่ในบางพิมพ์ก็จะไม่มี) เป็นหลักใหญ่ ส่วนในการผสมผง ตำผงนั้น 1 ครกใช้ระยะเวลา 4 ชั่วโมง จึงจะใช้ได้
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ในการพุทธาภิเษกนั้น เป็นพิธีพุทธาภิเษกหลวง ที่วัดบวรสถานสุทธาวาส (อยู่ในวังหน้า ปัจจุบันสถานที่ของวังหน้า คือม.ธรรมศาสตร์ ,พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร ,วิทยาลัยนาฎศิลป์ ,โรงละครแห่งชาติ) โดยเชิญสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี มาเป็นประธานการปลุกเสก แต่ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ท่านเชิญหลวงปู่เทพโลกอุดร มาปลุกเสกให้ด้วย
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ตัวอย่างของพระวังหน้านั้น เช่น สมเด็จวังหน้า ,สมเด็จกรมเจ้าคุณท่า ,หรืออย่างกรุวัดท้ายตลาด, ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญท่านได้นำพระไปบรรจุกรุที่วัดท้ายตลาด หรือพระหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญท่านนำพระไปถวายให้กับหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ (ท่านอ.ประถม อาจสาคร ท่านบอกว่า ชื่อของหลวงพ่อแก้ว นั้น ท่านชื่อ สุข แต่ที่ผู้คนเรียกท่านว่าหลวงพ่อแก้วนั้น เนื่องจากพระที่ท่านแจก เปรียบกับแก้วสารพัดนึก นั้นเอง)<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    หากท่านใดมีพระวังหน้า ท่านสามารถนำไปพิสูจน์ได้โดยนำพระวังหน้าไปให้พระหรือครูบาอาจารย์ที่ท่านได้วิปัสสนาญาณแล้ว ท่านตรวจดูได้ว่าอิทธิคุณขององค์พระเป็นอย่างไร ใครเป็นผู้เสก ส่วนที่ผมใช้คำว่าอิทธิคุณนั้น ปกติทั่วๆไปจะใช้คำว่าพุทธคุณ แต่ท่านอ.ประถม ท่านบอกว่า คำว่าพุทธคุณ นั้นหมายถึงคุณของพระพุทธเจ้า ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับพระพิมพ์ แต่อย่างใด
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การศึกษาพระพิมพ์ของพระพิมพ์กรุวัดพระแก้ว(ทั้งพระพิมพ์ของวังหน้า,วังหลวงหรือวังหลัง)นั้น ต้องศึกษากันทั้งรูป(เนื้อหาทรงพิมพ์) และนาม(พลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์) ประกอบกันไปทั้งสองอย่าง หากศึกษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ผลที่ได้มานั้น ก็จะมีโอกาสที่จะได้พระปลอมสูงมากๆ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าศึกษาเพียงแต่รูป(เนื้อหาทรงพิมพ์)นั้น บางครั้งบางช่าง(ช่างสิบหมู่หรือช่างราษฎร์)อาจมีโค๊ดของตนเอง ช่างสิบหมู่หรือช่างราษฎร์นั้นก็ไม่ได้มีเพียงคนเดียว การตำผงพระก็เช่นกัน ใช้เวลาการตำผงต่อ 1 ครกนั้น ใช้ระยะเวลา 4 ชั่วโมง แต่บางท่านที่ตำพระ ถ้าตำผงพระใช้ระยะเวลา 3 หรือ 2 ชั่วโมงนั้น เนื้อพระพิมพ์ที่ได้ก็จะแตกต่างกัน
    <O:p</O:p
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  7. teerachaik

    teerachaik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +435
    ผมก้อรู้สึกเห็นใจทั้งสองฝ่าย คุณหนุ่ม หวังดีนำเสนอข้อมูล พระพิมพ์ วังหน้า ให้สาธารณะชน ทราบ กับ ดุณโด่ง ฐานะ web master

    <TABLE class=tborder id=post979241 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_979241", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 08:24 AM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 19,702 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 25,994 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 114,036 ครั้ง ใน 15,708 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 13404 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_979241 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    เมื่อมีผู้ไม่รู้มากล่าว เรา(รู้อยู่)ก็ต้องทำให้แจ้ง เมื่อแจ้งแล้วใครอื่นจะตัดสินเช่นไรก็ช่างเขาแล้วละครับ แม้ในอันที่จริงนั้นควรตัดสิทธิ์ในผู้เริ่มกล่าวว่าก่อนเป็นการระงับแต่เหตุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ช่างเขาครับ

    ใครทำใครได้ แล้วแต่ความคิดเห็นของเขาและแต่ละบุคคล ทำใจเราให้เป็นสุขก็พอแล้ว

    ผมรอคำตอบทางเว็บวัดถ้ำเมืองนะอยู่

    ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น ผมเองนำคำสอนของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ที่ท่านอาจารย์ประถม ท่านบอกผมว่า "อย่าไปยึดมั่นถือมั่น" นำมาสอนตัวเอง ดีที่สุดครับ

    สุดท้าย ผมอาจจะไปแก้ไขโดยลบข้อความในกระทู้ "ประวัติหลวงปู่เทพโลกอุดร" ออกให้หมดครับ

    http://www.watthummuangna.com/board/showthread.php?t=1350
    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
    ____________________________________________________________
    คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน) 12447 11247 11982
    ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร บช.ออมทรัพย์ 2030-06304-5 บัญชี รร.พระปริยัติธรรมบ่อเงินบ่อทอง บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาพนมสารคาม
    ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ
    ประวัติหลวงปู่เทพโลกอุดรประวัติหลวงปู่ เทพโลกอุดร พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

    <!-- / sig --><!-- edit note --><HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย sithiphong : เมื่อวานนี้ เมื่อ 01:00 PM.
    <!-- / edit note --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("979241")</SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right><!-- controls --><TABLE id=table1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=left><!-- Start Post Groan Hack -->[​IMG] <!-- End Post Groan Hack --></TD><TD><!-- Start Post Thank You Hack -->[​IMG] <!-- End Post Thank You Hack -->[​IMG] [​IMG] [​IMG] <!-- / controls --></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- post 979241 popup menu -->
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=thead>sithiphong</TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option>ดูรายละเอียดของ</TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option>ส่งข้อความส่วนตัวถึงคุณ sithiphong</TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option>ค้นหาโพสเพิ่มเติมของ sithiphong</TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option>เพิ่ม sithiphong ในรายชื่อคู่หูของคุณ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- / post 979241 popup menu -->
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปฏิจจสมุปบาท

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักธรรมข้อหนึ่งในพุทธศาสนา อธิบายถึง การเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน,การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกัน จึงเกิดมีขึ้น
    การที่ทุกข์เกิดขึ้นเพราะอาศัยปัจจัยต่อเนื่องกันมา มีองค์หรือหัวข้อ 12 ดังนี้ คือ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปทาน ภพ ชาติ ชรามรณะ
    ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] อนุโลม-ปฏิโลม

    การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
    หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น
    ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชาเป็นปัจจัย
    ดังนี้เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา

    [แก้] ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์

    ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะดับ ชาติ (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่)
    ชาติ จะดับไปได้เพราะดับ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ)
    ภพ จะดับไปได้เพราะดับ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ)
    อุปาทาน จะดับไปได้เพราะดับ ตัณหา (ความอยาก)
    ตัณหา จะดับไปได้เพราะดับ เวทนา (ความรู้สึกในทางทุกข์หรือสุข)
    เวทนา จะดับไปได้เพราะดับ ผัสสะ (การสัมผัสด้วยประสาทต่าง ๆ)
    ผัสสะ จะดับไปได้เพราะดับ อายตนะ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)
    อายตนะ จะดับไปได้เพราะดับ นามรูป (ร่างกายและจิตใจ)
    นามรูป จะดับไปได้เพราะดับ วิญญาณ (การรับรู้ด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)
    วิญญาณ จะดับไปได้เพราะดับ สังขาร (การนึกคิดหรือการทำงานของสมองเพื่อปรุงแต่ง)
    สังขาร จะดับไปได้เพราะดับ อวิชชา (ความโน้มเอียงไปคลุกเคล้ากิเลสด้วยความเขลา)

    [แก้] สมุทยวาร-นิโรธวาร

    การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นการแสดงให้เห็น ความเกิดขึ้นแห่งธรรมต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยสืบทอดกันไปอย่างนี้ เป็น สมุทยวาร คือฝ่ายสมุทัย ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจจ์ข้อที่สอง (สมุทัยสัจจ์) คือ แสดงให้เห็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ปฏิจจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้เรียกว่า อนุโลมปฏิจจสมุปบาท
    (ดังแสดงสองตัวอย่างที่ผ่านไป เป็น อนุโลมเทศนา และ ปฏิโลมเทศนา ของอนุโลมปฏิจจสมุปบาท ตามลำดับ)
    การแสดงตรงกันข้ามกับข้างต้นนี้ เรียกว่า นิโรธวาร คือฝ่ายนิโรธ ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจจ์ข้อที่สาม (นิโรธสัจจ์) เรียกว่า ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท แสดงให้เห็นความดับไปแห่งทุกข์ ด้วยอาศัยความดับไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย สืบทอดกันไป เช่น
    เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับวิญญาณจึงดับ ฯลฯ เพราะชาติ ดับชรามรณะ(จึงดับ) ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส ความคับแค้นใจ ก็ดับ
    ดังนี้เรียกว่า อนุโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท
    ส่วนปฏิโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ก็พึงแสดงย้อนว่า ชรามรณะเป็นต้น ดับเพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ

    [แก้] อิทัปปัจจยตา ธรรมนิยาม ปัจจยาการ

    ปฏิจจสมุปบาทนี้ มีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก ที่สำคัญคือ อิทัปปัจจยตา(ภาวะที่มีอันนี้ๆเป็นปัจจัย) ธรรมนิยาม(ความเป็นไปอันแน่นอนแห่งธรรมดา กฎธรรมชาติ) และปัจจยาการ(อาการที่สิ่งทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่กัน)

    [แก้] ข้อความอ้างอิง

    <SMALL>จาก มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐</SMALL>
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ปฏิจจสมุบาทนี้ลึกซึ้งสุดประมาณ และปรากฏเป็นของลึก ก็แหละถึงจะเป็นเช่นนั้น ก็ยังปรากฏแก่ข้าพระองค์ เหมือนเป็นของตื้นนัก ฯ
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธออย่าพูดอย่างนั้น อานนท์ เธออย่าพูดอย่างนั้นอานนท์ ปฏิจจสมุบาทนี้ ลึกซึ้งสุดประมาณและปรากฏเป็นของลึก ดูกรอานนท์เพราะไม่รู้จริง เพราะไม่แทงตลอด ซึ่งธรรมอันนี้ หมู่สัตว์นี้ จึงเกิดเป็นผู้ยุ่งประดุจด้ายของช่างหูก เกิดเป็นปมประหนึ่งกระจุกด้าย เป็นผู้เกิดมาเหมือนหญ้ามุงกระต่ายและหญ้าปล้อง จึงไม่พ้นอุบาย ทุคติ วินิบาต สงสาร ...
    ดูกรอานนท์เพราะนามรูปเป็นปัจจัยดังนี้แล จึงเกิดวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัยจึงเกิดนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัยจึงเกิดอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงเกิดภพ เพราะภพเป็นปัจจัยจึงเกิดชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงเกิดชรามรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส ฯ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ย่อมมีด้วยประการฉะนี้ ฯ
    <SMALL></SMALL>
    <SMALL>จาก ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖</SMALL>
    ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท
    <SMALL>(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท)</SMALL>
    <SMALL>(ถ้าเขียนทับศัพท์จะได้ว่า -ภิกษุทั้งหลาย ตถตา อวิตถตา อนัญญถตา หลักอิทัปปัจจยตา ดังพรรณนามาฉะนี้แล เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท)</SMALL>

    [แก้] อ้างอิง
    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:39430-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080204031857 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97".
    หมวดหมู่: หลักธรรมในพุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กุมภาพันธ์ 2008
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อริยสัจ 4

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ในทางพุทธศาสนา อริยสัจ 4 เป็นคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการซึ่งเป็นรากฐานของคำสอนพระองค์ทั้งมวล กล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า เป็นความจริง 4 ประการที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยบุคคล ความจริงทั้งสี่ประการนั้นมีดังต่อไปนี้
    1. ทุกขสัจจ์ กล่าวว่า ความทุกข์มีอยู่จริง โดยพระพุทธองค์ตรัสว่า การเกิด ความแก่ชรา ความตาย ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ การพบสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความไม่สมปรารถนา นั้นเป็นทุกข์
    2. สมุทัยสัจจ์ กล่าวว่า ความทุกข์ทั้งหลายนั้นมีสาเหตุ พระพุทธองค์ตรัสว่าสาเหตุของความทุกข์นั้นคือ การไปสมมติว่าธรรมชาติซึ่งที่ไม่จีรังยั่งยืนนั้นมีตัวตน มีแก่นสาร และเที่ยงแท้ ทำให้เกิดตัณหา คือความอยากอันขัดแย้งกับความเป็นจริงที่ว่าทุกสิ่งไม่สามารถให้ความพึงพอใจได้อย่างเที่ยงแท้ เมื่อธรรมชาติไม่เป็นไปตามที่ต้องการก็เกิดความทุกข์
    3. นิโรธสัจจ์ กล่าวว่า ความดับทุกข์นั้นมีอยู่จริง และความดับทุกนั้นคือภาวะที่ไม่มีความยึดติด ไม่มีความอยาก มีปัญญาเข้าใจว่าสิ่งทั้งหลายเป็นทุกข์ และไม่นำยึดว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นตัวเป็นตน อันจะทำให้เป็นสาเหตุแห่งความไม่สบายกายไม่สบายใจ จึงเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งมวล ภาวะนี้เรียกได้อีกอย่างว่านิพพาน
    4. มัคคสัจจ์ กล่าวว่า วิธีปฏิบัติให้บรรลุถึงความดับทุกข์นั้นมีอยู่จริง คือ การรักษาคำพูด การกระทำ การหาเลี้ยงชีพ ความพยายาม สติ สมาธิ ความเห็น และความคิด ให้ถูกต้องดีงามและสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งวิธีการปฏิบัตินี้สรุปได้เป็นหลักคำสอนที่ชื่อว่า มรรค 8 หรือ มรรคมีองค์แปด (ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ)
    [แก้] กิจในอริยสัจ 4

    กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
    1. ปริญญา - ทุกข์ ควรกำหนดรู้ คือการทำความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
    2. ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
    3. สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทำให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
    4. ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนำไปสู่จุดหมายที่ไร้ปัญหา
    กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ
    กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้
    1. สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
      1. นี่คือทุกข์
      2. นี่คือเหตุแห่งทุกข์
      3. นี่คือความดับทุกข์
      4. นี่คือทางแห่งความดัิบทุกข์
    2. กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
      1. ทุกข์ควรรู้
      2. เหตุแห่งทุกข์ควรละ
      3. ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง
      4. ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
    3. กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็จสิ้นแล้ว
      1. ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว
      2. เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
      3. ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
      4. ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
    [แก้] เอกสารอ้างอิง
    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:24119-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080206094607 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88_4".
    หมวดหมู่: อริยสัจ | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา


    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dhammapratarnporn.com/book4/apitum/apitum_7.html

    7. อภิธรรมหมวดที่ 7 คือโพธิปักขิยะสังคหะ
    พระอภิธรรมอย่างย่อทั้ง 9 บท มี 9 อย่างคือ
    คือต้นเหตุ 4 อย่างที่นำจิตให้ไปเกิดภพที่เป็นความทุกข์ คือ นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน และคนมีวิบากกรรมสาหัส เหตุทั้ง 4 คือ (1) อวิชชา (2) กิเลสสังโยชน์ 10 อย่าง (3) ตัณหาความอยาก (4) อุปาทาน
    ทำให้ทำบาปกรรมผิดศีล 5 ข้อ เป็นเหตุให้ไปเกิดในแดนนรก มีความทุกข์ทรมานแสนสาหัส
    โพธิปักขิยะสังคหะ คือ ธรรมะที่เป็นกุศล ปฎิบัติตามแล้วยกระดับจิตให้สะอาดสดใสเบิกบานเป็นอริยบุคคลมีพระนิพพานเป็นจุดหมายเป็นปรมัตถธรรมหรือโลกุตตรธรรม
    โพธิปักขิยะ 37 อย่างเป็นธรรมะที่ยกระดับจิตเป็นพระอริยเจ้าเข้าถึงพระนิพพาน คือ ความสุขยอดเยี่ยมตลอดกาลแบ่งเป็น 7 ข้อ คือ

    (1)มหาสติปัฏฐาน 4 คือ
    (1.1) กายานุปัสสนา จิตดูร่างกายสกปรกมีภาระหนักต้องดูแลรักษาแล้ว กายก็เจ็บทรมานตายเป็นอสุภะซากศพ มีจิตรู้อยู่กับลมหายใจเข้าออกเพื่อทำจิตให้มั่นคงเป็นสมาธิเพื่อเอาชนะกิเลส เอาจิตไม่สนใจร่างกายมีความฉลาดรอบรู้ว่ากายไม่ดีไม่น่าหลงใหล ร่างกายเป็นเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวง
    (1.2) เวทนานุปัสสนา จิตพิจารณาดูความรู้สึกของกายของอารมณ์สุขหรือทุกข์ดูแล้วก็ละทิ้งเวทนาเพราะไม่แน่ไม่นอนไม่ใช่ของจริง
    (1.3) จิตตานุปัสสนา เอาจิตเรานี่ดูอารมณ์ใจในขันธ์ 5 ตนเองว่า อารมณ์ใจคิดดี คิดชั่ว คิดฉลาดหรือไม่ใจฉลาดคือ คิดตามความเป็นจริงว่า ทุกอย่างในโลกสูญสลายไม่ยืนยงตายหมด ถ้าจิตคิดชั่ว ก็ตัดออกไปเลิกคิด ทำจิตให้หลุดพ้นจากขันธ์ทั้ง 5 อารมณ์ใจในขันธ์ 5 นั้นไม่ใช่อันเดียวกับจิต ไม่ควรยึดถือเอาเป็นของเรา ใจอันนี้เป็นส่วนหนึ่งของอายตนะ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ควรปล่อยวางไม่ให้มาวุ่นวายกับจิต
    (1.4) ธัมมานุปัสสนา จิตพิจารณาธรรม เพื่อ
    - ป้องกันมิให้นิวรณ์มารบกวนจิต
    - พิจารณาขันธ์ 5 ไม่ใช่ของจิต
    - อายตนะ 6 มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่ของจิตเป็นเพียงวิญญาณอายตนะ 6
    (2) โพชฌงค์ 7 ทำจิตให้มีโพชฌงค์ 7 อยู่ประจำใจเพื่อช่วยยกระดับจิตเป็นจิตพุทธะ คือ มีสติระลึกไว้ ธัมมวิจยะเลือกไตร่ตรองธรรมะที่ชอบที่ถูก วิริยะ เพียรพยายามระงับกิเลสที่เกิดขึ้นในใจ ปิติอิ่มเอมใจในการทำความดี ปัสสาธิ จิตสงบจากกิเลสตัณหาอุปาทานจิต ไม่วุ่นวายกับขันธ์ 5
    สมาธิ จิตตั้งมั่นในอารมณ์ที่เป็นกุศลฉลาด มีสมาธิในกรรมฐาน 40 หรือมหาสติปัฏฐานสูตร
    อุเบกขา มีจิตวางเฉยในความทุกข์สุขทางโลกเห็นเป็นของธรรมดาหมดความยึดติดในสามโลก
    (3) อริยมรรค 8 อย่าง คือ ทางเดินของจิตเป็นทางเดินเข้าพระนิพพานที่ทำให้เป็นจิตอริยเจ้า พระอริยสาวกมี 8 ขั้น คือ
    1. พระโสดาบันปัตติมรรค
    2. พระโสดาบันปัตติผล
    3. พระสกิทาคามีมรรค
    4. พระสกิทาคามีผล
    5. พระอนาคามีมรรค
    6. พระอนาคามีผล
    7. พระอรหัตตมรรค
    8. พระอรหัตตผล

    ปัญญา = สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกะปะ มีความคิดเห็นถูกต้องในพระนิพพานกับจิต
    ศีล = สัมมาวาจา สัมมากัมมันตา สัมมาอาชีโว พูดดีทำดี เลี้ยงชีพดี
    สมาธิ = สัมมาวายาโม สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ตั้งจิตพยายามตั้งใจมั่นในความดีในกรรมฐาน 40 ในมหาสติปัฏฐานสูตรอย่างใดอย่างหนึ่งดีทั้งนั้น
    (4) พละ 5 มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ทั้ง 5 นี้เป็นพลังที่จะทำให้จิตสะอาดเข้าถึงอริยธรรมได้ง่ายและรวดเร็ว เพื่อความหลุดพ้นคือ พระนิพพาน
    (5) อินทรีย์ 5 อินทรีย์ คือ ความเป็นใหญ่ที่จะทำให้จิตบรรลุเป็นจิตพระอริยเจ้า มี 5 อย่างดังนี้ ศรัทธาอินทรีย์ วิริยอินทรีย์ สติอินทรีย์ สมาธิอินทรีย์ ปัญญาอินทรีย์
    (6) อิทธิบาท 4 คือ ทางปฏิบัติที่จะทำให้สำเร็จเป็นพระอริยเจ้าเข้าพระนิพพานได้ง่าย ๆ รวดเร็ว ปรารถนาอะไรก็ประสบความสำเร็จรวดเร็วได้ง่าย ทั้งทางโลกทางธรรม ทั้งอิทธิฤทธิ์ก็ได้ทุกอย่าง มี 4 อย่างคือ
    ฉันทะ มีความพอใจที่จะประพฤติธรรม
    วิริยะ มีความเพียรไม่ท้อถอยที่จะเอาชนะสังโยชน์ 10
    จิตตะ มีจิตมุ่งมั่นไม่วางวายที่จะสลัดละทิ้งขันธ์ 5 ออกจากจิตเพื่อจิตจะได้พ้นทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด
    วิมังสา ใช้ปัญญาไตร่ตรองว่าทำถูกหรือไม่ตามพระธรรมคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    อิทธิบาท นี้ถ้าทำได้ครบจะปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าก็ได้ จะสำเร็จอภิญญา 6 ก็ได้ จะอธิษฐานอยู่นาน ๆ กี่ปีก็ได้
    (7) สัมมัปปธาน คือมีความขยันหมั่นเพียรที่จะเอาชนะกิเลสมี 4 ประการ คือ (1) เพียรละบาปอกุศลความชั่วในจิต (2) ความเพียรไม่ให้ความชั่วเกิดขึ้น (3) ความเพียรให้มีกุศลธรรมตั้งไว้ในจิต (4) ความเพียรเอากุศลธรรมในจิตที่มีแล้วให้มีมาก ๆ นาน ๆ ตลอดเวลา


    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปริจเฉทที่ ๗ สมุจจยสังคหวิภาค

    http://www.abhidhamonline.org/aphi/p7/025.htm


    ๓. โพธิปักขิยสังคหะ<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>

    โพธิ แปลว่า รู้ มีความหมายถึง รู้การทำให้สิ้นอาสวะ คือรู้ อริยสัจจ ๔ และในโพธิปักขิยสังคหะนี้รวมหมายถึง รู้การทำจิตให้สงบ คือ ถึงฌานด้วย
    <O:p></O:p>
    ปักขิยะ แปลว่า ที่เป็นฝ่าย
    <O:p></O:p>
    โพธิปักขิยธรรม จึงมีความหมายว่า ธรรมที่เป็นฝ่ายให้รู้ถึงฌานและให้รู้ถึง มัคคผล เลยแปลกันสั้น ๆ ว่า ธรรมที่เป็นเครื่องให้ตรัสรู้
    <O:p></O:p>
    โพธิปักขิยสังคหะ
    เป็นการรวบรวมธรรมที่เป็นเครื่องตรัสรู้มาแสดงโดยย่อ ดังนี้
    <O:p></O:p>
    ฉันทะ ๑, จิต ๑, ตัตรมัชฌัตตุเบกขา ๑, สัทธา ๑, ปัสสัทธิ ๑, ปีติ ๑, สัมมาทิฏฐิ ๑, สัมมาสังกัปปะ ๑, สัมมาวายามะ ๑, วิรตี ๓, สัมมาสติ ๑ และ สัมมาสมาธิ ๑ รวมสภาวธรรม (หรือองค์ธรรม) ๑๔ นี้ มีธรรม ๓๗ ประการ ด้วยกัน และรวมได้เป็น ๗ กอง นี่แหละเรียกว่า โพธิปักขิยสังคหะ
    <O:p></O:p>
    มีอธิบายว่า โพธิปักขิยสังคหะนี้ รวบรวมกล่าวถึง โพธิปักขิยธรรม ๗ กอง เป็นธรรม ๓๗ ประการ จึงเรียกว่า โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ในธรรม ๓๗ ประการนี้ เมื่อนับเฉพาะองค์ธรรม (ที่ซ้ำกันไม่นับ) ก็ได้องค์ธรรมหรือสภาวธรรม ๑๔ องค์<O:p></O:p>
    อีกนัยหนึ่งแสดงว่า องค์ธรรมมี ๑๕ โดยแยกปัสสัทธิ ๑ ออกเป็น ๒ คือ<O:p></O:p>
    กายปัสสัทธิ ๑ และ จิตตปัสสัทธิ ๑ เมื่อนับแยกดังนี้จึงเป็น ๑๕

    <O:p>[​IMG]</O:p>
    <O:p>
    โพธิปักขิยสังคหะ ๗ กอง เป็นโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการนั้น ได้แก่<O:p></O:p>
    ๑. สติปัฏฐานมี ๔ ประการ<O:p></O:p>
    ๒. สัมมัปปธานมี ๔ ประการ<O:p></O:p>
    ๓. อิทธิบาทมี ๔ ประการ<O:p></O:p>
    ๔. อินทรียมี ๕ ประการ<O:p></O:p>
    ๕. พละมี ๕ ประการ<O:p></O:p>
    ๖. โพชฌงค์มี ๗ ประการ<O:p></O:p>
    ๗. มัคคมี ๘ ประการ<O:p></O:p>
    <BIG>
    </BIG>
    [​IMG]<SMALL><SMALL>
    </SMALL>จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ<SMALL>
    </SMALL></SMALL>
    </O:p>
    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=952534&posted=1#post952534

    <TABLE class=tborder id=post952534 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">1-2-2551, 09:54 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14368 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]









    ขอเชิญร่วมมหากุศลเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคี
    “มาฆะบูชา”<O:p</O:p
    จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ กอง กองละ ๑๐๐ บาท<O:p</O:p
    ร่วมสร้าง<O:p</O:p
    พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และ ฉัตรประธานเจดีย์<O:p</O:p
    เพื่อประดิษฐาน ณ พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    พุทธบูชา มหาเตโช
    ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
    สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    กำหนดการ<O:p</O:p
    วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑<O:p</O:p
    ตรงกับวันมาฆะบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓<O:p</O:p
    เวลา ๑๐.๐๐ น.ถวายผ้าป่า
    ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายสงฆ์<O:p</O:p
    พระธวัชชัย ชาครธัมโม<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายฆารวาส<O:p</O:p
    ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร<O:p</O:p
    และคณะศิษยานุศิษย์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ตามที่สำนักสงฆ์ผาผึ้ง ร่วมกับคณะพุทธบริษัทได้ดำเนินโครงการจัดสร้าง พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง มานับตั้งแต่ปลายปีพ.ศ.2549 เป็นต้นมานั้น ขณะนี้การก่อสร้างองค์พระเจดีย์ได้ดำเนินการใกล้แล้วเสร็จสมบูรณ์ การดำเนินการในลำดับต่อไปคือการสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” เพื่อประดิษฐานรายรอบพระเจดีย์ รวมทั้งการจัดสร้าง “ฉัตรประธานเจดีย์” และองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อบรรจุไว้ภายในพระเจดีย์ เช่นพระพุทธรูปทองคำ ,พระพุทธรูปเงิน ,เจดีย์หินอ่อน ,เจดีย์ทองคำองค์เล็กเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เป็นต้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    การสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” ถือเป็นพุทธบูชาแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ในภัทรกัปป์นี้ คือ<O:p</O:p
    ๑.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกกุสันโธพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๒.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระโกนาคมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๓.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกัสสปพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๔.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระสมณโคดมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๕.พระศรีอาริยเมตไตรย์พุทธเจ้า<O:p</O:p
    โดยจะจัดสร้างพระพุทธรูปขนาดหน้าตักกว้าง ๓๕ นิ้ว รูปแบบพระเชียงแสน ปางต่างๆ คือ ปางสมาธิ ,ปางประทานพร ,ปางมารวิชัย ,ปางปฐมเทศนา และปางจักรพรรดิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับ”ฉัตรประธานเจดีย์” ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ผู้ชำนาญเฉพาะของกรมศิลปากร จัดสร้างเป็นฉัตร ๙ ชั้น ลงรักปิดทอง ฉลุลายโปร่ง มีลวดลายดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ประดับด้วยแก้วมณีหลากสี ปลายยอดสุดของฉัตรพระเจดีย์ ประดับบัวยอดฉัตรทองคำ ทำด้วยทองคำบริสุทธิ์ ๙๙.๙๙ % อันแสดงถึงตำแหน่งของอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันเป็นการบรรลุธรรมชั้นสูงสุดของพระพุทธศาสนา
    <O:p</O:p
    ขออำนาจอันศักดิ์สิทธิ์แห่งคุณพระศรีรัตนตรัยอันมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกพระองค์ พระอรหันต์เจ้าและครูบาอาจารย์ผู้ทรงพระคุณทั้งหลาย รวมทั้งอนิสงส์ผลบุญที่ท่านได้ร่วมในบุญอันประเสริฐครั้งนี้ ขอเป็นพลปัจจัยส่งผลให้ท่านถึงพร้อมด้วยความเจริญรุ่งเรือง สมบูรณ์พูนผลในมนุษย์สมบัติทุกๆด้าน ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสมประสงค์ในสิ่งที่ปรารถนาไว้ทุกประการจนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพานเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ

    <O:p
    สำหรับงานผ้าป่ามหากุศล ที่สนส.ผาผึ้ง ผมมาแจ้งรายละเอียดพระพิมพ์ที่ผมจะมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 12,000 บาท ได้รับล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนา มีทั้งหมด 10 ชุด คงเหลือ 6 ชุด (ทางพี่แอ๊ว 2 ชุด ,คุณnongnooo 1 ชุด,คุณkaipc 1 ชุด)

    แต่สำหรับท่านที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 40,000 บาท ผมจึงจะมอบล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนาให้ 1 ชุดครับ


    [​IMG]

    ส่วนท่านที่ร่วมทำบุญ 2,000 บาท ผมมอบพระสมเด็จอกครุฑ ให้ 1 องค์ มีทั้งหมด 5 องค์ (ไม่มีรูป) คงเหลือ 3 องค์ (คุณเทพารักษ์ 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 1 องค์)

    แต่ถ้าท่านใดไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 5,000 บาท ผมจึงมอบพระสมเด็จอกครุฑให้ 1 องค์ครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 1,000 บาท ผมมอบพระปิดตาวังหน้าสองหน้า (มีทั้งเนื้อสีขาวและสีดำ) 1 องค์ มีทั้งหมด 20 องค์ (สีละ 10 องค์) คงเหลือ 16 องค์ (คุณตั้งจิต 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 2 องค์,คุณเชน-สีขาว 1 องค์)
    [​IMG]

    พระพิมพ์ที่ผมมอบให้ท่านที่ร่วมทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ นั้น มีความแตกต่างกันกับพระพิมพ์รุ่นเดียวกัน(องค์เดิมและองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม)อย่างสิ้นเชิง โดยผมได้นำพระพิมพ์ของวังหน้า นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกด้วยกัน 3 ครั้ง


    1.ครั้งแรกในเดือน มกราคม 2550
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    2.ครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
    ผมนำพระพิมพ์เข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สองว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2

    พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า
    ลงประวัติและคำบูชา(บทสวด)ด้วยครับ

    กระทู้ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    เริ่มตั้งแต่กระทู้หมายเลข # 3116
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=312
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=313

    และ # 3161
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22445&page=317



    พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2 องค์ผู้อธิษฐานจิต พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า,พระอุปคุตเถระเจ้าและหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตให้ ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม ผมไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ

    3.ครั้งที่สามในเดือน เมษายน (วันเสาร์ที่ 7 เมษายน 2550)
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สาม นี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 3 รุ่นฟ้าลิขิต
    ได้รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุธสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้ (ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตพระพิมพ์เดิม ผมขอสงวนสิทธิ์ไม่แจ้งให้ทราบครับ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ) พลังอิทธิคุณครอบจักรวาล<O:p</O:p
    <O:p</O:pท่านใดที่บูชาไปแล้ว ขอให้แยกเก็บจากพระพิมพ์ทั่วๆไป และเก็บไว้ในที่สูง อีกเรื่องคือให้ระวังการปรามาสให้จงหนัก กรรมเร็วและแรงมากครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  14. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    รวบรวมปัจจัยได้อีกประมาณ 1,400.- บาท

    คาดว่าวันนี้ หรือวันจันทร์ จะโอนให้ครับ

    สาธุครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อวานนี้ พี่สองท่าน ,คุณพุทธันดร ,น้องที่บริษัทคุณพุทธันดร ,พี่แอ๊ว ,น้องชา ,ผม และอีกหลายๆท่าน ได้ร่วมกันถวายพระบรมสารีริกธาตุ(พระเสโทธาตุ) ,พระธาตุพระสาวกหลายๆพระองค์ ,พระธาตุพระปัจเจกพุทธเจ้า ,หนังสือพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุ ,เครื่องใช้ต่างๆ กับพระอาจารย์รูปหนึ่ง รวมทั้งได้ฟังธรรมะจากพระอาจารย์ด้วยครับ

    ขอทุกท่านมาโมทนาบุญร่วมกันครับ

    โมทนาสาธุ
    โมทนาสาธุ
    โมทนาสาธุ
    มหามุทิตาโมทนาสาธุ
    มหามุทิตาโมทนาสาธุ
    มหามุทิตาโมทนาสาธุ

    .
     
  16. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า ....สดจากวัดยานนาวาครับ เป็นพระพิมพ์ที่แตกกรุมากว่า2ปีแล้วนำมาให้ศึกษาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 เมษายน 2008
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม กับ ปัญจานันตริยกรรม
    http://larndham.net/index.php?showtopic=24493&st=0


    <TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD>เนื้อความ : (สวัสดี)</TD><TD>

    </TD><TR><TD colSpan=2>
    พระพุทธเจ้าตรัสถึงกรรมหนัก ซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์ไปเกิดในอบายไว้ โดยทรงลำดับความรุนแรงแห่งการให้ผลไว้ดังนี้ คือ​


    ๑.นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม เป็นกรรมที่รุนแรงที่สุด และให้ผลก่อนกรรมอื่นๆ ทั้งหมด​


    ๒.อนันตริยกรรม ๕ ประการ โดยความรุนแรง รองจาก นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม โดยทรงตรัสว่า ในอนันตริยกรรม ๕ อย่างนี้ เริ่มต้นแต่ สังฆเภทกรรม ซึ่งเป็นกรรมที่หนักที่สุด ,รองมาคือ ทำพระพุทธเจ้าให้ห้อพระโลหิต ,รองมาคือ ฆ่าพระอรหันต์, รองมาคือ ฆ่ามารดา และสุดท้ายคือ ฆ่าบิดา​


    ๓.อัตตวินิบาตกรรม ได้แก่ การฆ่าตัวตาย ซึ่งมีผลรุนแรงมาก รองจาก อนันตริยกรรม​



    กรรมชั่วหรือกรรมไม่ดีหรืออกุศลกรรม​

    หรือการกระทำที่เป็นอกุศลที่จะทำให้ได้รับผลกรรมนั้น (ที่เรียกว่า​

    เสวยผลของกรรม) ทันทีตาย โดยไม่มีกรรมอื่นๆ มาแทรกได้เลย​

    เรียกว่า มิจฉัตตนิยตธรรม​


    มิจฉัตตนิยตธรรม

    คือสิ่งที่เป็นสิ่งไม่ดี การกระทำหรือความคิดที่ไม่ดี เป็นความชั่ว​

    และจะทำให้ผู้กระทำได้รับผลหรือต้องเสวยผลของกรรมนั้นทันที​

    ที่ตายลง (คือ ไปอบาย) โดยไม่มีกรรมไม่ว่าชั่วหรือดีแค่ไหนก็ตาม​

    อย่างอื่น มาคั่นกลางหรือแทรกระหว่างได้เลย​


    มิจฉัตตนิยตธรรม มี ๒ อย่างคือ​

    (๑) นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม

    (๒) ปัญจานันตริยกรรม


    - นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม -​

    นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม มี ๓ อย่างคือ​

    (ก)​

    นัตถิกทิฏฐิ

    คือ การมีความเห็นว่าสัตว์ทั้งหลายที่จะได้รับความดีความชั่ว​

    ที่จะได้มีความสุขหรือความทุกข์ ฯลฯ ในภพข้างหน้านั้น​

    ไม่ได้เป็นผลสืบเนื่องไปจากการกระทำอันเป็นบุญหรือเป็นบาป​

    ของตนเองที่ตนทำไว้ในชีวิตปัจจุบัน​

    (ข)​

    อเหตุกทิฏฐิ

    คือ การมีความเห็นว่าความดี ความชั่ว ความสุข ความทุกข์ ฯลฯ​

    ที่สัตว์ทั้งหลายได้รับอยู่ในชีวิตปัจจุบันนี้ ไม่ได้เป็นผลสืบเนื่อง​

    มาจากการกระทำอันเป็นบุญหรือเป็นบาปของตนเอง​

    ในภพก่อน​

    (ค)​

    อกริยทิฏฐิ

    คือ มีความเห็นว่าการกระทำของสัตว์ทั้งหลาย​

    ถึงแม้ว่าจะทำดีก็ไม่ชื่อว่าเป็นบุญ ถึงแม้กระทำชั่วก็ไม่ชื่อว่าเป็นบาป​

    แต่เชื่อว่าการกระทำไม่ว่าดีหรือไม่ดีก็แค่เป็นไปตามธรรมดา​

    ไม่เชื่อบุญไม่เชื่อบาป​



    -ปัญจานันตริยกรรม -


    ปัญจานันตริยกรรม มี ๕ คือ​


    มาตุฆาต - ฆ่ามารดา​

    ปิตุฆาต - ฆ่าบิดา​

    อรหันตฆาต - ฆ่าพระอรหันต์​

    โลหิตุปบาท - ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนห้อพระโลหิต​

    สังฆเภท - ยุให้พระสงฆ์แตกหมู่แตกคณะกัน​


    อันนี้ ท่านอธิบายว่า อกุศลกรรมทั้ง ๘ ประเภทนี้ (นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม ๓​

    และปัญจานันตริยกรรม ๕) ถ้าหากใครกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งในนี้แล้ว​

    เมื่อสิ้นชีวิตก็จะต้องได้รับผลของกรรมนั้นทันที ถึงแม้ว่าก่อนตายจะสร้าง​

    บุญใหญ่บุญดีเลิศขนาดไหน บุญทั้งหลายเหล่านั้นก็ไม่อาจช่วยให้พ้น​

    ไปจากการต้องรับผลกรรมชั่วเหล่านี้ทันทีที่ตายลงได้เลย​


    ถ้าหากใครได้กระทำกรรมไว้ทั้งสองอย่าง คือทั้งปัญจานันตริยกรรมข้อใด​

    ข้อหนึ่งกับนิยตมิจฉาทิฏฐิกรรมข้อใดข้อหนึ่ง ในชีวิตนั้นแล้ว​

    กรรมจากนิยตมิจฉาทิฏฐิกรรมจะเป็นกรรมที่ส่งให้ได้รับผลทันทีที่ตาย​


    นี่ก็แสดงว่า กรรมจากความเห็นผิดทั้ง ๓ ประการ อันเห็นผิดถาวร เห็นผิด

    อย่างมั่นคง ปักใจอย่างแน่วแน่ ใน ๓ ประการข้างบนนี้ เป็นกรรมหนักที่สุด

    หนักยิ่งกว่าปัญจานันตริยกรรม


    ความเห็นผิด จึงน่ากลัวนัก และนอกจากนี้ เมื่อเห็นผิดแล้ว​

    ก็จะทำให้คิดผิด เชื่อผิด กระทำอะไรต่ออะไรผิดๆ​

    เช่น เมื่อไม่เชื่อบาปบุญก็เลยไม่ทำบุญ ไม่เชื่อบาปก็เลยทำบาปได้​

    ไม่เชื่อกรรมและผลของกรรม ก็จะทำได้ทั้งดีและไม่ดี​

    เพราะว่าไม่เชื่อว่าความดีจะส่งผลเป็นสิ่งทีดี​

    เพราะไม่เชื่อว่าความชั่วจะส่งผลเป็นสิ่งที่ชั่ว​

    ชีวิตก็จะมีแต่ตกต่ำดิ่งลึกลงไปในหุบเหวแห่งความเห็นผิด​

    และการกระทำกรรมไม่ดี ยิ่งๆ ขึ้นไปได้​

    ไกลออกไปทุกทีจากกรรมดี จากเส้นทางแห่งปัญญา​

    และจากการชำระจนให้มีจิตใจที่สะอาดบริสุทธิ์​

    เปี่ยมไปด้วยปัญญา ไกลออกไปยิ่งๆ จากแสงสว่างทางธรรม​

    ไกลออกไปจากการพ้นทุกข์​


    + + + + + + + + + +​


    ตามที่ได้เล่าไว้ว่าโดยหลักการแล้ว​

    หากบุคคลใดละเมิดกรรมทั้งสองอย่าง​

    คือกระทำทั้งนิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม​

    และปัญจานันตริยกรรม ในชีวิตนั้นๆ​

    กรรมที่จะส่งผลก่อนเพราะถือเป็นกรรมหนักกว่า​

    ก็คือกรรมจากนิยตมิจฉาทิฏฐิ​


    สิ่งที่จะมาขอเพิ่มเติมให้ครบถ้วนก็คือ​

    ในกรณีนี้ เมื่อนิยตมิจฉาทิฏฐิกรรมให้ผลไปก่อนแล้ว​

    แต่กรรมที่กระทำอนันตริยกรรม (คือ กระทำ​

    ปัญจานันตริยกรรมข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ)​

    ก็ยังคงอยู่ ไม่ได้หายไปไหน ไม่ได้กลายเป็นอโหสิกรรมไป​

    แต่อย่างใด​

    ตรงกันข้าม อนันตริยกรรมที่ได้กระทำไปนั้นๆ​

    จะรอส่งผลต่อๆ ไปเรื่อยๆ ขณะใดก็ตามที่มีโอกาส​




    แก้ไขโดย สวัสดี เมื่อ 30 ม.ค. 50 - 13:32


    ____________________________________​

    nO n33d tO cOmm!t su!c!de, ​
    just l!ve l!ke a d3ad p3rsOn​
    จากคุณ : สวัสดี [ ตอบ: 30 ม.ค. 50 [​IMG]13:16 ] แนะนำตัวล่าสุด 26 มิ.ย. 50 | สมาชิกลานธรรมถาวร | [​IMG]ตอบ: 1978 | ฝากข้อความ |โฮมเพจ | MSN |Yahoo |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม กับ ปัญจานันตริยกรรม
    http://larndham.net/index.php?showtopic=24493&st=0

    <TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD>ความคิดเห็นที่ 5 : (เฉลิมศักดิ์)</TD><TD></TD><TR><TD colSpan=2>
    เพิ่มเติมจาก หนังสือ อันตรายร้ายแรงที่เกิดจากความเห็นผิด โดยท่านอาจารย์บุญมี เมธางกูร

    ----------------------------------------------------------------
    ในครั้งพุทธกาล มีอาจารย์ที่เรียกว่า "เดียรถีย์" (ผู้ข้ามไม่ถูกท่า) ก็ตกอยู่ในฐานะมีความเห็นผิดทั้ง ๓ ประการนี้ ได้แก่
    อาจารย์อชิตตเกสกัมพล มีความเห็นผิดชนิดที่เป็น นัตถิกทิฏฐิ เห็นว่าการเวียนว่ายตายเกิดไม่มี
    อาจารย์มักขลิโคศาล มีความเห็นผิดชนิดที่เป็น อเหตุกทิฏฐิ เห็นว่าสัตว์ทั้งหลายเป็นไปโดยมิได้อาศัยเหตุ
    อาจารย์ปูรณกัสสป มีความเห็นผิดชนิดที่เป็น อกิริยทิฏฐิ เห็นว่าการกระทำทั้งหลายไม่สำเร็จเป็นบุญหรือเป็นบาปได้
    บุคคลผู้มีความเห็นผิดชั้นอาจารย์ ย่อมมีความเห็นผิดที่หนักแน่นมากที่สุด และบรรดาศิษย์ทั้งหลายก็หนักแน่นมากบ้างน้อยบ้างรองๆ กันลงมา บรรดาอาจารย์และศิษย์ทั้งหลายผู้ไม่เปลี่ยนใจเหล่านี้จะหลีกหนี นรก ไปไม่พ้นอย่างแน่นอนภายหลังจากจุติ คือดับหรือตายโดยไม่มีอะไรมาคั่น
    แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะได้ทรงทรมานอาจารย์เหล่านี้ด้วยวิธีการต่างๆเพื่อจะได้ละ ได้ถอนความเห็นที่แสนร้ายนี้ ออกไปจากจิตใจเสียแต่อาจารย์เหล่านี้ก็รับไม่ได้ ยกเว้นศิษย์ของอาจารย์เหล่านี้บางคนที่มีความเห็นผิดยังไม่เข้าขั้นหนักรุนแรง
    บรรดาบุคคลผู้มีความเห็นผิดดังกล่าวนี้ นอกจากจะไม่มีหนทางเดินไปสู่ความพ้นทุกข์ เพราะขาดปัญญาในปัญหาของชีวิตแล้ว ยังขึ้นๆลงๆ นรก ดังได้กล่าวมาแล้วอีก อาจจะมากครั้งทีเดียว จึงถือว่ามีโทษร้ายยิ่งกว่า อนันตริยกรรม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้ในอังคุตตรพระบาลีว่า
    " ปรมานิ ภิกฺขเว วชฺชานิ" แปลความว่า " ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความเห็นผิดชนิดที่เป็นนิยตมิจฉาทิฏฐินี้มีโทษอันยิ่งใหญ่ที่สุด"

    แม้ว่าอนันตริยกรรมที่หนักที่สุด เช่น ฆ่าพ่อ หรือ ฆ่าแม่ เป็นต้น อนันตริยกรรมจะนำไปเกิดในนรกแล้ว กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีกเป็นต้น ก็คงจะไม่ได้ทำอนันตริยกรรมซ้ำๆอีก แต่ความเห็นผิดนั้นยากนักที่จะเปลี่ยนความคิดให้เป็นเห็นถูกได้ แม้จะเกิดเป็นมนุษย์หรือเกิดเป็นเทวดา ความเห็นผิดก็ยังติดตามตัวไป ดังนั้น จึงขึ้นๆลงๆ นรก ครั้งแล้วครั้งเล่าจึงน่ากลัวอย่างจะสุดพรรณา
    สมัยหนึ่ง พราหมณ์ผู้หนึ่งได้เข้ามาเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วถามปัญหาเรื่องกรรม เรื่องการตายการเกิดเป็นสัตว์ในภพภูมิต่างๆ เช่น เป็นผีสางเทวดาได้ เป็นต้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงหลับพระเนตรเสียไม่ตอบ พราหมณ์ถามอยู่หลายครั้งไม่ได้รับคำตอบ จึงได้หลีกไป พระอานนท์จึงได้ถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า คำถามก็ดีๆทั้งสิ้น เหตุใดพระองค์จึงไม่ตอบเขา พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสว่า อานนท์เธอยังไม่รู้ว่าพราหมณ์ผู้นี้เป็นมิจฉาทิฏฐิ ที่มีกำลังความเห็นผิดเหนียวแน่นมาก ผ่านนรกมาหลายชาติแล้ว ที่เข้ามาถามวันนี้ ก็มิได้ปรารถนาจะมาหาความรู้ หากแต่ต้องการจะมาโต้คารมแสดงความคิดเห็น จะได้ไปโอ้อวดกับคนทั้งหลายว่า ได้มาโต้กับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ต้องการสร้างพยานหลักฐานเพื่อจะให้คนทั้งหลายเชื่อในความคิดเห็นผิดๆ ของตน
    ความเห็นผิดชนิดที่ล่วงอกุศลกรรมบทคือ นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ นั้นมีกำลังของการให้ผลมากจริงๆ ผู้ที่มิได้ศึกษาจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และมิได้มีความคิดพิจารณาในปัญหาของชีวิตให้ลึกซึ้งแล้วจะเข้าถึงความจริงของการให้ผลไม่ได้ เป็นเรื่องที่น่าหวั่นไหวเกรงอันตรายที่ร้ายแรงนี้เหลือเกิน เพราะความเห็นผิดที่ฝังลึกอยู่ในจิตใจ มันจะแสดงออกไปซึ่งความเห็นผิดนั้นอยู่เสมอในแต่ละชาติที่เกิดขึ้นมา ผลร้ายแรงที่จะได้รับจึงได้เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า คือตกนรกบ่อยครั้งจนจะมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้นกับชีวิตแล้วจึงจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลับเป็นตรงกันข้ามได้ เช่น เกิดเป็นมนุษย์แล้ว เพราะความยากจนมากจึงมัวยุ่งแต่การทำมาหากิน หรือเจ็บป่วยมากอยู่เสมอ มัวแต่ยุ่งเรื่องการรักษาพยาบาลตัวเอง หรือมีเรื่องเศร้าหมองเร่าร้อนอยู่ไม่สร่างซาจนไม่มีเวลาที่จะครุ่นคิดถึงปัญหาชีวิตอันลึกซึ้งที่ตนมีความเห็นผิดติดมา และเมื่อได้พบบัณฑิตย์ที่มีความสามารถเสนอความรู้ให้ ทั้งได้เกิดมาหลายชาติมิได้แสดงความเห็นผิดมากมายออกไป และกุศลของตนเพิ่มขึ้นจึงได้มีโอกาสเปลี่ยนความคิดเสียใหม่
    เปรียบเหมือนเสือโคร่งหนุ่มฉกรรจ์ย่อมจะหยิ่งผยองในศักดิ์ศรีของตน เพราะในป่าอันกว้างใหญ่ไพศาลนี้มิได้มีผู้ใดที่จะมีความเก่งกาจหรือมีความสามารถเท่าตนได้ จึงยืนผงาดวาดลวดลายว่าข้านี้เป็นผู้ยิ่งใหญ่ให้สัตว์ทั้งหลายเกรงขาม
    ครั้นในบั้นปลายของชีวิต เมื่อความชราได้เข้ามาเยือนจึงได้มีความรู้สึกสำนึกตัวว่าจะยิ่งใหญ่ต่อไปไม่ได้เสียแล้ว เพราะเขี้ยวอันแหลมคมราวกับเหล็กกล้าภายในปากนั้น บัดนี้ก็ได้หลุดถอน เล็บทุกเล็บอันทรงพลังก็โยกคลอน แม้ร่างกายก็อ่อนแอลงไปแล้วจะจับสัตว์ใหญ่กินได้อย่างไร และจะวิ่งตามสัตว์เล็กก็ไม่ไหว แล้วจะยืนผงาดโอ้อวดความยิ่งใหญ่อยู่ได้หรือ ด้วยเหตุนี้เองเพื่อจะยังชีวิตของตนให้คงอยู่ต่อไป จึงต้องค่อยๆย่องตามเสือหนุ่มสาวกัดกินสัตว์ทิ้งไว้แล้วไปนอนเฝ้าคอยอยู่ตามสุมทุมพุ่มไม้เพื่อจะได้กินในมื้อต่อไป เสือแก่ก็จะย่องเข้ามากินเศษอาหารที่ทิ้งไว้ ถ้าเสือหนุ่มสาวกระโชกเข้ามาขับไล่ ก็ถอยหลบไป ถ้าเสือหนุ่มสาวเผลอหรือนอนหลับ ก็จะย่องเข้าไปแทะกินใหม่ พอให้ชีวิตรอดไปได้วันหนึ่งๆจนกว่าจะตายลงไป


    ____________________________________

    จากคุณ : เฉลิมศักดิ์ [ ตอบ: 03 ก.พ. 50 [​IMG]05:13 ] แนะนำตัวล่าสุด | สมาชิกลานธรรมถาวร | [​IMG]ตอบ: 6528 | ฝากข้อความ | </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?t=80472&page=32

    <TABLE class=tborder id=post967440 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">08-02-2008, 03:12 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #622 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>พิมพาภรณ์<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_967440", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 11:55 AM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 48 ปี
    ข้อความ: 373 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 2,264 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 3,426 ครั้ง ใน 371 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 399 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_967440 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->หลวงพ่อ สอนว่า..

    อย่าทนงตนว่า เป็นผู้วิเศษ คนไหนมีความรู้สึกตัวว่า เป็นผู้ฉลาด บุคคลนั้นก็คือ เป็นคนที่โง่บัดซบ

    พระพุทธเจ้ากล่าวว่า บุคคลใดรู้ตัวว่าเป็นพาล พาลนี่เขาแปลว่าโง่ พระพุทธเจ้ากล่าวว่าบุคคลนั้นเป็นบัณฑิตเพราะเป็นผู้รู้

    คนที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล มันจับความชั่วของตัวไว้เสมอ จ้องดูจิตว่า อารมณ์ชั่วมันจะเกิดเมื่อไร ในเมื่อความชั่วมันจะเกิดขึ้นมาในด้านไหน หาทางตัด นี่บัณฑิตมีความรู้สึกอย่างนี้ ไม่เคยมีความรู้สึกตัวว่า เป็นคนดีมองหาความชั่วของตัวให้พบ เมื่อหาชั่วพบทำลายความชั่วได้แล้ว มันก็ดีเอง นี่จัดว่าเป็นความดีอันดับต้น สำหรับคนที่เข้าถึงพระพุทธศาสนา เพราะเราเรียนกันอันดับสูง นี่เราไม่ได้เรียนเปะๆปะๆตายแล้ว จะไปไหนก็ช่างอันนี้เราไม่ใช้ อย่างเลวที่สุดตายแล้ว เราไปเกิดเป็นเทวดา หรือพรหม และมีชาติเกิดจำกัด 1 ชาติ 3 ชาติ 7 ชาติ เป็นอย่างมาก แล้วไม่ลงอบายภูมิ นี่ศูนย์แห่งการศึกษาเป็นอย่างนี้


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD>[​IMG]</TD><TD> </TD><TD width="100%">palungjit.org > พุทธศาสนา > พระเครื่อง - วัตถุมงคล </TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG] ประวัติของพระสมเด็จกรมท่า วังหน้า-ปัญจศิริ </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder id=post981274 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 11:59 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>uree<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_981274", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 11:59 AM
    วันที่สมัคร: Feb 2008
    ข้อความ: 9 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 1 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 16 ครั้ง ใน 4 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_981274 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->ประวัติของพระสมเด็จกรมท่า วังหน้า-ปัญจศิริ
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->พระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่าffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    เป็นพระพิมพ์สมเด็จ สร้างที่วัดพระแก้ววังหน้าหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวัดบวรสถานสุทธาวาสได้นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่พระอุโบสถประจำวังหน้าซึ่งปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ

    พระพิมพ์ของวังหน้า


    <O:p></O:p>
    พระวังหน้าเริ่มมีการจัดสร้างจากพระบัณฑูรย์ของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (ท่านเป็นพระราชโอรสองค์ต้นของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า)โดยเริ่มมีการจัดสร้างขึ้นครั้งแรก ประมาณปี พ.ศ.2400 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวการจัดสร้างพระของวังหน้านั้น จะมีมวลสารที่นำมาสร้างอยู่หลายอย่างเช่น ปูนเพชร (ซึ่งนำเข้ามาจากเทือกเขาเมืองอันฮุย ประเทศจีน โดยท่านกรมเจ้าคุณท่าท่านเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี นามเดิมว่า ท้วม บุนนาค ส่วนกรมเจ้าคุณท่านั้นหน้าที่ราชการของกรมท่า มีหน้าที่ชำระความระหว่างคนไทยกับชาวต่างประเทศ ,รับรองพ่อค้าชาวต่างประเทศ รวมไปถึงการรับรองฑูตานุทูตของต่างประเทศ ,การนำฑูตานุฑูตของไทยไปเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ,การค้าขายกับต่างประเทศถ้าเปรียบเทียบในสมัยปัจจุบัน คือกระทรวงการต่างประเทศ) ,ผงอิทธิคุณ (เป็นผงที่เกิดจากการที่พระสงฆ์เขียนบาลี หรือยันต์ต่างๆ ) ซึ่งได้จากวังหน้าเองหรือสำนักมูลกจายย์ ทั่วพระนคร ,เศษผงทองคำ(ใช้ในการโรยที่หน้าพระพิมพ์แต่ในบางพิมพ์ก็จะไม่มี) เป็นหลักใหญ่ส่วนในการผสมผง ตำผงนั้น 1 ครกใช้ระยะเวลา 4 ชั่วโมง จึงจะใช้ได้

    <O:p></O:p>

    ในการพุทธาภิเษกนั้น เป็นพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส (อยู่ในวังหน้าปัจจุบันสถานที่ของวังหน้า คือม.ธรรมศาสตร์ ,พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร ,วิทยาลัยนาฎศิลป์ ,โรงละครแห่งชาติ)องค์พระประธานที่วัดบวรสถานสุทธาวาสคือพระพุทธสิหิงค์ โดยเชิญสมเด็จพระพุฒาจารย์โตพรหมรังสี มาเป็นประธานการปลุกเสก แต่ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญท่านเชิญหลวงปู่เทพโลกอุดร มาปลุกเสกให้ด้วย<O:p></O:p>
    ตัวอย่างของพระวังหน้านั้น เช่น สมเด็จวังหน้า ,สมเด็จกรมเจ้าคุณท่า ,หรืออย่างกรุวัดท้ายตลาด, ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญท่านได้นำพระไปบรรจุกรุที่วัดท้ายตลาดหรือพระหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ท่านกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญท่านนำพระไปถวายให้กับหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ (ท่านอ.ประถม อาจสาคร ท่านบอกว่า ชื่อของหลวงพ่อแก้ว นั้น ท่านชื่อ สุขแต่ที่ผู้คนเรียกท่านว่าหลวงพ่อแก้วนั้น เนื่องจากพระที่ท่านแจกเปรียบกับแก้วสารพัดนึก นั้นเอง)<O:p></O:p>
    ที่มาของบทความและเอกสารอ้างอิง
    1.
    วิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จฯและพระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่า
    เจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วมบุญนาค)
    ซึ่งเขียนโดย ท่านปรัศนี ประชากร(เป็นนามปากกาของท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร )
    2.
    ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 13
    3.
    พระราชประวัติวังหน้า
    4.
    ประวัติเจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี(ท้วม บุนนาค) เจ้าคุณกรมท่าฉบับนายนัฐวุฒิ สุทธิสงครามทุกเล่มมีที่หอสมุดแห่งชาติ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว (วังหน้า)<O:p></O:p>
    ...พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว (วังหน้า) ทำพิธีมหาพุทธาภิเษกโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆัง และคณะ (พิธีหลวง) สร้างโดย กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญอุปราชองค์สุท้ายแห่งราชวงค์จักรีร่วมกับ เจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วมบุญนาค) หรือเจ้าคุณกรมท่า เนื่องในวรโรกาสเฉลิมครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช (รัชกาลที่ 5) ปี พ.ศ. 2411...

    ...
    พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว (วังหน้า)สร้างและปลุกเสกขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2412 ช่วงเวลาที่เจ้าประคุณสมเด็จฯจะสิ้นชีพตักษัย 3 ปีแกะแม่แบบโดยช่างสิบหมู่วังหน้าและเสาะแสวงหามวลสารจากต่างประเทศโดยท่านเจ้าคุณกรมท่า การวางแผนและควบคุมการสร้างพระพิมพ์ ตลอดจนพิธีกรรมต่างๆโดยกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส มีเจ้าประคุณสมเด็จฯเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ สถานที่ที่กระทำพุทธาภิเษกวัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) ภายในบริเวณพระราชวังหน้า (ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ)...

    ...
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (วังหน้า) อุปราชองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์จักรี จึงรับสั่งให้พระยานิกรบดินทร์หลวงวิจารณ์เจียรนัย และหลวงสิทธิประสงค์ เป็นต้น ผู้ควบคุมช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง)ประดิษฐ์แม่พิมพ์เพื่อสร้างพระพิมพ์สกุลสมเด็จขึ้นชุดหนึ่งแปลกทั้งสีสันวรรณะและทรงพิมพ์ เนื่องจากได้ผงดินและตัวยาจากเมืองจีนหลายชนิดอาทิเช่น ดินกังไสสีขาวจากมณฑลอันฮุย น้ำยาเคลือบ ออเขียว ชาดจูชา ชาดจอแช ชาดหรดาลชาดหรคุณ ฯลฯ พระพิมพ์ส่วนใหญ่จะโรยทองคำแท้หรืออัญมณีเป็นเอกลักษณ์แห่งโภคทรัพย์ชาวบ้านเรียกพระสมเด็จชนิดนี้ว่า สมเด็จวังหน้าบ้าง สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าบ้างสมเด็จเบญจรงค์บ้าง สมเด็จเจ้าสัวบ้าง สมเด็จเขียวไข่กาบ้าง ตามถนัดส่วนที่บรรจุที่วัดระฆังและในวัดพระแก้ววังหน้า วังหลวง และวังหลังมีการโรยทองคำแท้ กล่าวขนานกันว่าห้างทองตั้งโต๊ะกังเยาวราชและร้านทองบ้านหม้อจัดถวาย (ผงตะไบทองคำ)...

    ...
    พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว (วังหน้า)นั้น สร้างและปลุกเสกจัดขึ้นเป็นพระราชพิธีหลวง ณ วัดบวรสถานสุทธาวาส ช่วงพ.ศ.2411-2414 เพื่อฑูลถวายกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญอุปราชวังหน้าองค์สุดท้ายในรัชกาลที่ 5 และแจกแก่เชื้อพระวงศ์ชั้นผู้ใหญ่เจ้านายชั้นสูง และพ่อค้าวานิชระดับเจ้าสัวอานุภาพพุทธคุณนั้นสูงกว่าสมเด็จวัดระฆัง และสมเด็จบางขุนพรหมเสียด้วยซ้ำไปพิธีมหาพุทธาภิเษก ซึ่งเป็นพระราชพิธีหลวง มีสมเด็จพระพุฒาจารย์โตและบรรดาพระอาจารย์อาคมขลังต่างๆ สมัยรัชกาลที่ 5 อีกมากมายหลายองค์และมีเทพยดาประจำองค์พระมหากษัตริย์เจ้า เช่น พระสยามเทวาธราชพระอินทร์ พระพรหม พระยม พระกาฬ และพระนารายณ์อวตารฯร่วมลงประทับฤทธิ์ด้วย...

    ...
    พระสมเด็จเบญจรงค์นี้มีมากมายหลายสิบพิมพ์ เช่นพิมพ์ใหญ่ พิมพ์ทรงเจดีย์ พิมพ์วัดเกศไชโย พิมพ์จอมจักรพรรดิ พิมพ์จอมใจจักรพรรดิพิมพ์พระพรหมรังสี พิมพ์นางพญา พิมพ์ซุ้มกอ พิมพ์พระรอด พิมพ์พระผงสุพรรณพิมพ์พระแก้วมรกต พิมพ์ลีลา พิมพ์นาคปรก พิมพ์สมาธิเรือนแก้วซุ้มมรัศมีพิมพ์เม็ดกระดุม พิมพ์อรหัง พิมพ์พระสังกัจจาย พิมพ์ปรกโพธิ์ พิมพ์พระปิดตาและพิมพ์พิเศษอื่นๆอีกมากมาย อาจถึง 100 พิมพ์เลยทีเดียวมีทั้งเนื้อกังไสผงดินขาวจากมณฑลอันฮุย แตกลายงา และไม่แตกลายงา โรยทองและไม่โรยทองที่ลงรักโรยทองและรองชาดก็มีสีเบญจรงค์ สีเขียวก้านมะลิสด สีเขียวไข่กา สีแดง (ชาดจูซา) สีดินสอเหลืองผสมชาดหรดาลสีดำ (ผงพระคัมภีร์ใบลานเศาคลุกรัก)สีน้ำทะเลแลไกล สีประจำวันอาทิตย์ถึงวันเสาร์ และสีดำ (ราหู)เป็นต้น...

    ...
    พระสมเด็จ กรุวัดพระแก้วองค์นี้ เป็นพิมพ์พระประธานวรรณะขาวแตกลายงา ประดับพลอยสีฟ้า(วันศุกร์) 12 เม็ด สภาพสวยสมบูรณ์มากๆเนื้อแกร่งจัดมากๆ เนื้อคล้ายหินอ่อน มีคราบกรุความเก่าเห็นเด่นชัด ขนาดองค์พระด้านบนกว้าง 2.2 ซ.ม. ด้านล่างกว้าง 3.2 ซ.ม. สูง 4.8 ซ.ม.ครับ...

    ...
    ประวัติการสร้างพระสมเด็จ วังหน้ากรุวัดพระแก้วลองไปหาอ่านหนังสือ...
    1. “
    บรรณานุกรม ทีเด็ด...พระสมเด็จ ฉบับปฏิรูป ของอาจารย์พน นิลผึ้งดูสิครับรับรองไม่ผิดหวัง เนื้อหาดีมากๆ จะได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องพระสมเด็จอีกเยอะครับ

    2. “
    หนังสือพระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว(วังหน้า) เล่มที่1-2” เล่มนี้มีประวัติการสร้างโดยละเอียดและมีรูปพระสมเด็จ กรุวัดพระแก้ว ให้ชมกันอาจจะไม่มีลงทุกพิมพ์แต่น่าศึกษาหาอ่านมากครับ

    3.”
    หนังสือสมเด็จพระแก้วมรกต ของคุรเทพ สุนทรศารทูล มีรูปพิมพ์แปลกๆหลายพิมพ์ครับ

    4.”
    หนังสือสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ที่ข้าพเจ้ารู้จักตอนนี้มีอยู่ด้วยกัน 7 เล่มครับ น่าศึกษาหาอ่านมากๆครับ สำหรับหนังสือชุดนี้ภาพสีทั้งชุด และพิมพ์พิเศษค่อนข้างมากครับ<O:p></O:p>
    <O:p> ด้วยจิตคารวะ</O:p>
    ไพรพนา
    08-5806-9964
    <!-- / message --><!-- attachments --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    เรื่องบทความที่นำมาลง ขอให้ท่านแจ้งที่มาด้วยนะครับ

    ส่วนเรื่องพระพิมพ์นั้น ผมไม่แสดงความคิดเห็นและไม่ทราบครับ

    ขอบคุณครับ


    .<!-- / message --><!-- sig -->


    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...