ดาวหาง "โฮล์มส" ระเหิดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์แล้ว

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 19 พฤศจิกายน 2007.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,492
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ดาวหาง "โฮล์มส" ระเหิดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์แล้ว</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>18 พฤศจิกายน 2550 20:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> นิวไซแอนทิสต์/เอเยนซี -ดาวหางโฮล์มสระเหิดจนใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางดวงอาทิตย์แล้วและยังคงใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ

    จากการคำนวณโดยนักดาราศาสตร์ของมหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii) พบว่าเมื่อวันที่ 9 พ.ย.ที่ผ่านมาดาวหางโฮล์มส (17P/Holmes) ได้ระเหิดจนมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 ล้านกิโลเมตรซึ่งใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ที่หลายแห่งคำนวณไว้ประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร และระบุว่าการขยายขนาดยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ

    ทั้งนี้นิวเคลียสของดาวหางยังคงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.6 กิโลเมตรแต่ส่วนหัวดาวหางหรือ "โคมา" (coma) ซึ่งเป็นฝุ่นรอบๆ นิวเคลียสได้ขยายใหญ่ขึ้นจนมีขนาดดังกล่าว โดยดาวหางโฮล์มสได้ระเหิดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 ต.ค.ที่มาผ่านมาทำให้เกิดความสว่างและกลายเป็นจุดสนใจแก่นักดาราศาสตร์ทั่วโลก ซึ่งความสว่างของโคมานั้นเป็นการสะท้อนแสงดวงอาทิตย์ของอนุภาคเล็กๆ ที่รวมตัวกันเป็นโคมา

    อย่างไรก็ดีโคมาของดาวหางโฮล์มสไม่ได้ใหญ่ที่สุดเพราะก่อนหน้านี้เมื่อปี 2540 โคมาของดาวหางเฮลล์-บอพพ์ส (Hale-Bopp's) ได้ขยายใหญ่จนมีเส้นผ่านกลาง 2-3 ล้านกิโลเมตร

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพดาวหางโฮล์มส (ซ้าย) ขณะมีเส้นผ่านศูนย์กลางของโคมา 1.4 ล้านกิโลเมตร บันทึกโดยกล้องโทรทรรศน์แคนาดา-เฟรนซ์-ฮาวาย (Canada-France-Hawaii) ของมหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii) ซึ่งจุดสีขาวใกล้จุดศูนย์กลางของดาวหางคือนิวเคลียสของดาวหาง เปรียบกับภาพดวงอาทิตย์ (ขวา) และ ดาวเสาร์ (มุมขวาล่าง) ในอัตราส่วนเดียวกัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพของดาวหางโฮล์มส ด้านซ้ายบันทึกโดยอลัน ไดเออร์ (Alan Dyer) นักดาราศาสตร์สมัครเล่นชาวแคนาดาเมื่อวันที่ 1 พ.ย.ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นโคมาที่ชั้นวงกลมและหางอันเลือนลาง ส่วนภาพขวาเป็นภาพจากกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล (Hubble) ซึ่งเผยให้เห็นภาพคล้ายโบว์หูกระต่าย ที่เกิดจากฝุ่นดาวหางกระจายตัวในแนวตามขวาง (NASA/ESA)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพดาวหางโฮล์มสที่ประจักษ์แก่สายตานักดาราศาสตร์โดยทั่วไป บันทึกโดย เพอร์ซี มุย (Percy Mui) เมื่อวันที่ 27 ต.ค. ณ หอดูดาวคาร์ล จี เอนไนซ์ (Karl G. Henize Observatory) วิทยาลัยฮาร์เปอร์ (Harper College) ในพาลาไทน์ อิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=453 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=453>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพดาวหางโฮล์มสบันทึกโดย แมทธิว ฮินตัน (Matthew Hinton) สหรัฐอเมริกา เมื่อคืนวันที่ 13 พ.ย.ที่ผ่านมาตามเวลาท้องถิ่น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพดาวหางโฮล์มสตรงข้ามกับสีจริงบันทึกด้วยกล้องโทรทรรศน์เพอร์กิน (Perkin) ณหอดูดาวแวน วเลก (Van Vleck Observatory) ของมหาวิทยาลัยเวสเลย์ (Wesleyan University) สหรัฐอเมริกา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวหางโฮล์มสเมื่อวันที่ 28 ต.ค.(ซ้ายล่าง) และวันที่ 1 พ.ย.ที่ผ่านมา (ขวาบน) บันทึกและตกแต่งภาพเพื่อเปรียบเทียบโดย เชน ฟินนิกัน (Shane Finnigan) จากแคนาดา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ตำแหน่งของดาวหางโฮล์มสบนท้องฟ้าในวันต่างๆ เมื่อมองจากพื้นโลก โดย ที ดิกคินสัน (T. Dickinson) ออนทาริโอ แคนาดา </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพดาวหางโฮล์มสบันทึกโดย ดร.ศรันย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) ด้วยกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 นิ้ว เมื่อวันที่ 27 และ 28 ต.ค.ที่ผ่านมา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> คลิกชมภาพดาวหางโฮล์มสเมื่อคราวสว่างเท่าดาวพฤหัส : ภาพจากทั่วโลก "ดาวหางโฮล์มส" ระเหิดใหญ่กว่าดาวพฤหัส

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right height=48>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=baseline><TD vAlign=top width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD class=hit align=left height=19>ข่าวที่เกี่ยวข้อง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>ภาพจากทั่วโลก "ดาวหางโฮล์มส" ระเหิดใหญ่กว่าดาวพฤหัส</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Ref.
    http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000136840
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. kobporn

    kobporn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    279
    ค่าพลัง:
    +782
    แจ่มเลยค่ะ
     
  3. HS4OFL

    HS4OFL เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2007
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +1,382
    สุดยอดดีนะมันไม่ระเบิด
     
  4. Nile

    Nile Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    29
    ค่าพลัง:
    +92
    จะเกิดอะไรขึ้นถ้ามันวิ่งมาชนโลก
     

แชร์หน้านี้

Loading...