โคลนนิ่ง + ดาวน์โหลด..สมอง???โลกจะเป็นงัย???

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย yutkanlaya, 26 ธันวาคม 2007.

  1. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>มทส.โชว์ "แพะโคลนนิง" ใช้เทคนิคสกัดเซลล์ใบหูครั้งแรก </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>6 กรกฎาคม 2550 18:28 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>ดร.ประสาท สืบค้า อธิบการบดี มทส.(ซ้าย) และดร.รังสรรค์ พาลพ่าย (ขวา) อวด "น้องกาย" ลูกแพะโคลนนิงที่กำเนิดจากการโคลนด้วยเซลล์ต้นกำเนิดจากใบหูเป็นรายแรกของโลก </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>นับเป็นพ่อ-แม่-ลูกหรือเปล่า? "น้องกาย" ลูกแพะโคลนนิง ยืนคลอเคลียกํบแพะต้นแบบเพศผู้พันธุ์บอร์ โดยมีแม่อุ้มบุญที่ไม่มีความข้องเกี่ยวทางพันธุกรรมยืนอยู่ข้างๆ </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>"น้องกาย" อายุเดือนกว่ากำลังดูดนมแม่อุ้มบุญอย่างเอร็ดอร่อย</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แม่แพะอุ้มบุญกับน้องกายขณะแรกเกิดมีน้ำหนัก 2 กิโลกรัม</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>มทส.โชว์
     
  2. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เกาหลีย้ำศักยภาพโคลนนิงอีกครั้ง คราวนี้ "แมวเรืองแสง"</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 ธันวาคม 2550 14:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>แมวเรืองแสงที่กำเนิดด้วยการโคลนนิง ในตอนแรกได้ 3 ตัว แต่ตอนนี้เหลือรอดชีวิตเพียง 2 โดยนักวิทยาศาสตร์เกาหลีใต้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ในที่มืดถ้ามีลำแสงอัลตราไวโอเล็ต เหมียวทั้ง 2 ก็จะเรืองแสง หรือโกลว์อินเดอะดาร์ก</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แมวทั้ง 3 เมื่อแรกเกิด</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เอเอฟพี - นักวิทยาศาสตร์เกาหลีใต้สามารถโคลนนิงแมว โดยใช้โปรตีนเรืองแสงตัดต่อเข้าไปในร่างกายเพื่อให้เจ้าเหมียวเรืองแสงในที่มืด ทดลองใช้ยีนบางตัวเข้าไปแสดงผล หวังนำไปสู่การโคลนนิงเลียนแบบโรคพันธุกรรมในมนุษย์เพื่อการรักษา

    ทีมนักวิจัยจากเกาหลีใต้ นำโดยคอง อิล-กึม (Kong Il-keun) ผู้เชี่ยวชาญด้านโคลนนิงแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติกียอองซัง (Gyeongsang National University) สร้างแมวโคลนนิงได้ 3 ตัว โดยแทรกยีนที่ควบคุมการสร้างโปรตีนเรืองแสงสีแดง (red fluorescent protein : RFP) เข้าไปด้วย

    แมวเรืองแสงทั้ง 3 เกิดเมื่อเดือน ม.ค. และ ก.พ.ที่ผ่านมา โดยตัวหนึ่งตายตั้งแต่แรกเกิด เหลือรอดอีก 2 ตัวซึ่งเป็นแมวเทอร์คิส แองโกลา (Turkish Angoras) กำลังเติบโต มีน้ำหนัก 3 และ 3.5 กิโลกรัม

    พอทั้ง 3 ตัวอยู่ในที่มืด และเมื่อมีลำแสงอัลตราไวโอเล็ตตกกระทบน้องเหมียวทั้ง 3 ก็จะเรืองแสง เชื่อว่าเป็นครั้งแรกในโลกที่แมวเรืองแสงได้รับการโคลนนิงจนสำเร็จออกมาเป็นตัว

    ที่สำคัญความสามารถในการจัดการยีนที่สำคัญๆ ให้มีบทบาทมากขึ้นนั้น จะช่วยพัฒนาวิธีการรักษาโรคทางพันธุกรรมต่างๆ ซึ่งนักวิจัยระบุว่า เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะประยุกต์ให้สามารถสร้างสำเนาหรือโคลนสัตว์ให้เจ็บป่วยด้วยโรคเดียวกันกับที่มนุษย์เป็นได้ นับเป็นความก้าวหน้าเพื่อการศึกษา

    "นี่จะช่วยพัฒนาการรักษาด้วยสเต็มเซลล์ (เซลล์ต้นกำเนิด)" คองอธิบายประโยชน์ของการโคลนนิงครั้งนี้ พร้อมทั้งให้ข้อมูลย้ำว่า แมวมีโรคทางพันธุกรรมมากถึง 250 ชนิด และมีผลต่อมนุษย์เช่นกัน

    นอกจากนี้ คองยังแสดงความหวังว่า เทคโนโลยีเดียวกันนี้จะสามารถโคลนสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่าง เสือโคร่ง, เสือดาว หรือแมวป่า

    อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมพันธุวิศวกรรมของเกาหลีใต้อยู่ในภาวะซบเซามานาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากกรณีของ ดร.ฮวาง วู-ซก (Hwang Woo-Suk) ผู้เชี่ยวชาญด้านโคลนนิงสุดยอดของแดนโสมขาว ที่ถูกจับได้ว่าปลอมงานวิจัย ซึ่งตอนนี้เขากำลังอยู่ในขั้นไต่สวนของศาลข้อหาฉ้อโกงและยักยอกงบประมาณของรัฐบาลที่สนับสนุนทุนวิจัยอย่างเต็มที่


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2007
  3. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>UN ชี้ ทั่วโลกต้องเลือกห้ามโคลนนิ่งคน หรือให้สิทธิมนุษย์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2007
  4. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ผู้ให้กำเนิดแกะดอลลีประกาศเลิกใช้ "ไข่มนุษย์" ทำโคลนนิง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 พฤศจิกายน 2550 16:31 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>ศ.เอียน วิลมุต และดอลลีแกะโคลนนิงตัวแรกของโลกซึ่งเสียชีวิตลงแล้ว</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>เจ้า "ดอลลี" แกะเพศหญิงซึ่งถือกำเนิดจากการโคลนด้วยเซลล์เต็มวัย</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>เทคนิคการโคลนนิงตัวอ่อนแบบเก่าที่ดูดนิวเคลียสของไข่ออกมาแล้วใส่นิวเคลียสของเซลล์เต็มวัยร่างกายเข้าไป จะได้สเต็มเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีรหัสพันธุกรรมเหมือนต้นฉบับทุกประการ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เทเลกราฟ/บีบีซีนิวส์ - "เอียน วิลมุต" ผู้ให้กำเนิด "ดอลลี" สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมผ่านการโคลนนิงตัวแรกของโลก ประกาศหันหลังให้การโคลนนิงเซลล์ต้นกำเนิดแบบเดิม ที่ต้องใช้ไข่จากเพศเมียมากมาย สนใจผลงานนักวิจัยญี่ปุ่นที่เปลี่ยนเซลล์ผู้ใหญ่ให้เหมือนเซลล์ตัวอ่อนโดยไม่ต้องใช้ไข่และทำลายตัวอ่อน ทั้งนักวิจัยอังกฤษและสหรัฐร่วมสานต่อการค้นพบครั้งสำคัญ โดยเดินหน้าวิจัยในเซลล์เต็มวัยของมนุษย์

    เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา "ศ.เอียน วิลมุต" (Prof.Ian Wlimut) นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเอดินบะระ (Edinburgh University) สหราชอาณาจักรพร้อมคณะได้กลายเป็นข่าวหน้าหนึ่งหลังจากได้เผยโฉม "ดอลลี" (Dolly) แกะเพศเมียซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ได้จากการโคลนนิงตัวแรกของโลกจนเป็นต้นแบบวิธีการทำสำเนาสัตว์อื่นๆ ตามมานับทศวรรษ

    ทั้งนี้ ด้วยวิธีการดังกล่าวทำให้สร้างเซลล์ต้นกำเนิดหรือสเต็มเซลล์ที่มีศักยภาพจนกลายเป็นเซลล์หรือเนื้อเยื่อใดก็ได้ในร่างกาย และเป็นความหวังรักษาโรคต่างๆ อาทิ โรคเซลล์ประสาทการเคลื่อนไหวผิดปกติหรือเอ็มเอ็นดี (motor neurone disease: MND) และโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Heart Attack) และโรคพาร์กินสัน (Parkinson) เป็นต้น

    แต่ล่าสุดเขากำลังจะหันหลังให้กับวิธีการดังกล่าว แม้ว่าเขาได้รับไฟเขียวจากรัฐบาลอังกฤษก็ตาม โดยวิลมุตให้สัมภาษณ์ผ่านหนังสือพิมพ์เดลีเทเลกราฟของอังกฤษฉบับวันที่ 17 พ.ย.ที่ผ่านมาแสดงความเชื่อมั่นว่างานวิจัยของ ศ.ชินยา ยามานากะ (Shinya Yamanaka) แห่งมหาวิทยาลัยเกียวโต (Kyoto University) ญี่ปุ่น ซึ่งประสบความสำเร็จในการปรับปรุงเซลล์ร่างกายให้มีความยืดหยุ่นเช่นเดียวกับสเต็มเซลล์นั้น จะมีศักยภาพมากกว่าการโคลนนิงแบบเดิมๆ

    แม้ว่าจะเป็นเพียงการทดลองที่ประสบความสำเร็จในหนูเท่านั้น โดยงานวิจัยจากซีกโลกตะวันออกนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ไข่มนุษย์ ไม่ต้องสร้างและทำลายตัวอ่อนมนุษย์ที่ได้จากการโคลนนิง

    "งานวิจัยจากญี่ปุ่นซึ่งใช้เทคนิคในการเปลี่ยนเซลล์ของผู้ป่วยให้กลายเป็นสเต็มเซลล์โดยตรง โดยไม่ต้องใช้เซลล์ตัวอ่อนมีศักยภาพมากกว่า แม้จะเป็นเพียงการทดลองที่ประสบความสำเร้จในหนูเท่านั้น"

    "เมื่อเราต้องตัดสินใจเลือกทางที่จะเดินต่อระหว่างการโคลนนิงหรือการทำตามอย่างงานวิจัยในญี่ปุ่น เราเลือกที่จะทำตามอย่างงานวิจัยในญี่ปุ่น" ศ.วิลมุตกล่าวและเชื่อว่าภายใน 5 ปีเทคนิคใหม่จะได้รับการยอมรับทางด้านจริยธรรม มากกว่าการโคลนนิงตัวอ่อนเพื่อใช้ในการวิจัยทางการแพทย์

    สำหรับแนวทางที่พบใหม่นั้น ศ.ยามานากะได้เปลี่ยนเซลล์ผิวหนังที่โตเต็มวัยของหนู หรือเซลล์ผู้ใหญ่ (adult cell) ให้กลับไปมีสถานะตัวอ่อนอีกครั้ง และยังแสดงให้เห็นว่าเซลล์เต็มวัยดังกล่าวนั้นสามารถเอาชนะผลกระทบจากโรคต่างๆ ได้ ซึ่ง ศ.วิลมุตและนักวิจัยในสหรัฐอเมริกาจะได้นำแนวทางดังกล่าวไปทดลองกับเซลล์มนุษย์โดยหวังว่าจะประสบความสำเร็จในแบบเดียวกัน

    งานวิจัยชิ้นนี้มีความหมายอย่างที่สุด เพราะจะเป็นแนวทางการรักษาโรคซึ่งร่างกายของผู้ป่วยจะไม่ปฏิเสธชิ้นส่วนที่ใส่เข้าไปใหม่ ยกตัวอย่างเช่น การปลูกถ่ายเซลล์กล้ามเนื้อให้กับผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เพื่อซ่อมแซมหัวใจที่เสียหาย หรือการปลูกถ่ายเซลล์สมองให้กับผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่สมองถูกทำลาย เป็นต้น โดยใช้เซลล์จากผู้ป่วยเอง

    ตามทฤษฎีแล้ว สเต็มเซลล์ที่ได้รับการวางลักษณะการทำงานใหม่อีกครั้งเหล่านี้ จะสามารถเปลี่ยนไปเป็นเซลล์อื่นๆ ในร่างกายได้ราว 200 ชนิด แม้ว่าเซลล์ที่เลือกมานั้นจะเป็นเซลล์เนื้อเยื่อหรือเซลล์อวัยวะก็ตาม ซึ่ง ศ.วิลมุตกล่าวว่าเป็น "ความน่าตื่นเต้นและน่าอัศจรรย์อย่างที่สุด" และจะเป็นงานวิจัยสเต็มเซลล์ในอนาคตซึ่งค่อนข้างดีกว่าการเคลื่อนย้ายนิวเคลียสที่ทีมวิจัยขนาดใหญ่ของเขาได้ใช้เวลามากกว่าทศวรรษที่ผ่านมาในสถาบันรอสลิน (Roslin Institute) ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กับเอดินบะระสร้างแกะดอลลี

    เทคนิคการโคลนนิงตัวอ่อนนั้นจะนำนิวเคลียสซึ่งมีดีเอ็นเอ (DNA) หรือรหัสพันธุกรรมจากเซลล์เต็มวัยใส่เข้าไปในไข่ที่ถูกดูดนิวเคลียสออก จากนั้นกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อให้ไข่พัฒนาเป็นตัวอ่อน ซึ่งจะกลายเป็นสเต็มเซลล์ที่มีสามารถพัฒนาไปเป็นเซลล์ใดๆ ได้ง่าย

    เทคนิคใหม่ที่จะเปลี่ยนโฉมให้กับงานวิจัยทางการแพทย์นี้สร้างความยินดีให้กับ โจเซไฟน์ ควินทาแวลล์ (Josephine Quintavalle) โฆษกกลุ่มรณรงค์ด้านจริยธรรมการเจริญพันธุ์ (Comment on Reproductive Ethics) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ต่อต้านการใช้ตัวอ่อนของมนุษย์ โดยเธอได้กล่าวว่าในที่สุดเหล่านักวิทยาศาสตร์ก็เริ่มได้สติ ซึ่งเรื่องดังกล่าวเป็นของขวัญแก่ทุกคน ในที่สุดพวกเขาก็ได้เห็นสามัญสำนึกที่เกิดมาจากการคัดค้าน

    อย่างไรก็ดี ศ.วิลมุตกล่าวว่าเขาและทีมนั้นไม่ได้ตัดสินใจที่จะวิจัยแบบไม่ใช้ไข่ เพราะจริยธรรมที่ดีกว่า สำหรับเขาแล้วเป็นการยอมรับได้ทางจริยธรรมเสมอที่จะคิดว่า หากเราสามารถใช้เซลล์จากตัวอ่อนมนุษย์เพื่อพัฒนาการรักษาสำหรับโรคต่างๆ อย่างโรคเอ็มเอ็นดีซึ่งยังไม่มีหนทางรักษาในปัจจุบันได้ซึ่งนั่นก็เป็นสิ่งที่พึงกระทำได้

    ทางด้าน ดร.รังสรรค์ พาลพ่าย หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีตัวอ่อนและเซลล์ต้นกำเนิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ผู้โคลนนิงวัวและแพะได้สำเร็จ อธิบายหลักการของ ศ.ยามานากะ เพิ่มเติมว่า การนำเซลล์จากผู้ใหญ่มาทำให้มีคุณสมบัติเหมือนสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน (embryonic stem cell) เปรียบเสมือนการทำให้เซลล์นั้นย้อนกลับไปเป็นเซลล์ต้นกำเนิดที่เกิดขึ้นหลังการปฏิสนธิระหว่างไข่กับอสุจิ หรือเกิดจากการโคลนนิงเพื่อให้ได้เป็นตัวอ่อน ซึ่งวิธีการใหม่นี้ต้องอาศัยปัจจัยสำคัญที่ควบคุมการดำรงอยู่ของลักษณะที่เป็นเซลล์ต้นกำเนิด

    "สามารถนำเซลล์ไฟโบรบลาส (fibroblast) ที่มีอยู่มากมายในผิวหนังมาเปลี่ยนให้มีคุณสมบัติเหมือนกับเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนได้ โดยการใส่ยีนที่ควบคุมการสร้างลักษณะต่างๆ ที่แสดงว่าเป็นเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนเข้าไปในเซลล์ไฟโบรบลาส ได้แก่ ยีนออค 3/4 (Oct 3/4), ซ็อก2 (Sox2), ซี-มิค (c-Myc), เคแอลเอส4 (Klf4) และนาน็อก (Nanog) ซึ่งยีนเหล่านี้จะเปลี่ยนเซลล์ไฟโบรบลาสให้กลายเป็นสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน"

    "เรียกสเต็มเซลล์ที่เกิดจากวิธีนี้ว่า อินดิวซ์ พลูริโพเทนท์ สเต็ม เซลล์ หรือไอพีเอสเซลล์ (induced pluripotent stem (iPS) cells)" ดร.รังสรรค์อธิบาย

    ดร.รังสรรค์ กล่าวต่อว่า ยีนเหล่านั้นเป็นยีนที่มีอยู่ในสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน ขณะที่เซลล์อื่นๆ มีน้อยหรือแทบไม่มีเลย และสามารถสังเคราะห์ได้ในห้องปฏิบัติการ และวิธีนี้เป็นวิธีที่ดีในการสร้างสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน เพราะไม่ต้องใช้เซลล์ไข่ในการโคลนนิงให้ได้ตัวอ่อนเพื่อเก็บเกี่ยวสเต็มเซลล์ ซึ่งเป็นการทำลายตัวอ่อนและยังเป็นเรื่องถกเถียงในด้านจริยธรรม

    อีกทั้งวิธีนี้ยังใช้เวลาเพาะเลี้ยงเซลล์เพียงแค่ 10 วันหลังจากใส่ยีนก็ได้สเต็มเซลล์ ขณะที่การโคลนนิงแบบเดิมใช้เวลา 20 วัน ทั้งนี้ ดร.รังสรรค์เองก็ได้เตรียมการศึกษาทดลองการสร้างสเต็มเซลล์ด้วยวิธีของ ศ.ยามานากะ ด้วยเช่นกัน แต่จะทดลองในสัตว์อื่นๆ ที่ไม่ใช่หนู เพื่อศึกษาศักยภาพของกระบวนการและสเต็มเซลล์ที่เกิดขึ้นก่อนที่จะต่อยอดกับเซลล์ผิวหนังของคน

    อย่างไรก็ดี ดร.รังสรรค์ ยังแสดงความเห็นเพิ่มเติมว่า วิธีการนี้เหมาะสำหรับทดแทนการโคลนนิงตัวอ่อนเพื่อสร้างสเต็มเซลล์อย่างยิ่ง เพราะไม่ต้องใช้เซลล์ไข่ แต่ไม่น่าจะใช้เป็นวิธีการโคลนนิงเพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมาได้โดยปราศจากไข่ เนื่องจากไอพีเอสเซลล์ไม่สามารถฝังตัวในมดลูกและสร้างรกได้หากไม่ได้อยู่ในเซลล์ไข่

    (อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงเซลล์ผิวหนังไปเป็นเซลล์ตัวอ่อนที่นักวิจัยญีปุ่นค้นพบนั้น อาจเปรียบเทียบให้เห็นภาพง่ายๆ คือการตัดต่อพันธุกรรมในรูปแบบหนึ่ง โดยการนำยีนที่สเต็มเซลล์ตัวอ่อนจำเป็นต้องมีใส่ไว้ในเซลล์ผู้ใหญ่ที่ต้องการเปลี่ยน จากนั้นก็นำไปเพาะเลี้ยงจนกลายเป็นสเต็มเซลล์ตัวอ่อนตามที่ต้องการ)

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2007
  5. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ยุ่นโคลนนิงหมูรุ่นที่ 4 สำเร็จครั้งแรกในโลก</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>9 สิงหาคม 2550 15:16 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>บรรดาลูกหมูโคลนนิงรุ่นที่ 4 ที่โคลนมาจากหมู่โคลนนิงรุ่นก่อนๆ นับเป็นครั้งแรกของโลกที่มีการโคลนนิงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่สำเร็จหลายต่อหลายรุ่น (ภาพจาก Meiji University)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เอพี/เอเอฟพี
     
  6. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>นักวิจัยเจ๋งจับมือฟาร์มเอกชนโคลนนิงวัวพันธุ์ขาวลำพูนตัวแรกของไทย</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 พฤษภาคม 2550 17:22 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ทีมนักวิจัยและเจ้าของฟาร์มกับ "ขาวมงคล" ลูกวัวพันธุ์ขาวลำพูนที่เกิดจากการโคลนนิ่งตัวแรกในประเทศไทย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ศูนย์ข่าวเชียงใหม่
     
  7. yutkanlaya

    yutkanlaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    865
    ค่าพลัง:
    +4,403
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>อาร์เจนตินาโคลนนิงวัวผลิตน้ำนมที่มีอินซูลิน</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>29 เมษายน 2550 19:23 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>เจ้าหน้าที่ดูแลฟาร์มในกรุงบัวโนสไอเรส (Buenos Aires) อาร์เจนตินา แสดงวัวสายพันธุ์เจอร์ซี 2 ตัวที่ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรมมาก่อนหน้านี้แล้ว ตัวซ้ายชื่อ ปัมปา วิคทอเรีย (Pampa Victoria) อายุ 4 ปี ทางขวาชื่อ ปัมป้า อาร์เจนตินา (Pampa Argentina) อายุ 2 ปี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เอเยนซี
     
  8. appyLuny

    appyLuny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กันยายน 2007
    โพสต์:
    63
    ค่าพลัง:
    +206
    น่าจะมียีนส์ที่กินแล้วสวยมั่งน้ะ
     
  9. pakung

    pakung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,625
    ค่าพลัง:
    +429
    ก็จะเป็นการโคลนนิ่งที่สมบูรณ์แบบอีกขั้นหนึ่งสำหรับมนุษย์ แต่ยังไม่สมบูรณ์ที่สุด เพราะในปัจจุบันโคลนได้แต่ก็ต้องเริ่มต้นใหม่และเจริญเติบโต ตามธรรมชาติ แต่ถ้าเป็นการโคลนนิ่งที่สมบูรณ์แบบก็จะเหมือน copy แล้วก็ paste คือก็อปปี้แล้ววาง นั่นคือถ้าเราก็อปปี้ผู้ใหญ่ก็จะกลายเป็นผู้ใหญ่เหมือนกันทุกอย่าง
     
  10. undeath13

    undeath13 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    1,479
    ค่าพลัง:
    +1,830
    น่าจะเจอยีน ที่ทำให้เป็นสำเร็จอรหันต์ได้น่ะ- -.
     
  11. gugob22

    gugob22 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +179
    ไม่ดีเลย เห็นแล้วน่ากลัว น่ากลัวตรงที่ว่า อีกหน่อยถ้าโคลนนิ่งคนไม่ผิดกฏหมาย ก็จะทำให้เกิดการขายอวัยวะโคลนนิ่ง สมมุติเป็นโรคหัวใจก็ทำการโคลนนิ่ง แล้วผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจใหม่จากตัวโคลนนิ่ง ถึงจะเป็นตัวโคลนนิ่งก็จริงแต่เขาก็มีชีวิต ต้องถูกสร้างขึ้นมาและตายเพื่อสนองความกลัวตายของคนกลุ่มหนึ่ง เพื่อแลกกับเงินจำนวนหนึ่ง
     
  12. undeath13

    undeath13 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    1,479
    ค่าพลัง:
    +1,830
    รู้สึกเค้าจะโคลน แบบไม่มีหัวครับ ไม่มีเส้นประสาท

    มีหน้าที่จำหน่ายอวัยวะ พูดง่ายๆคือ ต้นไม้มนุดอ่ะครับ จะง่ายอวัยวะตั้งแต่สำคัญน้อย แขนขาตัดไป ไล่จนมาสุดท้ายที่หัวใจ อ่ะครับ
     
  13. intah

    intah เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    284
    ค่าพลัง:
    +562
    อยากรุ้มานานแล้วครับว่า

    ถ้าโคลนนิ่งมนุษย์ แล้ววิญญาณ จะเปนไงอ่ะคับ
    กับร่างโคลนนิ่งนั้นอ่ะ
     
  14. pakung

    pakung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,625
    ค่าพลัง:
    +429
    การโคลนนิ่งคืออะไร มันจะเปรียบเทียบกับนิยายวิทยาศาสตร์ในอดีตกับการโคลนนิ่งในปัจจุบัน มันไม่ใช่การโคลนนิ่งที่สมบูรณ์แบบ ตามที่มนุษย์นั้นคิดและต้องการทำ การโคลนเหมือนกับที่ท่านเคยดูในหนังหลายๆเรื่องคือ เป็นอย่างไรก็ได้อย่างนั้น ไม่มีการพัฒนาและเจริญเติบโต
     
  15. thaw7501

    thaw7501 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    34
    ค่าพลัง:
    +101
    ถ้าโคลนนิ่งคนแล้ว ดาวโหลด สมองได้ ก็ดีสิครับ ผมเคยอ่านในการ์ตูน
    โคลน ชุดแรก 100 คน แล้วส่งออกไปเรียนวิชาความรู้ต่างๆ กัน แล้วก็
    ดาวน์โหลดสมอง 100 คน มารวมกัน มาใส่ในโคลนอีก 100 คน แล้วก็
    ส่งไปเรียนวิชา หลายๆ รอบ ก็จะได้คนที่เก่งที่สุด แต่ต้องเป็นคนดีด้วยหละ

    ทีนี้จะได้เจริญกันซักที
     
  16. เด็กโชว์พาว

    เด็กโชว์พาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,081
    ค่าพลัง:
    +470
    แมว 3 ตัวนั้นน่ารักจังอ่ะชอบ
     
  17. O๐.AnGle.๐O

    O๐.AnGle.๐O เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    974
    ค่าพลัง:
    +861
    เราน่าจะโคลนต้นแบบตัวเราไว้

    เอาไว้สำหรับเวลาอวัยวะในร่างกายเราเสื่อม

    เราก็จะได้เอาอวัยวะของตัวโคลนนิ่งของเรามาเปลี่ยนได้

    ทำได้ก็ดี อ่านะ

    อนาคตคงจะมี อาจจะทำให้คนเราเป็นอมตะ ได้ก็ได้นะ

    อาจจะเป็นยาแคปซูน เขียนว่า 3000

    กินแล้วอายุยืน 3000 ปี

    ห้าๆ
     
  18. ongsoffer

    ongsoffer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    247
    ค่าพลัง:
    +484
    แหม น่าจิตนาการดีนะคับ อีกหน่อย คงมีปัญหาใหม่ ว่า ทำกรรมอะไรมาถึงมาเป็นมนุษย์โคลนนิ่ง
     
  19. NyenewZ

    NyenewZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +113
    เคยอ่านเรื่อง Birthday สุขสันต์วันมรณะป๊ะครับ
    อยากให้เป็นอย่างนั้นอ่ะ หุหุ ฝั่งชิพในก้านสมอง โอ๊ยเด๋จ

    แต่เรื่องโคลนนิ่งอ่ะ ไม่ค่อยชอบไงไม่รู้ ท่าทางน่าจะหลอนๆ หุหุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...