เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  2. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ ถึง 1 มี่นาคม พบปริมาณจุดดับเพิ่มขึ้นในระดับสูงสุดในรอบปี และลดลงอย่างฉับพลันหลังจากนั้น และพบปริมาณรังสี X-ray ในระดับ M1 เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่พบการแพร่กระจายของพลาสม่ารอบดวงอาทิตย์ที่ชัดเจนนัก ซึ่งบนโลกที่เปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กับปฏิกริยาดวงอาทิตย์ครั้งนี้ได้แก่

    ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.2 ริตเตอร์ เวลา 9:37 UT ที่ประเทศนิคารากัว
    Earthquake - Magnitude 6.2 - NEAR COAST OF NICARAGUA - 2014 March 02, 09:37:55 UTC
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.6 ริตเตอร์ เวลา 20:11 UT ที่ประเทศญี่ปุ่น
    Earthquake - Magnitude 6.4 - RYUKYU ISLANDS, JAPAN - 2014 March 02, 20:11:22 UTC
    - รายงานพายุหิมะ Titan ก่อตัวขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
    Winter Storm Titan State-By-State Impacts: Storm Dumps Snow, Sleet and Freezing Rain, Pushes East - weather.com Titan Bringing Snow and Ice East

    ท่านที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์นี้ได้ถึงวันที่ 4 มีนาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์
    ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์
    http://spaceweather.com/images2014/...anim.gif?PHPSESSID=a3dp94g2kb46j8br2u79vb1cs6
     
  3. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 4 มีนาคม เวลา 19:36 UT และในวันที่ 5 มีนาคม เวลา 9:24 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้าง โดยมีทิศทางหลักทางด้านหลังไม่ตรงกับโลก ในระหว่างเวลาดังกล่าวดวงอาทิตย์ได้ส่งรังสี X-ray ในระดับ M1 ซึ่งพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในสองช่วงคือภายใน 8 นาที และประมาณ 3-4 วันหลังจากนี้ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานในช่วงหลังจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 8 มีนาคม เวลา 0 UT ผู้ที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 9 มีนาคม ครับ

    เหตุการณ์ทางธรรมชาติบนโลกทีเกิดขึ้นในช่วงนี้แล้วได้แก่ แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ เวลา 9:56 UT บริเวณ Vanuatu Earthquake - Magnitude 6.3 - VANUATU - 2014 March 05, 09:56:59 UTC

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้ายซ้ายมือของภาพ
    http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/05/ahead_20140305_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยมองจากโลก
    CACTUS CME Details
    CACTUS CME Details
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของคลื่นพลังงานบางส่วนจากดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=633985922
     
  4. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 9 มีนาคม เวลา 3:12 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ มากกว่าปกติอีกครั้งทางทิศตะวันตก ตรงข้ามกับโลก และส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ M1 นอกจากนั้นยังพบการขยายตัวของปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ มากเป็นพิเศษ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางเข้ามาในแนว-วงโคจร-ของโลกในวันที่ 13 มีนาคม เวลา 0 UT +/- 10 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 14 มีนาคม ครับ

    สำหรับเหตุการณ์บนโลก ในวันที่ 10 มีนาคม เวลา 5:18 UT เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.9 ริตเตอร์ ใกล้กับชายฝั่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา Earthquake - Magnitude 6.9 - OFFSHORE NORTHERN CALIFORNIA - 2014 March 10, 05:18:13 UTC

    ข้อมูลเพิ่มเติมของเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ครั้งนี้มีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/09/ahead_20140309_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/09/behind_20140309_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ ที่เห็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับ http://spaceweather.com/images2014/10mar14/ar2002_anim.gif?PHPSESSID=fr8k8iatlb67s1qqk7gf4ig4f7
    วันที่ 9 มีนาคม เวลา 3:12 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ มากกว่าปกติอีกครั้งทางทิศตะวันตก ตรงข้ามกับโลก และส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ M1 นอกจากนั้นยังพบการขยายตัวของปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ มากเป็นพิเศษ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางเข้ามาในแนว-วงโคจร-ของโลกในวันที่ 13 มีนาคม เวลา 0 UT +/- 10 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 14 มีนาคม ครับ สำหรับเหตุการณ์บนโลก ในวันที่ 10 มีนาคม เวลา 5:18 UT เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.9 ริตเตอร์ ใกล้กับชายฝั่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา Earthquake - Magnitude 6.9 - OFFSHORE NORTHERN CALIFORNIA - 2014 March 10, 05:18:13 UTC ข้อมูลเพิ่มเติมของเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ครั้งนี้มีดังนี้ - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/09/ahead_20140309_cor2_512.mpg - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/09/behind_20140309_cor2_512.mpg - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ ที่เห็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับ http://spaceweather.com/images2014/10mar14/ar2002_anim.gif?PHPSESSID=fr8k8iatlb67s1qqk7gf4ig4f7
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  7. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 16 มีนาคม เวลา เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างโดยมีทิศทางหลักไปทางทิศใต้ และในทิศตรงข้ามกับโลก แต่มีทิศทางพลังงานบางส่วนมาทางโลก เหตุการณ์ครั้งนี้่ส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C6 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 20 มีนาคม เวลา 6 UT +/- 10 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 21 มีนาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมของเหตุการณ์ครั้งนี้มีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/16/ahead_20140316_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/16/behind_20140316_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงาน-บางส่วน-และ-บางทิศทาง-http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=637616583
    - ภายถ่ายการปะทุที่ผิวดวงอาทิตย์ http://spaceweather.com/images2014/16mar14/filament_anim2.gif?PHPSESSID=37h65pofoco2mrk96l4vb0c505

    ก่อนหน้านี้ในวันที่ 12 มีนาคม เวลา 22:34 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่เช่นกัน โดยพบปริมาณรังสี X-ray ในระดับ M9 มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับอย่างฉับพลันและเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงต่ำสุดในรอบ 2 สัปดาห์ ESA Daily Sun Spot Number

    ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบนโลกในช่วงดังกล่าว แบ่งออกเป็นสองช่วงได้แก่ช่วง 36 ชั่วโมงแรกหลังมีเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ และประมาณ 3-4 วันหลังจากนั้น ซึ่งบนโลกพบการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าปกติ ทั้งทางสภาพอากาศ และใต้พื้นดิน โดยเฉพาะใต้พื้นดินได้แก่

    - 13 มีนาคม เวลา 17:06 UT เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ ที่ประเทศญี่ปุ่น Earthquake - Magnitude 6.3 - KYUSHU, JAPAN - 2014 March 13, 17:06:50 UTC และมีรายงานพายุหิมะก่อตัวทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา March snowstorm blasts Midwest, Northeast

    - 15 มีนาคม เวลา 2:59 UT เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 ริตเตอร์ บริเวณทะุเลอาราเบียน Earthquake - Magnitude 5.1 - OWEN FRACTURE ZONE REGION - 2014 March 15, 02:59:29 UTC
    เวลา 8:59 UT ขนาด 6.1 ริตเตอร์ เกิดแผ่นดินไหวใกล้กับชายฝั่งประเทศเปรู Earthquake - Magnitude 6.2 - NEAR COAST OF CENTRAL PERU - 2014 March 15, 08:59:19 UTC
    เวลา 23:51 UT ขนาด 6.4 ริตเตอร์ ที่ประเทศเปรู Earthquake - Magnitude 6.4 - NEAR COAST OF NORTHERN PERU - 2014 March 15, 23:51:34 UTC
    - 16 มีนาคม รายงานพายุลูกเห็บในประเทศไทย
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  9. joyprueksa

    joyprueksa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +203
    ขออนุญาตประชาสัมพันธ์ หากท่านใดต้องการเตรียมพร้อม อาหารฉุกเฉิน อาหารอวกาศ ซึ่งอาจารย์ปิยะชีพ ส. วัชโรบล ท่านเคยสั่งซื้อมาปริมาณมาก แต่มีผู้สนใจน้อยทำให้เหลืออาหารจำนวนมาก หากท่านใดพอมีทุนทรัพย์ช่วยแบ่งเบาภาระด้วยนะครับ รวมๆ น่าจะประมาณ 4 ล้านกว่า
    ในภาวะคับขัน ชีวิตคนเมือง ผู้ที่จะรอดปลอดภัยต้องไม่อยู่กับที่ ต้องเคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ ดังนั้นเวลาหุงหาหาอาร ย่อมมีแสงไฟ กลิ่น ควัน ล่อให้โจรมาปล้นชิง อาหารอวกาศเบา ๕๐๐ กรัม อยู่ได้ ๔-๘ วัน มีข้อดีคือ
    ๑. เล็ก เบา พกหาสดวก เด็ก ๒-๓ ขวบก็ใส่เป้ติดหลังได้ไม่หนัก
    ๒. เล็ก แต่กินได้นานวัน เดินทางใช้พลังงานมาก็วันละ ๒ แท่ง ๑ ห่อ กินได้ ๔ วัน
    ๓. กินแล้วไม่กระหายน้ำมาก ต้องการน้ำมากแบบอาหารชนิดอื่นๆ ยี่ห้ออื่นๆ
    ๔. กินแล้วไม่ต้องขับถ่ายเพราะอาหารย่อยสลายให้พลังงานไม่มีกาก ไม่เสียเวลาในการเดินทาง เพิ่มความปลอดภัย
    ๕. มุสลิม คนกินเจ กินมัสวิรัติกินได้หมด

    หากท่านสนใจก็สั่งซื้อได้ ห่อละ ๓๘๐ บาท ลังละ ๑๐,๕๐๐ บาท พร้อมค่าส่ง อาหารเหลือแบ่งปั่นได้ ๔๒๐ ลังเท่านั้น หมดแล้วหมดเลยนะครับ
    หากท่านสนใจก็สั่งซื้อได้ ห่อละ ๓๘๐ บาท ลังละ ๑๐,๕๐๐ บาท พร้อมค่าส่ง อาหารเหลือแบ่งปั่นได้ ๔๒๐ ลังเท่านั้น หมดแล้วหมดเลยนะครับ

    สนใจติดต่อสั่งซื้อได้ที่ คุณฝน ๐๘๐ ๐๕๔ ๔๖๐๘
    โอนเงินได้ที่

    ธ.กรุงเทพ สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า
    909-0-36476-2
    ปารณีย์ ตะวิง

    ธ.กรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัสศรีนครินทร์
    980-0-45317-2
    นุชรีย์ ตะวิง

    ถ่ายรูปใบโอน สลิป ส่งเข้า เฟสบุ๊ค Sweetie Wind
    หรือ Line 080054 4608

    (รบกวนคุณ falkman ช่วยประชาสัมพันธ์ด้วยนะครับ)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มีนาคม 2014
  10. ARUNN

    ARUNN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +296
    ฟ้าแยกสี โผล่เมืองคอน ชาวบ้านโจษจัน หวั่นลางร้ายบ้านเมือง

     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791


    [​IMG]
     
  12. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 23 มีนาคม เวลา 8:40 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างโดยมีทิศทางหลักออกไปทางทิศตะวันออก และมีแนวพลังงานบางส่วนที่ตรงกับโลก โดยเหตุการณ์ครั้งนี้่ส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C5 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 26 มีนาคม เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกที่สัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 27 มีนาคม ครับ

    สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่โลกในช่วงนี้ พบแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ ที่ประเทศชิลี เวลา 18:20 UT Earthquake - Magnitude 6.3 - OFFSHORE TARAPACA, CHILE - 2014 March 23, 18:20:04 UTC

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/23/ahead_20140323_cor2_512.mpg
    - วิดิโอมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/23/behind_20140323_cor2_512.mpg
    - วิดิโอมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - วิดิโอภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ http://sdowww.lmsal.com/sdomedia/h2...0225-20140323T0455_AIA_131-193-171_S10E42.mov
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=542815093
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ http://www.cfbw.com/sunspotcount.htm
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • latest.jpg
      latest.jpg
      ขนาดไฟล์:
      796.4 KB
      เปิดดู:
      900
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ประกาศ เซอร์ไพร้....!!! บ่ายวันนี้ในบราซิล ทีมงานนักดาราศาสตร์สากลจะประกาศ การค้นพบความขัดแย้งในระบบสุริยะด้านนอก ตามที่ ESO media advisory "ผลที่ไม่ได้คาดไว้ออกมา และเกิดหลายคำถาม และคาดว่าจะมีการทำให้เกิดการอภิปรายมากกว่านี้" งานแถลงนี้จะเกิดขึ้นที่โปรตุเกส 18:30 CET (15:00 BRT) วันที่ 26 มีนาคม นี้
    ให้จับตาว่าจะมีอะไรเซอร์ไพรท์



    SURPRISE ANNOUNCEMENT?
    Later today in Brazil, an international team of astronomers will announce a controversial discovery in the outer solar system. According to an ESO media advisory, "the unexpected result raises several unanswered questions and is expected to provoke much debate." The press conference, to be held in Portuguese, commences at 18:30 CET (15:00 BRT) on March 26th. Stay tuned for the surprise.


    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  15. มณีจำปา

    มณีจำปา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,423
    ค่าพลัง:
    +9,369

    [​IMG] รอลุ้น SURPRISE ด้วยคนค่ะ คุณ Falkman ถ้ามีข่าวคืบอย่างไร รบกวน คุณ Falkman แจ้งให้ทราบด้วยนะค้า ขอบคุณมากๆ ค่ะ
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    งงเน๊อะ มี surprise announcement ด้วย แปลก :boo:
     
  17. มณีจำปา

    มณีจำปา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,423
    ค่าพลัง:
    +9,369
    น่านจิ คุณ Falkman มานจาเป็นอาไร ที่เราอาจตกใจตกเก้าอี้ป่าวก็ไม่รุ้นะคะ อิอิ [​IMG] รอติดตามค่ะ มณี เพิ่งสอบเสร็จ เลยโล่งหน่อย ไม่ได้เข้ามาซะนาน คุณ Falkman กะเพื่อนๆ พี่ๆ หลายๆ ท่านก็ยังคงทำหน้าที่รายงานสถานการณ์อย่างขยันขันแข็งกันอย่างดีเยี่ยมค่ะ ชื่นชม และเป็นแฟนคลับเสมอๆ คร่า
     
  18. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    First Ring System Around Asteroid
    Chariklo found to have two rings
    26 March 2014


    Click to Enlarge
    Observations at many sites in South America, including ESO’s La Silla Observatory, have made the surprise discovery that the remote asteroid Chariklo is surrounded by two dense and narrow rings. This is the smallest object by far found to have rings and only the fifth body in the Solar System — after the much larger planets Jupiter, Saturn, Uranus and Neptune — to have this feature. The origin of these rings remains a mystery, but they may be the result of a collision that created a disc of debris. The new results are published online in the journal Nature on 26 March 2014.

    The rings of Saturn are one of the most spectacular sights in the sky, and less prominent rings have also been found around the other giant planets. Despite many careful searches, no rings had been found around smaller objects orbiting the Sun in the Solar System. Now observations of the distant minor planet [1] (10199) Chariklo [2] as it passed in front of a star have shown that this object too is surrounded by two fine rings.

    "We weren’t looking for a ring and didn’t think small bodies like Chariklo had them at all, so the discovery — and the amazing amount of detail we saw in the system — came as a complete surprise!" says Felipe Braga-Ribas (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil) who planned the observation campaign and is lead author on the new paper.

    Chariklo is the largest member of a class known as the Centaurs [3] and it orbits between Saturn and Uranus in the outer Solar System. Predictions had shown that it would pass in front of the star UCAC4 248-108672 on 3 June 2013, as seen from South America [4]. Astronomers using telescopes at seven different locations, including the 1.54-metre Danish and TRAPPIST telescopes at ESO’s La Silla Observatory in Chile [5], were able to watch the star apparently vanish for a few seconds as its light was blocked by Chariklo — an occultation [6].

    But they found much more than they were expecting. A few seconds before, and again a few seconds after the main occultation there were two further very short dips in the star’s apparent brightness [7]. Something around Chariklo was blocking the light! By comparing what was seen from different sites the team could reconstruct not only the shape and size of the object itself but also the shape, width, orientation and other properties of the newly discovered rings.

    The team found that the ring system consists of two sharply confined rings only seven and three kilometres wide, separated by a clear gap of nine kilometres — around a small 250-kilometre diameter object orbiting beyond Saturn.

    "For me, it was quite amazing to realise that we were able not only to detect a ring system, but also pinpoint that it consists of two clearly distinct rings," adds Uffe Gråe Jørgensen (Niels Bohr Institute, University of Copenhagen, Denmark), one of the team. "I try to imagine how it would be to stand on the surface of this icy object — small enough that a fast sports car could reach escape velocity and drive off into space — and stare up at a 20-kilometre wide ring system 1000 times closer than the Moon." [8]

    Although many questions remain unanswered, astronomers think that this sort of ring is likely to be formed from debris left over after a collision. It must be confined into the two narrow rings by the presence of small putative satellites.

    "So, as well as the rings, it’s likely that Chariklo has at least one small moon still waiting to be discovered," adds Felipe Braga Ribas.

    The rings may prove to be a phenomenon that might in turn later lead to the formation of a small moon. Such a sequence of events, on a much larger scale, may explain the birth of our own Moon in the early days of the Solar System, as well as the origin of many other satellites around planets and asteroids.

    The leaders of this project are provisionally calling the rings by the nicknames Oiapoque and Chuí, two rivers near the northern and southern extremes of Brazil [9].

    Notes
    [1] All objects that orbit the Sun, which are too small (not massive enough) for their own gravity to pull them into a nearly spherical shape are now defined by the IAU as being small solar system bodies. This class currently includes most of the Solar System asteroids, near-Earth objects (NEOs), Mars and Jupiter Trojan asteroids, most Centaurs, most Trans-Neptunian objects (TNOs), and comets. In informal usage the words asteroid and minor planet are often used to mean the same thing.

    [2] The IAU Minor Planet Center is the nerve centre for the detection of small bodies in the Solar System. The names assigned are in two parts, a number — originally the order of discovery but now the order in which orbits are well-determined — and a name.

    [3] Centaurs are small bodies with unstable orbits in the outer Solar System that cross the orbits of the giant planets. Because their orbits are frequently perturbed they are expected to only remain in such orbits for millions of years. Centaurs are distinct from the much more numerous main belt asteroids between the orbits of Mars and Jupiter and may have come from the Kuiper Belt region. They got their name because — like the mythical centaurs — they share some characteristics of two different things, in this case comets and asteroids. Chariklo itself seems to be more like an asteroid and has not been found to display cometary activity.

    [4] The event was predicted following a systematic search conducted with the MPG/ESO 2.2-metre telescope at ESO’s La Silla Observatory and recently published.

    [5] Besides the Danish 1.54-metre and TRAPPIST telescopes at ESO's La Silla Observatory, event observations were also performed by the following observatories: Universidad Católica Observatory (UCO) Santa Martina operated by the Pontifícia Universidad Católica de Chile (PUC); PROMPT telescopes, owned and operated by the University of North Carolina at Chapel Hill; Pico dos Dias Observatory from the National Laboratory of Astrophysics (OPD/LNA) - Brazil; Southern Astrophysical Research (SOAR) telescope; Caisey Harlingten's 20-inch Planewave telescope, which is part of the Searchlight Observatory Network; R. Sandness's telescope at San Pedro de Atacama Celestial Explorations; Universidade Estadual de Ponta Grossa Observatory; Observatorio Astronomico Los Molinos (OALM) — Uruguay; Observatorio Astronomico, Estacion Astrofisica de Bosque Alegre, Universidad Nacional de Cordoba, Argentina; Polo Astronômico Casimiro Montenegro Filho Observatory and Observatorio El Catalejo, Santa Rosa, La Pampa, Argentina.

    [6] This is the only way to pin down the precise size and shape of such a remote body — Chariklo is only about 250 kilometres in diameter and is more than a billion kilometres from Earth. Even in the best telescopic views such a small and distant object just appears as a faint point of light.

    [7] The rings of Uranus, and the ring arcs around Neptune, were found in a similar way during occultations in 1977 and 1984, respectively. ESO telescopes were also involved with the Neptune ring discovery.

    [8] Strictly speaking the car would have to be rather fast — something like a Bugatti Veyron 16.4 or McLaren F1 — as the escape velocity is around 350 km/hour!

    [9] These names are only for informal use, the official names will be allocated later by the IAU, following pre-established rules.

    More information

    This research was presented in a paper entitled “A ring system detected around the Centaur (10199) Chariklo”, by F. Braga-Ribas et al., to appear online in the journal Nature on 26 March 2014.

    The team is composed of F. Braga-Ribas (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil), B. Sicardy (LESIA, Observatoire de Paris, Paris, France [LESIA]), J. L. Ortiz (Instituto de Astrofísica de Andalucía, Granada, Spain), C. Snodgrass (Max Planck Institute for Solar System Research, Katlenburg-Lindau, Germany), F. Roques (LESIA), R. Vieira- Martins (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil; Observatório do Valongo, Rio de Janeiro, Brazil; Observatoire de Paris, France), J. I. B. Camargo (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil), M. Assafin (Observatório do Valongo/UFRJ, Rio de Janeiro, Brazil), R. Duffard (Instituto de Astrofísica de Andalucía, Granada, Spain), E. Jehin (Institut d’Astrophysique de l’Université de Liege, Liege, Belgium), J. Pollock (Appalachian State University, Boone, North Carolina, USA), R. Leiva (Pontificia Universidad Católica de Chile, Santiago, Chile), M. Emilio (Universidade Estadual de Ponta Grossa, Ponta Grossa, Brazil), D. I. Machado (Polo Astronomico Casimiro Montenegro Filho/FPTI-BR, Foz do Iguaçu, Brazil; Universidade Estadual do Oeste do Paraná (Unioeste), Foz do Iguaçu, Brazil), C. Colazo (Ministerio de Educación de la Provincia de Córdoba, Córdoba, Argentina; Observatorio Astronómico, Universidad Nacional de Córdoba, Córdoba, Argentina), E. Lellouch (LESIA), J. Skottfelt (Niels Bohr Institute, University of Copenhagen, Copenhagen, Denmark; Centre for Star and Planet Formation, Geological Museum, Copenhagen, Denmark), M. Gillon (Institut d’Astrophysique de l’Université de Liege, Liege, Belgium), N. Ligier (LESIA), L. Maquet (LESIA), G. Benedetti-Rossi (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil), A. Ramos Gomes Jr (Observatório do Valongo, Rio de Janeiro, Brazil, P. Kervella (LESIA), H. Monteiro (Instituto de Física e Química, Itajubá, Brazil), R. Sfair (UNESP -– Univ Estadual Paulista, Guaratinguetá, Brazil), M. El Moutamid (LESIA; Observatoire de Paris, Paris, France), G. Tancredi (Observatorio Astronomico Los Molinos, DICYT, MEC, Montevideo, Uruguay; Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay), J. Spagnotto (Observatorio El Catalejo, Santa Rosa, La Pampa, Argentina), A. Maury (San Pedro de Atacama Celestial Explorations, San Pedro de Atacama, Chile), N. Morales (Instituto de Astrofísica de Andalucía, Granada, Spain), R. Gil-Hutton (Complejo Astronomico El Leoncito (CASLEO) and San Juan National University, San Juan, Argentina), S. Roland (Observatorio Astronomico Los Molinos, DICYT, MEC, Montevideo, Uruguay), A. Ceretta (Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay; Observatorio del IPA, Ensenanza Secundaria, Uruguay), S.-h. Gu (National Astronomical Observatories/Yunnan Observatory; Key Laboratory for the Structure and Evolution of Celestial Objects, Chinese Academy of Sciences, Kunming, China), X.-b. Wang (National Astronomical Observatories/Yunnan Observatory; Key Laboratory for the Structure and Evolution of Celestial Objects, Chinese Academy of Sciences, Kunming, China), K. Harpsøe (Niels Bohr Institute, University of Copenhagen, Copenhagen, Denmark; Centre for Star and Planet Formation, Geological Museum, Copenhagen, Denmark), M. Rabus (Pontificia Universidad Católica de Chile, Santiago, Chile; Max Planck Institute for Astronomy, Heidelberg, Germany), J. Manfroid (Institut d’Astrophysique de l’Université de Liege, Liege, Belgium), C. Opitom (Institut d’Astrophysique de l’Université de Liege, Liege, Belgium), L. Vanzi (Pontificia Universidad Católica de Chile, Santiago, Chile), L. Mehret (Universidade Estadual de Ponta Grossa, Ponta Grossa, Brazil), L. Lorenzini (Polo Astronomico Casimiro Montenegro Filho/FPTI-BR, Foz do Iguaçu, Brazil), E. M. Schneiter (Observatorio Astronómico, Universidad Nacional de Córdoba, Córdoba, Argentina; Consejo Nacional de Investigaciones Científicas y Técnicas (CONICET), Argentina; Instituto de Astronomía Teórica y Experimental IATE–CONICET, Córdoba, Argentina; Universidad Nacional de Córdoba, Córdoba, Argentina), R. Melia (Observatorio Astronómico, Universidad Nacional de Córdoba, Córdoba, Argentina), J. Lecacheux (LESIA), F. Colas (Observatoire de Paris, Paris, France), F. Vachier (Observatoire de Paris, Paris, France), T. Widemann (LESIA), L. Almenares (Observatorio Astronomico Los Molinos, DICYT, MEC, Montevideo, Uruguay; Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay), R. G. Sandness (San Pedro de Atacama Celestial Explorations, San Pedro de Atacama, Chile), F. Char (Universidad de Antofagasta, Antofagasta, Chile), V. Perez (Observatorio Astronomico Los Molinos, DICYT, MEC, Montevideo, Uruguay; Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay), P. Lemos (Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay), N. Martinez (Observatorio Astronomico Los Molinos, DICYT, MEC, Montevideo, Uruguay; Dpto. Astronomia, Facultad Ciencias, Uruguay), U. G. Jørgensen (Niels Bohr Institute, University of Copenhagen, Copenhagen, Denmark; Centre for Star and Planet Formation, Geological Museum, Copenhagen, Denmark), M. Dominik (University of St Andrews, St Andrews, United Kingdom) F. Roig (Observatório Nacional/MCTI, Rio de Janeiro, Brazil), D. E. Reichart (University of North Carolina – Chapel Hill, North Carolina [UNC]), A. P. LaCluyze (UNC), J. B. Haislip (UNC), K. M. Ivarsen (UNC), J. P. Moore (UNC), N. R. Frank (UNC) and D. G. Lambas (Observatorio Astronómico, Universidad Nacional de Córdoba, Córdoba, Argentina; Instituto de Astronomía Teórica y Experimental IATE–CONICET, Córdoba, Argentina).

    ESO is the foremost intergovernmental astronomy organisation in Europe and the world’s most productive ground-based astronomical observatory by far. It is supported by 15 countries: Austria, Belgium, Brazil, the Czech Republic, Denmark, France, Finland, Germany, Italy, the Netherlands, Portugal, Spain, Sweden, Switzerland and the United Kingdom. ESO carries out an ambitious programme focused on the design, construction and operation of powerful ground-based observing facilities enabling astronomers to make important scientific discoveries. ESO also plays a leading role in promoting and organising cooperation in astronomical research. ESO operates three unique world-class observing sites in Chile: La Silla, Paranal and Chajnantor. At Paranal, ESO operates the Very Large Telescope, the world’s most advanced visible-light astronomical observatory and two survey telescopes. VISTA works in the infrared and is the world’s largest survey telescope and the VLT Survey Telescope is the largest telescope designed to exclusively survey the skies in visible light. ESO is the European partner of a revolutionary astronomical telescope ALMA, the largest astronomical project in existence. ESO is currently planning the 39-metre European Extremely Large optical/near-infrared Telescope, the E-ELT, which will become “the world’s biggest eye on the sky”.

    Links
    Research paper in Nature
    Photos of the Danish 1.54-metre telescope
    Photos of TRAPPIST
    Contacts
    Felipe Braga-Ribas
    Observatório Nacional/MCTI
    Rio de Janeiro, Brazil
    Tel: +33 (0) 785944776 (until 28.3) and +55 (21) 3504-9252
    Cell: +55 (21) 983803879 (after 28.3)
    Email: ribas@on.br

    Bruno Sicardy
    LESIA, Observatoire de Paris, CNRS
    Paris, France
    Tel: +33 (0) 1 45 07 71 15
    Cell: +33 (0) 6 19 41 26 15
    Email: bruno.sicardy@obspm.fr

    José Luis Ortiz
    Instituto de Astrofísica de Andalucía, CSIC
    Granada, Spain
    Tel: +34 958 121 311
    Email: ortiz@iaa.es

    Richard Hook
    ESO Public Information Officer
    Garching bei München, Germany
    Tel: +49 89 3200 6655
    Cell: +49 151 1537 3591
    Email: rhook@eso.org
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  20. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม เวลา 16:56 UT ถึงวันที่ 29 เวลา 3:40 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติอีกครั้งเป็นมุมกว้างรอบด้าน โดยมีทิศทางหลักไปทางทิศตะวันตก ด้านเดียวกับโลก โดยเหตุการณ์ครั้งนี้ส่งพลังงาน X-ray ออกมาในระดับ M1 และปริมาณจุดดับมีการเปลี่ยนแปลงฉับพลันในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยในรอบ 5 วันไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก จากโมเดลพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 1 เมษายน เวลา 6 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจโปรดดติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 2 เมษายนครับ

    ข้อมูลเพิ่่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ ช่วงที่มีปฏิกริยามากกว่าปกติ
    http://www.solarham.net/pictures/archive/mar28_2014_m2.6.jpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างโดยโลกอยู่ทางด้ายซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/29/ahead_20140329_cor2_512.mpg
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างโดยโลกอยู่ทางด้ายขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/03/29/behind_20140329_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์สู่โลก http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=546904642
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     

แชร์หน้านี้

Loading...