นอนกรน แก้ไขได้

ในห้อง 'จิตวิทยา & สุขภาพ' ตั้งกระทู้โดย Catt Bewer, 11 ตุลาคม 2007.

  1. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center bgColor=#e2e2e2 border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>นอนกรน แก้ไขได้ </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffcc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>เมื่อร่างกายหลับ การหายใจของคนเราจะมีความสม่ำเสมอ

    เพราะกล้ามเนื้อทุกส่วนจะผ่อนคลาย รวมทั้งกล้ามเนื้อหายใจ เมื่อเกิดความผิดปกติของระบบการหายใจนี้จะทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า การนอนกรน ประเภทการนอนกรน

    1.ประเภทไม่เป็นอันตราย คือการนอนกรนธรรมดาที่ทำให้เกิดเสียงรบกวน จะไม่เกิดผลเสียต่อสุขภาพ แต่ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้อยู่ใกล้ กลุ่มนี้มักมีการอุดกั้นทางเดินหายใจเพียงเล็กน้อย

    2.ประเภทที่อันตราย คือการนอนกรนที่มีเสียงไม่สม่ำเสมอกันขณะที่หลับสนิท จะมีเสียงกรนดังสลับกับเบาเป็นช่วงๆ และจะมีช่วงหยุดกรนไประยะหนึ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่หยุดหายใจ

    การตรวจวินิจฉัยการนอนกรน

    1. ตรวจร่างกายอย่างละเอียดทางหู คอ จมูก เพราะสาเหตุอาจอยู่บริเวณดังกล่าว

    2. ตรวจพิเศษในท่านอน โดยส่องตรวจหลอดลมชนิดอ่อนตัวได้บริเวณโพรงจมูก ตำแหน่งเพดานอ่อนและโคนลิ้น

    3. เอกซเรย์ เพื่อหาตำแหน่งที่ตีบแคบของทางเดินหายใจส่วนบน

    4. ตจรวจ Sleep Test (Polysomnography) เป็นการตรวจการหายใจสัมพันธ์กับการทำงานของหัวใจและสมองขณะหลับ

    การป้องกันและการรักษาการนอนกรนของผู้ป่วย

    1. ควบคุมน้ำหนักไม่ให้เกินเกณฑ์ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ

    2. หลีกเลี่ยงการนอนหงาย ให้นอนในท่าตะแคงข้าง และให้ศีรษะสูงเล็กน้อย

    3. หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ หรือยานนอนหลับและยากล่อมประสาทก่อนนอน

    4. กรณีที่เป็นการนอนกรนชนิดอันตรายที่มีการหยุดหายใจร่วมด้วย ให้รักษาโดย

     
  2. กัลย์

    กัลย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +543
    อนุโมทนาค่ะ ถ้าเป็นประเภทที่2รักษาโดยใช้พลังจิตหายมั๊ยค่ะถ้าผ่าตัดน่าจะเจ็บ
     
  3. อักขรสัญจร

    อักขรสัญจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    4,514
    ค่าพลัง:
    +27,181
    คุณกัลย์กรนดังเลยเหรอฮะ
     
  4. Khaning

    Khaning เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2007
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +197
    คนรู้จักไปทำ Radiofrequency บอกว่าโดนฉีดยาชาที่โคนลิ้นเจ็บมาก กลับบ้านแล้วกินอะไรไม่ได้เลยนอกจากไอติมกับน้ำผลไม้จืดๆ เย็นๆ อยู่สามวัน จากนั้นก็กลับไปกินข้าวหน้าเป็ดได้ค่ะ แต่วิธีนี้ต้องทำติดต่อกันสามครั้งถึงจะหาย
     
  5. อักขรสัญจร

    อักขรสัญจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    4,514
    ค่าพลัง:
    +27,181
    น่ากัวอะ
    ปล่อยมันกรนไปดีก่า
     
  6. ha801

    ha801 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +928
    เคยมีคนรู้จัก นอนท่าไหนก็กรนได้ แปลกแฮะ เลยไม่รู้จะพลิกยังไง ดี

    คิดไม่ออกเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...