ดาวหาง Elenin / Nibiru (planet X) - Elenin - Events

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. superothello

    superothello เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    84
    ค่าพลัง:
    +292
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=VPNEHyPcEko&feature=player_embedded]9-15-2012 Red Planet X Nibiru Destroyer Best Shots Yet !!! - YouTube[/ame]
     
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    ASTRONOMY


    NASA Finds Planet Orbiting Binary Star System

    It's not just science fiction. NASA's Kepler Space Telescope has found evidence of multiple planets orbiting a binary star system.

    By DANIEL CRAY / PASADENA | August 29, 2012 |

    IMAGE COURTESY OF NASA/JPL-CALTECH/T. PYLE

    [​IMG]

    An artist's depiction of the Kepler-47 system. Kepler-47c is the large planet on the left; Kepler 47-b appears as the small blue crescent to the right of the two stars

    Dark matter and Big Bangs may not be easy to visualize, but planets orbiting twin stars is something many of us have envisioned from the moment the London Symphony Orchestra accompanied Luke Skywalker’s wistful gaze at Tatooine’s binary suns. The one hitch: it was pure imagination. (Sorry, Star Wars fans.) Until recently, astronomers had little evidence suggesting such ornate cosmic architectures could actually exist in this galaxy, if not one far, far away.

    Now new research into a tantalizing binary star system may trump an entire generation’s collective imagination. Using information collected by NASA’s Kepler Space Telescope, astronomers have discovered the equivalent of a cosmic poker hand: a pair of planets orbiting a pair of suns. And there’s even a chance for a full house since the researchers have also found another object that, while still unconfirmed, may turn out to be a third planet orbiting the same two stars.

    “This shows us that close binaries can host full-fledged planetary systems,” says Jerome Orosz, an astronomer at San Diego State University and the lead author of a paper on the new binary star system, labeled Kepler-47, that was just published in the journal Science. “If we get more data that confirms a third planet, then the sky’s the limit.”


    (MORE: The Great, Exploding Monty Python Star)

    Until now, astronomers were aware of about a dozen examples of single planets that are gravitationally tied to “eclipsing binary” stars—stars orbiting each other, with one occasionally blocking the other’s light when viewed from Earth. In addition, there are another four recently discovered cases where single planets are orbiting “close binaries,” meaning stars that are no more than a few of our sun’s diameter apart—equivalent to the neighboring cubicle in the galactic office. But Kepler-47 marks the first time astronomers have found evidence that more than one world can orbit the same close binary star system.

    “There are lots of binary stars with planets, but the stars are widely separated,” says Orosz. “Imagine the sun and then a companion star where Pluto is, or even farther out. In cases like that, it’s basically as if the other star’s not there.” With Kepler-47, the two stars are just nine solar diameters away from one another and the so-called “circumbinary planets” are very much there. The inner planet is three times Earth’s diameter, yet orbits the two stars—one roughly the size of the Earth’s sun and a companion about one-third that size—in just 49.5 days. The outer planet, likely a gas giant, is 4.6 times the size of Earth—about the same size as Uranus—but circles the two stars every 303 days. In effect, both planets are close enough to circle two stars in less time than it takes Earth to circle one.

    Orosz and his colleagues discovered the planets using Kepler, an orbiting observatory with an ultra-sensitive photometer designed to detect Earth-sized planets. (The photometer converts incoming starlight into electrons, and measures the accumulated charge of those electrons to produce high-resolution data for planet searches.) The effort was part of an ongoing, systematic search for circumbinary planets among more than 1,000 of 2,100 known binary stars. For all the high-tech hardware, the search method is quite simple. When a planet orbits a star, the orientation of its orbit can be at any angle. In some lucky instances, like the case of Kepler-47, that orbit is edge-on with Earth. The serendipitous result: the planet passes directly between the star and the Kepler’s view, creating a tiny dip in starlight for a brief period of time. “It’s like a fly walking across the headlight of your car,” says Orosz. “We’re talking fractions of a percent in change.”

    (MORE: Still More Robot Company for Mars)

    The orbiting telescope’s photometer is able to detect that change. At Kepler-47, the research team found that the small star eclipsed the large star every 7.45 days. They then noticed two other objects were also eclipsing the large star and realized they were seeing planets. In a span of nearly three years they detected the outer planet three times, the inner planet 18 times and the mysterious third object once—which is why they can’t yet confirm that it wasn’t merely random debris passing through the system. By recording the amount of time between eclipses the scientists were eventually able to calculate the planets’ bumpy, “quasi-elliptical” orbits.

    But a wobbly ride takes nothing away from the larger planet’s intriguing location within the two stars’ so-called “habitable zone,” where liquid water and Earth-like climate conditions are theoretically possible. “If you were to stand on that planet, the amount of sunlight is very much like you would get here on Earth, 86 to 90%,” Orosz says. “So an Earth-like planet in that orbit would have the necessary conditions for liquid water and the temperature wouldn’t be too cold or too hot.” While neither of Kepler-47’s planets are Earth-like, both could easily have moons which the Kepler telescope isn’t able to detect. “Everybody’s got a moon, even the asteroids,” Orosz says. “If these planets have no moons, it would be shocking.”

    Still, astronomers say you’ll want to think twice before visiting any of Kepler-47’s circumbinary planets or moons since the gravitational tug-of-war from two vastly different stars probably makes for an unstable ride. Viewed from afar, however, they’re just perfect—and a rare, cinema-free chance to let the imagination and the science intertwine.

    MORE: Neil Armstrong, First Man on the Moon, Dies at 82

    Related Topics: astronomy, binary star, kepler, planet, space, Star Wars, Astronomy


    NASA Finds Planets Orbiting Binary Star System with Kepler Telescope | Science and Space | TIME.com


    .
     
  3. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
  4. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902

    อย่าลืมไปทำบุญกันเยอะๆนะคะ โดยเฉพาะในช่วงวันที่๑-๑๕ตุลาคม๒๕๕๕

    ญาติๆของทุกท่านต้องรอคอยบุญกุศลที่ท่านจะส่งไปให้
    เป็นโอกาสดีที่ท่านจะได้ช่วยดวงวิญยาณทุกข์รวมทั้งดจ้ากรรมนายเวรที่เรามองไม่เห็นกัน
    ให้ได้พ้นทุกข์ทรมานเสียเสีย

    อนุโมทนาด้วยล่วงหน้านะเจ้าคะ
    (^^)
     
  5. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    คุณzzคะ

    รบกวนช่วยแปลเป็นภาษาไทยหรือกล่าวโดยสรุปให้หน่อยได้ไหมคะ

    คือภาษาอังกฤษเราอ่อนมากค่ะ

    ^^
     
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649

    ขออภัยครับ

    เอาแบบย่อๆ...นะครับ

    1. อุกกาบาต DA-14 หรือหลุดจากดาพฤหัส ...กำลังจะเฉียดโลกแบบใกล้้มากๆ ...ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของมันประมาณ 40 กิโลเมตร...และเกรงว่าจะถูกโลกดูดเข้ามาที่ผิวโลก

    ซึ่งอุกกาบาต DA-14 จะเข้ามาในวันที่ 15 กพ. 2556...NASA กำลังหาทางเบี่ยงเบนวงโคจรของมันครับ


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/S7YTmS6U8WM?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    2. มีการค้นพบ Binary Star (ดาวที่มีวงโคจรร่วมกัน...ระหว่างระบบสองระบบ)...ซึ่งเป้นการยอมรับว่า Binary Star นั้นมีอยู่จริงๆ (ไม่ได้เป็นแค่ทฤษฏีอีกต่อไป)


    Nibiru ที่เราสนใจก็เป็น Binary Star ดวงหนึ่ง....ส่วนดวงที่ค้นพบนี้จะเป็น Nibiru หรือไม่...ยังไม่มีอะไรยืนยัน....ครับ

    [​IMG]


    3. ข่าวจากพระอาจารย์รัตน์...ท่านแจ้งว่า...ดาวถ่วงดุลย์จะเริ่มปรากฏให้เห็นในวันที่ 25 กันยายน 2555 นี้...ก็ลองช่วยกันสังเกตุนะครับ


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กันยายน 2012
  7. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    สดร. เผย พบ 2 ดาวเคราะห์น้อยเข้าใกล้โลก ยันไม่มีผลกระทบเตือนประชาชนอย่าตกใจ




    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยว่า มีการพบดาวเคราะห์น้อยหรืออุกกาบาตจำนวน 2 ดวง เข้าใกล้โลก ได้แก่ ดาวเคราะห์น้อย 2011 AG5 และ ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14

    ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ กล่าวว่า ในช่วงนี้คนหันมาให้ความสำคัญกับปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์กันมากขึ้น เนื่องจากกระแสข่าวเรื่อง 2012 ทำให้ประชาชนหวั่นวิตกว่าจะมีอุกกาบาตมาชนโลก สถาบันฯ จึงต้องออกมาให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชนเกี่ยวกับเรื่องนี้

    สำหรับดาวเคราะห์น้อยทั้ง 2 ได้แก่ ดาวเคราะห์น้อย 2011 AG5 และ ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14


    ดาวเคราะห์น้อย 2011 AG5 ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่งจากนักดาราศาสตร์จากทั่วโลกเป็นอย่างมาก เนื่องจากว่าวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยมีการพาดผ่านวงโคจรของโลก และจากการคำนวณจากข้อมูลพื้นฐานทำให้ทราบว่าดาวเคราะห์น้อย 2011 AG5 ดังกล่าวมีโอกาสที่จะโคจรเฉียดโลกในอีก 28 ปีข้างหน้า หรือในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2583 โดยดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบด้วยกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง ชนิด Cassegrain ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 เมตร ที่ยอดเขาเมาท์เลมมอน (Mount Lemmon) อริโซนา สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2554 นับเป็น 1 ในดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด 8,744 ดวง ที่นักดาราศาสตร์ค้นพบแล้วในปัจจุบัน โดยมีขนาดประมาณ 140 เมตร มีมวลโดยประมาณ 4,000 ล้านกิโลกรัม มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 1.71 ปี และมีวงโคจรพาดผ่านจากแถบดาวเคราะห์น้อย พาดผ่านดาวอังคาร และพาดผ่านวงโคจรของโลก




    [​IMG]


    ภาพแสดงตำแหน่งและวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย 2011 AG5 ซึ่งพาดผ่านวงโคจรของดาวอังคาร และวงโคจรของโลก

    ตำแหน่งและวงโคจรดังกล่าวบันทึกเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555





    ความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์น้อยดังกล่าวมีสิทธิที่จะพุ่งชนโลกว่ามีเพียง 1 ใน 625 เท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นระดับที่ปลอดภัยและในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 คือปีหน้า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะโคจรมาอยู่ในระยะที่สามารถศึกษารายละเอียดได้อีกครั้งหนึ่ง (มีระยะห่างจากโลก 147 ล้านกิโลเมตร) นักดาราศาสตร์ก็จะทำการเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์วงโคจรและความเป็นไปได้ของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใหม่และในอนาคตดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะมีการโคจรเข้าใกล้โลกที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 มีระยะห่างจากโลก 1.6 ล้านกิโลเมตรเท่านั้น

    สำหรับดาวเคราะห์น้อยอีกดวงที่จะเข้ามาใกล้โลก ได้แก่ ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ถูกค้นพบโดยหอดูดาวลาซากรา (Lasagra) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศสเปน ดาวเคราะห์น้อยดังกล่าว มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 45 เมตรโดยประมาณ ซึ่งจะโคจรเฉียดโลกในระยะ 27,000 กม.(3.5 เท่าของรัศมีโลก) ระดับการโคจรระดับนี้จะมีค่าใกล้เคียงกับระดับการโคจรของดาวเทียมจำนวนมากอาจจะสร้างความเสียหายต่อดาวเทียมของโลกได้


    [​IMG]




    ภาพแสดงตำแหน่งและวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 (Asteroid 2012 DA14)

    คาดว่าจะเคลื่อนที่พาดผ่านวงโคจรของโลก ประมาณวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556





    สำหรับดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะเข้าใกล้โลกในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และจะแค่เคลื่อนที่เฉียดโลกเท่านั้น ไม่ได้พุ่งเข้าชนโลกแต่อย่างใด ดาวเคราะห์น้อยจะเคลื่อนที่พาดผ่านเข้ามาทางตอนเหนือของโลกเวลาประมาณ 02.26 น. ตามเวลาในประเทศไทย และจะอยู่ในเงาของโลกประมาณ 18 นาที การสังเกตดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ด้วยตาเปล่านั้นถือเป็นเรื่องยากมากเพราะดาวเคราะห์ดวงนี้มีความสว่างน้อย ซึ่งถือว่าน้อยมากจะต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ในครั้งนี้ ดร.ศรัณย์ กล่าว

    ดร.ศรัณย์ ได้กล่าวสรุปท้ายสุดว่า อย่างไรตามดาวเคราะห์น้อง 2 ดวง นี้จะเข้ามาเฉียดใกล้โลกเท่านั้นแต่จะไม่มีอิทธิพลอะไรกับโลกแต่อย่างใด เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้า และนักดาราศาสตร์จากทั่วโลกก็ได้มีการศึกษาวิจัยเรื่องเหล่านี้ เพื่อที่จะหาแนวทาง และวิธีป้องกันที่จะไม่ให้สิ่งเหล่านี้พุ่งชนโลกอย่างแน่นอน ตรงกันข้ามเราควรจะศึกษาและรู้เท่าทันเรื่องเหล่านี้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้มีความตระหนักและตื่นตัวอยู่เสมอ แทนที่จะมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องและเกิดความวิตกกังวลไปต่างๆ นานา












    ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)

    โทร. 053-225569 ต่อ 210 หรือ 081-8854353

    E-Mail: pr@narit.or.th

    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

    Facebook: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

    Twiiter: @N_Earth

    • สดร. เผย พบ 2 ดาวเคราะห์น้อยเข้าใกล้โลก ยันไม่มีผลกระทบเตือนประชาชนอย่าตกใจ


    .
     
  8. bluejet

    bluejet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +2,181
    ภาพถ่ายจากออสเตรเลียเมื่อเดือนที่แล้วครับ คนโพสต์เขาไม่รู้ว่าอะไร แปลกๆ ตีความกันเอง (วีดิโอ เสียงเบาไปหน่อย)

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=3YBfTg4TpRU]Nibiru? Ufo? I dunno... but its HUGE! - YouTube[/ame]
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คนโพสต์ไม่มีข้อมูล สถานที่ เวลา ทิศทาง เลยไม่รู้จะหาข้อมูลต่อยังไง
     
  10. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    ขอบคุณ คุณ ZZ มากมายค่ะ

    คาดว่าข่าวดังกล่าว น่าจะเอามากลบและเบี่ยงเบนความสนใจของชาวโลก
    ให้หันเหออกจาก นิบิรุ มากฝ่า

    ขยะอวกาศมีการแจ้งให้ทราบ แต่ มีระบบดาวทั้งระบบกำลังใก้เข้ามา กลับ "เงียบ"

    หึๆๆๆๆ
     
  11. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    อะไร คือ Namesis

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/72mdxdUg9to?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/o3vgqIGc030?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/qQjUuZKLb8E?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/VuSJPIo3SBo?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 กันยายน 2012
  12. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/RK8HVjEUE5Q?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    เลนส์แฟร์ อีกรึเป่า ?
     
  13. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    at 19-Sep-2012 ( เมื่อวาน)

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/fZQuGFTwWec?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  14. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    second sun
    6-sep-2012

    <iframe width="480" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/AyfNzH2qaKo?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ภาพชุดนี้ ถ่ายตั้งแต่เมื่อวานแล้ว คิดไปคิดมา เลยเอามาแชร์ให้เพื่อนๆดูก็ดี
    เพราะเผื่อว่ามีคนอื่นถ่าย Pxได้ เดี๋ยวไม่มีใครมาดูรูปเรา :mad:

    ผมใช้ iPhone4 ถ่ายผ่าน Red filter R1+Polarizer filter ช่วงเวลาบ่าย 3 กว่าๆ
    ถ่ายประมาณ 60 ภาพ ดูแล้วซ้ำๆกัน เลยเลือกมาแค่ 6 ภาพ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คุณ nantnapas ครับ
    เลนส์แฟร์ คือ 2 ดวงที่ส่ายไปมาอยู่ด้านหน้าครับ
    ส่วนจุดขาวข้างดวงอาทิตย์ ผมคิดว่าเป็นเงาสะท้อนของแสงบนกระจกที่ถ่ายผ่านออกไปจากในห้องครับ ถ้าดูวีดีโอก่อนอันนี้ (คนเดียวกัน) จะเห็นการเต้นของจุดขาวอย่างเห็นได้ชัดเจน เมื่อมีเสียงขยับอะไรสักอย่างในห้อง
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    อันนี้เป็นดวงจันทร์ครับ


    Free Stellarium Download. Stellarium 0.11.4.
     
  18. superothello

    superothello เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    84
    ค่าพลัง:
    +292
    ดูเล่นๆ

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=cTFzZSKIScs&feature=relmfu]Milky Way - Andromeda Collision - YouTube[/ame]
     
  19. superothello

    superothello เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    84
    ค่าพลัง:
    +292
    สถานที่ Dnepropetrovsk, Ukraine
    21 กย เวลาประมาณ 11.00 UTC.

    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=OoEMsYFiTIk"]video 2012 09 21 13 58 04 - YouTube[/ame]

    ใช้เทคนิคบังแสง
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ยังกะหนังจีนกำลังภายใน มีดบิน vs มีดบิน :cool:

    หลังจาก merge กันแล้ว น่าจะได้ชื่อว่า Milky Andromeda :cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...