พระพุทธศาสนา...พระโบราณ...พระในตำนาน...

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย บรรพชนทวา, 12 กันยายน 2012.

แท็ก: แก้ไข
  1. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    รอยพระบาทยาตราคือจารึก...................ปลุกสำนึกคืนกลับจากหลับไหล
    ทรงชี้ทางบรรเทาทุกข์ชี้สุขใจ.............แล้วไฉนเรามัวเพลินไม่เดินตาม


    เสฐียรพงษ์ วรรณปก

    “บรรพชนทวา”เป็นการรวมกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจในพระพุทธศาสนาเหมือนๆกันตั้งกระทู้“พระพุทธศาสนา...พระโบราณ...พระในตำนาน...”นี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ทรงตรัสรู้ ทั้งนี้เพื่อให้ศาสนิกชนได้เข้าใจถึงรากเหง้าความเป็นมาของการประดิษฐานพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ให้มีความรัก และหวงแหนในพระพุทธศาสนา ได้ศึกษา และปฏิบัติธรรมจนบรรลุถึงความหลุดพ้นอันมีพระนิพพานเป็นที่สุด แต่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีมีความคลาดเคลื่อนกันจากแหล่งข้อมูลอ้างอิงต่างๆ คณะทำงานจึงได้พยายามเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทั้งนี้ยังไม่เป็นการสรุปอย่างหนึ่งอย่างใด ขอให้ท่านผู้อ่านได้เทียบเคียงกับแหล่งข้อมูลอื่นๆอีกทางหนึ่ง

    คณะทำงานฯได้ศึกษาจากประชุมศิลาจารึก ภาค ๒ จารึกทวารวดี จารึกศรีวิชัย จารึกละโว้ ของท่านผู้สำรวจในยุคแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ของศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ฉบับตีพิมพ์ครั้งที่ ๒ (แก้ไขใหม่) ปัจจุบันเป็นหนังสือที่หาอ่านได้ยากยิ่งพบได้ในหอสมุดแห่งชาติเท่านั้น สมุดนำชมโบราณวัตถุสถานสมัยทวารวดี ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี และหลักฐานอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายงานผลการวิจัยเรื่อง การประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปในดินแดนประเทศไทยสมัยวัฒนธรรมทวารวดี ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งได้ตั้งคณะทำงาน และที่ปรึกษาชำนาญการขึ้นมาประมวลจากหลักฐานต่างๆอีกครั้งเสมือนหนึ่งการขุดค้น และค้นคว้าของกรมศิลปากรได้ดำเนินมาตลอดช่วงเวลา ๕๐ กว่าปีที่ผ่านมาหลังการขุดค้นในยุคแรกช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๐ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ ก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมา จึงถือว่าทางคณะทำงานได้ศึกษาจากแหล่งข้อมูลในช่วงแรกของการขุดค้น และล่าสุดรวมๆแล้วจากตำราอ้างอิงมากกว่า ๑๐ เล่มขึ้นไป จึงน่าที่จะคลอบคลุมความผิดพลาดที่ยอมรับได้บ้าง แต่ยังมีสิ่งที่เรายังไม่ทราบอีกมาก การศึกษาค้นคว้าจึงยังคงดำเนินต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด...

    นิพพานเป็นสูญสำหรับผู้มองไม่เห็นธรรม ธรรมปฏิบัติเท่านั้นที่จะนำพาผู้ปฏิบัติไปยังพระนิพพาน คณะทำงานได้เก็บรวบรวมคำสอนของพุทธบุตรผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมคำสอนของพระพุทธบรมศาสดา แนวทางการทำสมาธิ-วิปัสสนาใดที่ตรงตามจริตก็ขอให้ผู้สนใจได้เลือกตามจริต ตามชอบ อย่างน้อยผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องก็ไม่มีศัตรู ไม่มีกิเลสมากระทบตัว นี่คือบุญฤทธิ์ที่พระพุทธองค์ทรงมอบให้พุทธศาสนิกชนทุกท่าน

    พระพิมพ์ พระพุทธปฏิมากรต่างๆเกิดภายหลังการประดิษฐานพระพุทธศาสนาหลายร้อยปี พุทธศิลป์ในแต่ละยุคสมัยล้วนสะท้อนถึงวิถีชีวิต ความคิด จิตใจ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาในยุคนั้นๆ พระพิมพ์ พระพุทธปฏิมากรจึงเปรียบเสมือนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจแทนความรัก และอาลัยในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หากได้เห็นพระพุทธจำลองนี้ ย่อมนำผลเกินมาด้วยการบุญ


    คณะทำงานฯได้จัดหมวดหมู่ลำดับเรื่องราวเพื่อความสะดวกในการค้นหา เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็จะทำการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ ผู้สนใจในพระพุทธศาสนาคงได้รับประโยชน์บ้างตามสมควร กุศลผลบุญใดๆจากการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศาสนาของพระพุทธสมณโคดม คณะทำงานฯขอนอบน้อมอุทิศถวายแด่พระบวรพุทธศาสนา ขอเดชะพระบารมีพระศากยมุนีสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระอริยสงฆ์ พรหม เทพ เทวา คุณครูบาอาจารย์ทั้งหลายสืบๆกันมา อันมีพระโสณเถระ และพระอุตตรเถระเป็นที่สุด ทรงโปรดประทานรัศมีชักนำปวงพุทธศาสนบุตรให้ก้าวไกลไปจากห้วงเหวแห่งความทุกข์ มีพระพุทธองค์เป็นที่ยึดเหนี่ยว จักได้เฝ้าใกล้พระยุคลบาท เสวยอมตอุดมสุขตามปรารถนาเทอญ ความผิดพลาดที่เกิดจากการประมวลความรู้เพื่อเผยแผ่นี้ คณะทำงาน“บรรพชนทวา” ขอรับไว้แต่เพียงผู้เดียว...

    ตำราที่ใช้ศึกษา และอ้างอิง

    ๑. พระมหากษัตริย์ไทย กับพระพุทธศาสนา ของ ดร.อำนวย วีรวรรณ และดร.ดินาร์ บุญธรรม
    ๒. การฝังรากฐานพระพุทธศาสนาลงที่บ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ของ คุณพร้อม สุทัศน์ ณ อยุธยา
    ๓. สมุดนำชมโบราณวัตถุสถานสมัยทวารวดี ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรีกรมศิลปากร
    ๔. รายงานผลการวิจัยเรื่องการประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปฯในดินแดนประเทศไทยสมัยทวารวดี กรมศิลปากร
    ๕. ทวารวดี:ต้นประวัติศาสตร์ไทย ของเมืองโบราณของดร.ธิดา สาระยา สำนักพิมพ์เมืองโบราณ
    ๖. ศิลปะทวารวดี ต้นกำเนิดพุทธศิลป์ในประเทศไทย กรมศิลปากร สำนักพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
    ๗. โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์
    ๘. เรื่องพระปฐมเจดีย์ การบูรณะ และการปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระธรรมสิริชัย(ชิต ชิตวิปุลเถร)
    ๙. ประวัติศาสตร์สมัยศรีวิชัย สมัยก่อนขอม สมัยขอม(ลพบุรี) ของ คุณพร้อม สุทัศน์ ณ อยุธยา
    ๑๐. นำชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ อู่ทอง และเรื่องราวสุวรรณภูมิกรมศิลปากร
    ๑๑. อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ กรมศิลปากร
    ๑๒. พระพุทธรูปสมัยต่างๆในประเทศไทย ของ ศาสตราจารย์ หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ และตำนานพระพิมพ์ ของศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์
    ๑๓. พุทธประวัติจากสังเวชนียสถานในอินเดีย
    ๑๔. ศิลปะอินเดีย เล่มที่ ๑ ของศาสตราจารย์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล พิมพ์ 1,000 เล่ม (เล่มที่ 706)
    ๑๕. ประชุมศิลาจารึก ภาค 2 จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้กรมศิลปากร
    ๑๖. จารึกอโศก ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห์ของพระพรหมคณากรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต)
    ๑๗. ศิลปไทยสมัยสุโขทัย และราชธานีรุ่นแรกของไทย ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์
    ๑๘. ตำรายา(สมถะ และวิปัสสนา) ของ พระอาจารย์อภิชิโต ภิกขุ (ชาญณรงค์ ศิริสมบัติ)
    ๑๙. วิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จ และสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า ของ อาจารย์ประถม อาจสาคร
    ๒๐. เรื่องตระกูล พระสมเด็จพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี ฉบับสมบูรณ์ ของ คุณพร้อม สุทัศน์ ณ อยุธยา
    ๒๑. โลกุตระ หลวงปู่สรวง วัดถ้ำขวัญเมือง
    ๒๒. แนวทางปฏิบัติวิปัสสนา-กัมมัฏฐาน เรียบเรียงจากโอวาท ๔ พรรษา พระอาจารย์ลี ธม.มธโร วัดอโศการาม
    ๒๓. รู้แจ้งในชาตินี้ พระกัมมัฏฐานาจริยะ พระปัญฑิตาภิวงศ์
    ๒๔. ธรรมะภาคปฏิบัติ วัดกระโจมทอง
    ๒๕. วิธีไหว้ทิศในพระพุทธศาสนา เรียบเรียงโดย โอภาสี บวรนิเวศ
    ๒๖. พระธาตุนาดูน พุทธมณฑลอีสาน นครจัมปาศรี
    ๒๗. นาวาอุปมากถา ของเจ้าพระคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถระ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร
    ๒๘. ธรรมกถา ๙ บท ของพระคุณเจ้า ธมมวิตกโก วัดเทพศิรินทราวาส พระมหาสงัด สุวิเวโก พิมพ์เป็นวิทยาทาน อุทิศกุศล บูชาพระคุณ ในงานพระราชทานเพลิงเผาธาตุ พระคุณเจ้า ธมมวิตกโก
    ๒๙. พระมหาปรินิพพานสูตร ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๐๐
    ๓๐. พระธรรม ๗ คัมภีร์ สำหรับนักธรรม นักเทศน์ นักปฏิบัติ และผู้สนใจในธรรมทั่วไป
    ๓๑. จิตตภาวนาตามแนวพระสูตร สำนักราชเลขาธิการรวบรวมพระธรรมกถาของพระราชวิสุทธิญาณ(อุบล นันทโก ป.ธ.๙)วัดบวรนิเวศวิหาร ระหว่าง ธ.ค. ๒๕๒๙-ก.ค. ๒๕๓๔
    ๓๒. มหาสติปัฏฐานสูตร และคิริมานนทสูตร สำนวนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถระ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร
    ๓๓. หัวใจสมถกัมมัฏฐาน สมถภาวนา และพระพุทธคุณ ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลิขสิทธิ์ของมหามกุฏราชวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๒
    ๓๔. ฝึกวิญญาณ โดย พระอาจารย์วรศักดิ์ วรธฺมโม
    ๓๕. พระมาลัยสูตร ๓ เล่ม ปี พ.ศ. ๒๔๙๑-๒๔๙๓
    ๓๖. พระมาลัยสงเคราะห์สำเร็จ โดย ส.ศรียุทธ ปี พ.ศ. ๒๔๙๑
    ๓๗. หลักเทศนานิทานว่าด้วยเรื่องเปตวัตถุ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒
    ๓๘. ฎีกา นโม ว่าด้วยเรื่องนโม ในพระไตรปิฎก ปี พ.ศ. ๒๔๙๓
    ๓๙. ไตรโลกวิตถาร เรียบเรียงโดย พระครูศิริปัญญามุนี(อ่อน) ปี พ.ศ. ๒๔๙๑
    ๔๐. พระอนาคตวงศ์ เป็นพุทธโอวาท บรรยายเรื่องโพธิสัตว์ที่จะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล ปี พ.ศ. ๒๔๘๒
    ๔๑. พระเจ้าอโศกสร้างสัญจิเจดีย์เป็นพุทธบูชา ผลงานการค้นคว้าของ ไบรอันฮัพตัน ฮอคซ์สัน/ นายสุข พูนสุข แปล พิมพ์ครั้ง ๓ พ.ศ. ๒๔๙๔ จำนวน ๒,๐๐๐ ฉบับ ลิขสิทธิ์ของมหามกุฏราชวิทยาลัย
    ๔๒. พุทโธวาท เรียบเรียงโดย กิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙
    ๔๓. เกิด แก่ เจ็บ ตาย เรียบเรียงโดย พระมหากี มารชิโน ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ จำนวน ๑,๐๐๐ ฉบับ
    ๔๔. เล่าเรื่องนิทานชาดก โดย แปลก สนธิรักษ์ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕[
    ๔๕. คำถามคำตอบ ศีล สมาธิ ปัญญา พระอาการ ๓๒ และพระสติปัฏฐานสูตร แปลปี พ.ศ. ๒๔๙๔
    ๔๖. พระประวัติ และพระนิพนธ์ สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ พระสังฆราช(สุก ญาณสังวร)
    ๔๗. ประชุมศิลาจารึก ภาค 1 จารึกสมัยกรุงสุโขทัย พงศาวดาร และโบราณวัตถุ อธิบายและชำระแปลโดย ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ พร้อมบัญชีจารึกในสยามประเทศ ๑๕ หลัก พิมพ์ตามต้นฉบับเดิม ๒๔๖๗
    ๔๘. สังคีติยวงศ์ พงศาวดาร เรื่องสังคายนาพระธรรมวินัย จัดพิมพ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพพระอุบาลีคุณูปมาจารย์(กมลเถระ) วัดพระเชตุพน ปี ๒๕๒๑ กรมศิลปากร
    ๔๙. ประวัติย่อพระพิมพ์ในประเทศไทย มรดกวัฒนธรรมไทย โดย จิตร บัวบุศย์ ปี พ.ศ. ๒๕๑๔
    ๕๐. โบราณคดี โดย ศ.หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓
    ๕๑. เรื่องโบราณคดี จากลายพระหัตถ์สมเด็จฯโดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และศ.หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  2. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    -พระพุทธศาสนาก่อนพุทธกาล และสมัยพุทธกาล (คห.3)

    -พุทธโอวาท ๑-๔ (คห.4-7)

    -พระพุทธศาสนาหลังสมัยพุทธกาล (คห.8)

    -เรื่องเล่านิทานชาดก ๗๐ เรื่อง และพระอนาคตวงศ์ เป็นพุทธโอวาท (คห.9)

    -สมาธิ-วิปัสสนา (คห.10)

    -พระสูตรต่างๆ (คห.11)

    -พระโบราณ (คห.12)

    -พระในตำนาน (คห.18)

    -ปกิณกะ ๑ #2 (คห.21)

    -ปกิณกะ ๒ #2 (คห.22)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013
  3. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พระพุทธศาสนาก่อนพุทธกาล และสมัยพุทธกาล

    -กำเนิดพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป #2 (คห.23-27)
    -เหตุการณ์ก่อนพระพุทธเจ้าตรัสรู้ #2 (คห.28)
    -เหตุการณ์ระหว่างพระพุทธเจ้าตรัสรู้ #2 (คห.29)
    -การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า #2 (คห.30)
    -ทรงเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ฤาษีทั้ง ๕ #2 (คห.31-32)
    -การจำพรรษาของพระพุทธองค์ #2-5 (คห.33-83)
    -บุพพกรรมของพระพุทธองค์ #5 (คห.84)
    -พระบันลือสีหนาทเปล่งอาสภิวาจาเมื่อประสูติ #5 (คห.85)
    -ทรงประกาศพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตรประทานปฐมเทศนาเมื่อตรัสรู้ #5 (คห.86)
    -พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน ๓ เดือน ๒๔ ตอน #5-6 (คห.87-120)
    -ปัจฉิมพุทธโอวาทเมื่อเสด็จดับขันธปรินิพพาน #7 (คห.121)
    -คาถา "เย ธัมมา..." หัวใจพระพุทธศาสนา #22 (คห.432-433)
    -ศิลาจารึกโศลก ปริศนาธรรมของพระพุทธเจ้า ๗ พระองค์ #22 (คห.434-440)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2013
  4. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พุทธโอวาท ๑ #7-8 (คห.122-160)

    นะโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ
    ขอนอบน้อมแด่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

    สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นพระอรหันต์ห่างไกลจากข้าศึกคือ กิเลส เป็นผู้ตรัสรู้อริยสัจจธรรมด้วยพระองค์เองโดยชอบ เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชา และจรณะ เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม อันพระองค์ทรงกระทำให้แจ้งด้วยพระปัญญาอันยิ่งเอง แล้วทรงพระมหากรุณาสั่งสอนผู้อื่นให้รู้ตาม

    พระองค์ทรงแสดงธรรม ไพเราะในเบื้องต้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง

    ข้าพระพุทธเจ้าขอบูชาพระองค์โดยยิ่ง ขอนอบน้อมต่อพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นด้วยเศียรเกล้า

    พระธรรมอันใด ที่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสรู้นั้น ได้ตรัสไว้แล้ว เป็นธรรมอันบุคคลพึงเห็นได้เอง ให้ผลไม่มีกาลเวลา เป็น "อกาลิกธรรม" ทนต่อการพิสูจน์ เป็นธรรมอันบุคคลทั้งหลายพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ เป็นธรรมอันวิญญูชนทั้งหลายพึงรู้ได้เฉพาะตน

    ข้าพระพุทธเจ้าขอบูชาโดยยิ่งซึ่งพระธรรมนั้น ขอนอบน้อมบูชาพระธรรมนั้นด้วยเศียรเกล้า

    พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติตรงแล้ว ปฏิบัติถูกแล้ว คือ พระอริยบุคคล ๘ พวกนั้น ท่านเหล่านั้นเป็นผู้ควรสักการะที่เขานำมาบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรทักษิณาทาน เป็นผู้ควรอัญชลีกรรม เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาอื่นยิ่งกว่า

    ข้าพระพุทธเจ้าขอบูชาพระอริยสงฆ์เหล่านั้นโดยยิ่ง ขอนอบน้อมบูชาพระสงฆ์เหล่านั้นด้วยเศียรเกล้า

    ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำบูชานอบน้อมในพระรัตนตรัย ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้กระทำแล้วนี้ จงขจัดปัดเป่า คุ้มครองป้องกันอันตรายต่างๆอันจะพึงบังเกิดขึ้นแก่ข้าพระพุทธเจ้าในระหว่างแต่งปกรณ์ รวบรวมพระพุทโธวาทในพระไตรปิฎกนี้ และด้วยอำนาจแห่งคุณของพระรัตนตรัย คุณของมารดาบิดา ครู อาจารย์ ตลอดจนบารมีทั้งหลายอันข้าพระพุทธเจ้าได้อบรมมาแล้วโดยเอนกนี้ จงช่วยส่งเสริมเพิ่มพูล กำลังกาย กำลังใจ กำลังปัญญา ให้ได้รวบรวมปกรณ์อันเป็นที่บรรจุพระพุทโธวาทได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่เวไนยนิกรทุกถ้วนหน้า เพื่อประกาศสัจจธรรมอันเป็นอมตะนี้อย่างกว้างขวางออกไป ขอปกรณ์นี้จงยั่งยืนสืบต่อพระพุทธศาสนาตลอดไปชั่วกาลพุทธันดรเทอญ

    พระกิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙

    -การแสวงหาของคนในโลก ๒ อย่าง #7 (คห.122)
    -ทรงแสวงหาทางอันประเสริฐมาช้านาน #7 (คห.123)
    -พระทีปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึ้นในโลก #7 (คห.124)
    -พระโพธิสัตว์ทอดกายเป็นสะพานให้พระพุทธเจ้าเสด็จ #7 (คห.125)
    -ได้รับพุทธพยากรณ์จากพระทีปังกรพุทธเจ้า #7 (คห.126)
    -พระโพธิสัตว์ได้รับการบูชา #7 (คห.127)
    -บำเพ็ญพุทธการกธรรม ๑๐ ประการ #7 (คห.128)
    -มหาปฐพีหวั่นไหว เพราะแรงอธิษฐาน #7 (คห.129)
    -ทรงบำเพ็ญบารมีธรรมเหล่านั้นตราบเท่าได้เสวยพระชาติเป็นเวสสันดร #7 (คห.130)
    -ชาติที่บำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ #7 (คห.131)
    -ภาคดุสิตพิภพ โกลาหล ๓ ประการ #7 (คห.132)
    -มหาวิโลกนะ ๕ ประการ #7 (คห.133)
    -ทรงรับคำอาราธนาของเทพยดา #7 (คห.134)
    -เสด็จลงสู่ปฏิสนธิในพระครรภ์ #7 (คห.134)
    -พระมารดาทรงสุบินนิมิต #7 (คห.134)
    -พราหมณ์ทำนายพระสุบิน #7 (คห.135)
    -ธรรมดาของพระโพธิสัตว์ #7 (คห.135)
    -พระมารดาเสด็จนครเทวทหะ #7 (คห.135)
    -พระโพธิสัตว์ประสูติ #7 (คห.136)
    -พระโพธิสัตว์เสด็จกลับนครกบิลพัสดุ์ กาลเทวิลดาบสเข้าเฝ้า #7 (คห.136)
    -วันที่ ๕ เชิญพราหมณ์ ๑๐๘ ทำพิธีขนานพระนาม #7 (คห.137)
    -เสด็จพิธีแรกนาขวัญ #7 (คห.138)
    -ทรงบำเพ็ญสมาธิจนได้ปฐมฌาน #7 (คห.138)
    -ทรงแสดงศิลปวิทยาแก่หมู่พระญาติ และอภิเษกสมรส #7 (คห.138)
    -ทรงเสด็จประพาสพระราชอุทยาน #7 (คห.138)
    -พบเทวฑูตทั้ง ๔ #7 (คห.139)
    -เสด็จออกมหาภิเนษกรม #7 (คห.140)
    -อุปมา ๓ ข้อ เกิดขึ้นแก่พระโพธิสัตว์ #8 (คห.141)
    -ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา #8 (คห.141)
    -ทรงสุบินนิมิต ๕ ประการ #8 (คห.142)
    -ทรงทำนายพระสุบิน #8 (คห.142)
    -ทรงผจญมาร #8 (คห.143)
    -ปฏิจสมุปบาทอนุโลม และปฏิจสมุปบาทปฏิโลม #8 (คห.144)
    -ท้าวสหัมบดีพรหมทูลอาราธนาให้แสดงธรรม #8 (คห.144)
    -ทรงพิจารณสัตว์หมือนดอกบัว ๔ เหล่า #8 (คห.144)
    -เริ่มเสด็จออกแสดงธรรม #8 (คห.145)
    -ปฐมเทศนา ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร #8 (คห.145)
    -ญาณทัสสนอันมีรอบ ๓ อาการ ๑๒ #8 (คห.146)
    -อนัตตลักขณสูตร #8 (คห.146)
    -ให้พิจารณาโดยยถาภูติญาณทัสสนะ #8 (คห.146)
    -โปรดยสกุลบุตร #8 (คห.147)
    -ทรงวางรากฐานการประกาศพระศาสนา #8 (คห.147)
    -โปรดชฏิล ๓ พี่น้อง #8 (คห.147)
    -ทรงแสดงอาทิตย์ปริยายสูตร #8 (คห.148)
    -เสด็จโปรดพระเจ้าพิมพิสาร #8 (คห.148)
    -ความปรารถนา ๔ อย่างของพระเจ้าพิมพิสารสำเร็จ #8 (คห.148)
    -ทรงโปรดวัสสการพราหมณ์ และสุนีธพราหมณ์ #8 (คห.148)
    -ทรงแสดงอริยสัจ #8 (คห.149)
    -ทรงตรัสแก้คำกล่าวหาว่าพระองค์เป็นอกิริยาวาท #8 (คห.149)
    -ผู้ที่หน้าที่ฑูตจะต้องประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ #8 (คห.149)
    -ทรงตรัสถึงโทษอสัทธรรมที่ครอบงำจิตพระเทวฑัต ๓ ประการ #8 (คห.150)
    -สามัคคีเป็นเหตุแห่งความสุข #8 (คห.150)
    -ภิกษุโจทก์ผู้ใดพึงตั้งอยู่ในธรรม ๕ ประการ #8 (คห.150)
    -โปรดอนาถบิณฑิกะ #8 (คห.151)
    -เรื่องความเคารพ #8 (คห.151)
    -ทรงอุปมานิวรณ์ ๕ ที่ละไม่ได้ในตนเหมือนหนี้ โรค เรือนจำ ทาส ทางไกลกันดาร #8 (คห.151)
    -วิธีข่มใจเมื่อกระทบต่ออนิฏฐารมณ์ #8 (คห.152)
    -จุดประสงค์ของการประพฤติพรหมจรรย์ #8 (คห.152)
    -ทรงฉลาดในโลกนี้ และโลกหน้า #8 (คห.152)
    -ความหมายของคำว่า พราหมณ์ #8 (คห.152)
    -ความสะอาดมิได้มีเพราะน้ำ #8 (คห.152)
    -ผู้บรรลุนิพพานแล้วย่อมพ้นจากคติทั้งปวง #8 (คห.152)
    -ความสิ้นตัณหาเป็นสุขในโลก #8 (คห.153)
    -ความทุกข์ย่อมครอบงำผู้ที่ตั้งอยู่ในความประมาท #8 (คห.154)
    -ประโยชน์ถ้าอยู่ในอำนาจของผู้อื่นนำทุกข์มาให้ #8 (คห.154)
    -ผลแห่งกรรม #8 (คห.154)
    -ถอนกามเสียได้เป็นสุข #8 (คห.155)
    -ผู้ไม่อาศัยศิลปเลี้ยงชีพชื่อว่า ภิกษุ #8 (คห.155)
    -ทรงเห็นหมู่สัตว์กำลังเดือดร้อนอยู่ #8 (คห.155)
    -โทษของการตั้งจิตไว้ผิด #8 (คห.156)
    -จิตที่อบรมดีแล้วย่มมีโทษน้อย #8 (คห.156)
    -ทรงสอนให้อดทนต่อคำกล่าวร้าย #8 (คห.156)
    -สรรเสริญผู้ประพฤติพรหมจรรย์ #8 (คห.157)
    -ความรักอื่นเสมอด้วยตนไม่มี #8 (คห.157)
    -ผู้ฉลาดควรประพฤติพรหมจรรย์ #8 (คห.157)
    -เมื่อเราเกลียดทุกข์ก็ไม่ควรก่อทุกข์แก่ผู้อื่น #8 (คห.157)
    -ในธรรมวินัยนี้มีความอัศจรรย์ ๘ ประการ #8 (คห.158)
    -พระอริยเจ้าย่อมไม่ยินดีในบาป #8 (คห.159)
    -ให้พิจารณากังขาวิตรณวิสุทธิ #8 (คห.159)
    -ผู้มีสติหลงลืมไม่พึงอวดอ้างว่าเป็นบัณฑิต #8 (คห.159)
    -สิ่งที่จะเห็นได้ต้องอาศัยกาลเวลา ๔ อย่าง #8 (คห.159)
    -บรรพชิตไม่ควรประพฤติธรรมเพื่อให้มีแผล #8 (คห.159)
    -ผู้เห็นผิดย่อมไม่ล่วงพ้นสงสาร #8 (คห.159)
    -เมื่อล่วงส่วนสุดทั้ง ๒ เสียได้ย่อมพ้นทุกข์ #8 (คห.160)
    -ความมืดมนเกิดขึ้นเพราะกาม #8 (คห.160)



    แหล่งที่มาของข้อมูล: พุทโธวาท เรียบเรียงโดย พระกิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013
  5. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พุทธโอวาท ๒ #9-10 คห.161-200

    -อาสวะเป็นมูลรากของอวิชชา #9 คห.161
    -สภาพของพระนิพพาน #9 คห.161
    -ที่ใดมีความรักที่นั้นมีความทุกข์ #9 คห.161
    -คติของพระขีณาสพย่อมรู้ไม่ได้ #9 คห.161
    -บุญนำมาซึ่งความสุข #9 คห.161
    -เหตุที่ได้มาซึ่งฤทธิ์ ๓ ประการ #9 คห.162
    -ธรรม ๒ ประการเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ #9 คห.162
    -พรหมจรรย์นี้เพื่อใคร #9 คห.162
    -เทศนาโดยปริยาย ๒ อย่าง #9 คห.163
    -ธรรมเป็นเครื่องคุ้มครองโลก ๒ อย่าง #9 คห.163
    -นิพพานธาตุ ๒ อย่าง #9 คห.164
    -การแสวงหา ๓ อย่าง #9 คห.164
    -บุตร ๓ จำพวก #9 คห.165
    -กิเลสเกิดเพราะความเกี่ยวข้อง #9 คห.166
    -ทางเสื่อมแห่งพระโพธิญาณ #9 คห.166
    -บุคคล ๓ จำพวกอุบัติขึ้นเพื่อเกื้อกูลอนุเคราะห์โลก #9 คห.167
    -ธรรมเครื่องกำจัดนิวรณ์ #9 คห.168
    -จิตที่ไม่ได้อบรมดีแล้วนำทุกข์มาให้ #9 คห.168
    -จิตที่อบรมดีแล้วย่อมนำความสุขมาให้ #9 คห.168
    -เมื่อจิตเศร้าหมองแล้วต้องไปสู่ทุคติ #9 คห.168
    -เมื่อจิตผ่องใสแล้วย่อมไปสู่สุคติ #9 คห.168
    -จิตเศร้าหมองเพราะอุปกิเลส #9 คห.169
    -จิตผ่องใสเพราะพ้นจากอุปกิเลส #9 คห.169
    -ผู้เจริญเมตตาจิตเพียงลัดนิ้วมือเดียวมีอานิสงส์มาก #9 คห.170
    -อกุศลเกิดได้เพราะใจเป็นหัวหน้า #9 คห.170
    -กุศลเกิดได้เพราะใจเป็นหัวหน้า #9 คห.170
    -ความเสื่อมที่ชั่วร้ายที่สุดกว่าความเสื่อมใดๆในโลก #9 คห.170
    -พระผู้เป็นดวงตาของโลก #9 คห.171
    -สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ #9 คห.171
    -มิจฉาทิฏฐิบุคคลเพียงคนเดียวนำความฉิบหายมาสู่หมู่ชนเป็นอันมาก #9 คห.172
    -สัมมาทิฏฐิบุคคลเพียงคนเดียวนำความสุขมาให้ชนเป็นอันมาก #9 คห.172
    -สัตว์เกิดในทุคติมากกว่าสุคติ #9 คห.173
    -ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน ๒ อย่าง #9 คห.173
    -ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน ๒ อย่าง #9 คห.173
    -ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผล ๕ อย่าง #9 คห.174
    -ผู้ทำกรรมดีย่อมได้รับผล ๕ ประการ #9 คห.174
    -ธรรม ๒ อย่างเป็นไปเพื่อวิชชา #9 คห.175
    -พละมี ๒ อย่าง #9 คห.175
    -มารดาบิดาเป็นพรหมของบุตร #9 คห.175
    -อธิปไตย ๓ #9 คห.176
    -ความเมา ๓ อย่าง #9 คห.177
    -ลักษณะของสังขตธรรม #9 คห.178
    -ลักษณะของอสังขตธรรม #9 คห.178
    -คนชราควรทำบุญ #9 คห.179
    -ทานที่บริจาคออกไปเหมือนของที่พ้นแล้วจากไฟไหม้ #9 คห.179
    -ปาฏิหารย์ ๓ อย่าง #9 คห.180
    -กลิ่นของสัตตบุรุษย่อมหอมทวนลม #10 คห.181
    -ผู้ประกอบอธิจิตพึงกำหนดนิมิตในใจ ๓ อย่าง #10 คห.181
    -โลกมีทั้งคุณมีทั้งโทษ #10 คห.182
    -ทางที่พ้นไปจากโลกมีอยู่ #10 คห.182
    -ผู้ใดไม่รู้โลกทั้ง ๓ นี้แล้วจักพ้นจากโลกไปไม่ได้ #10 คห.182
    -เมื่อรู้โลกทั้ง ๓ อย่างนี้จึงพ้นจากโลกได้ #10 คห.182
    -การร้องไห้ความเป็นบ้าความเป็นเด็ก #10 คห.183
    -สิ่งที่ไม่รู้จักอิ่ม ๓ อย่าง #10 คห.183
    -เหตุให้เกิดกรรม ๓ อย่าง #10 คห.183
    -บุคคล ๓ จำพวกที่จะต้องไปนรก #10 คห.183
    -ความสะอาด ๓ อย่าง #10 คห.184
    -วิตกที่เป็นบาปเหมือนแมงวัน #10 คห.184
    -มาตุคามผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ อย่างย่อมตกนรก #10 คห.185
    -สิ่งที่ปิดบังไว้จึงเจริญ ๓ อย่าง #10 คห.185
    -ประพฤติดีเวลาใดเวลานั้นชื่อว่าฤกษ์ดี #10 คห.185
    -ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้เป็นพาล #10 คห.186
    -ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้เป็นบัณฑิต #10 คห.186
    -ผู้ปฏิบัติผิดย่อมประสบบาป ผู้ปฏิบัติถูกย่อมประสบบุญ #10 คห.187
    -บุคคล ๔ จำพวกที่ปรากฎอยู่ในโลก #10 คห.188
    -บุคคลผู้ยังหมู่ให้งาม ๔ จำพวก #10 คห.189
    -เห็นความเกิดความดับจึงชื่อว่าเห็นชอบ #10 คห.189
    -ผู้มีอคติ ๔ ย่อมเสื่อม #10 คห.189
    -แม้พระพุทะเจ้าก็ยังเคารพในธรรม #10 คห.190
    -ธรรมเป็นเครื่องสงเคราะห์โลก ๔ ประการ #10 คห.190
    -ผู้ที่เป็นมหาบุรุษ #10 คห.190
    -ผู้หนักในสัทธรรมย่อมเจริญ #10 คห.190
    -ที่สุดโลกมิได้ถึงด้วยการไป #10 คห.190
    -สิ่งที่ไกลกัน ๔ อย่าง #10 คห.191
    -วิปลาสธรรม ๔ #10 คห.191
    -ความเลื่อมใส ๔ อย่าง #10 คห.191
    -ผลที่ได้รับเมื่อผู้นำไม่ตั้งอยู่ในธรรม #10 คห.192
    -ผลที่ได้รับเมื่อผู้นำตั้งอยู่ในธรรม #10 คห.192
    -สิ่งที่ไม่ควรคิด ๔ อย่าง #10 คห.192
    -ปฏิปทา ๔ #10 คห.192
    -ความรัก และความโกรธย่อมเกิดเพราะเหตุ ๔ ประการ #10 คห.193
    -การนอนมี ๔ อย่าง #10 คห.193
    -ธรรม ๔ ประการย่อมเป็นไปเพื่อความเจริญแห่งปัญญา #10 คห.193
    -การแสวงหาสิ่งที่ไม่ประเสริฐ #10 คห.193
    -การแสวงหาสิ่งที่ประเสริฐ #10 คห.193
    -ตระกูลใหญ่ตั้งอยู่ได้ไม่นานเพราะสถาน ๔ #10 คห.194
    -เพราะไม่รู้ธรรม ๔ ประการจึงเกิดบ่อยๆ #10 คห.194
    -ภิกษุที่ลาสิกขาย่อมถึงฐานะอันน่าติเตียน ๕ ประการ #10 คห.195
    -ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการชื่อว่าปฏิบัติเพื่อตน #10 คห.195
    -ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการชื่อว่าปฏิบัติเพื่อผู้อื่น #10 คห.195
    -ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการชื่อว่าไม่ปฏิบัติเพื่อตนไม่ปฏิบัติเพื่อผู้อื่น #10 คห.195
    -ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการชื่อว่าไปฏิบัติเพื่อตน และผู้อื่น #10 คห.195
    -จิตที่ได้รับการอบรมฝึกฝนดีแล้วย่อมบรรลุธรรมหลายอย่าง #10 คห.196
    -สัมมาทิฏฐิมีองค์ ๕ สงเคราะห์ย่อมมีเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ เป็นพลานิสงส์ #10 คห.196
    -อานิสงค์การเดินจงกรมมี ๕ ประการ #10 คห.196
    -ผล ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นจากเหตุ ๕ ประการ #10 คห.197
    -ความต่างกันในวิมุติย่อมไม่มีในระหว่างคน ๒ คน #10 คห.197
    -สุภาพสตรีคนใดปรารถนาเกิดเป็นเทวดาเหล่ามนายิกาพึงประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ #10 คห.197
    -ผู้ไม่ตระหนี่ให้ทานย่อมได้รับผล ๕ ประการ #10 คห.198
    -อานิสงค์แห่งทาน ๕ ประการ #10 คห.198
    -มารดาบิดาเล็งเห็นฐานะ ๕ ประการจึงปรารถนาให้บุตรเกิดในสกุล #10 คห.198
    -วิธีใช้ทรัพย์ ๕ ประการ น.10 คห.199
    -สัปบุรุษเกิดในสกุลใดย่อมยังประโยชน์ให้เกิดแก่สกุลนั้น #10 คห.200
    -ให้อย่างใดย่อมได้อย่างนั้น #10 คห.200
    -ห้วงบุญ #10 คห.200


    <O:pแหล่งที่มาของข้อมูล: พุทโธวาท เรียบเรียงโดย พระกิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙<O:p</O:p<O:p</O:p</O:p<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013
  6. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    [B][U]พุทธโอวาท ๓[/U][/B] น.11-12 คห.201-240

    -ฐานะ ๕ อย่างอันใครๆในโลกนี้ย่อมไม่ได้
    -ฐานะ ๕ ประการที่ทุกคนควรพิจารณาเนืองๆ
    -ประโยชน์ที่พิจารณาฐานะ ๕ ประการ
    -กุลบุตรผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมมีแต่ความความเจริญส่วนเดียวไม่มีเสื่อม
    -ภิกษุบวชเมื่อแก่หาคุณธรรม ๕ ประการนี้ยาก
    -ความเจริญ ๕ ประการเป็นสิ่งประเสริฐ
    -ลักษณะคำพูดที่เป็นสุภาษิต
    -ธรรมะสำหรับภิกษุผู้เป็นเจ้าอาวาส
    -อนุสติ ๕ ประการ
    -อนุตตริยะมี ๖ ประการ
    -ความจนเป็นทุกข์ของผู้บริโภคกาม
    -ของที่หาได้ยากในโลก ๖ อย่าง
    -โลกทั้งหมดไม่เป็นแก่นสาร
    -อานิสงค์ของเมตตามี ๘ ประการ
    -โลกธรรม ๘
    -ขณะที่ควรประพฤติพรหมจรรย์
    -โทษของการละเมิดศีล ๕
    -คุรุธรรม ๘ ประการ
    -ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน
    -ทางเสื่อมแห่งโภคทรัพย์
    -แสงสว่างในโลก ๔ อย่าง
    -โทษของผู้กีดขวาง และห้ามผู้อื่นทำบุญ
    -โลกมีช่องอยู่ ๖ ช่อง
    -ไม่ควรหมิ่นในสิ่งเล็ก ๔ สิ่ง
    -พึงสำรวมไว้เป็นการดี
    -สัตว์ผู้มักมากด้วยกามคุณย่อมไม่รู้สึกในการทำบาป
    -เครื่องพันธนาการที่ปลดได้ยาก
    -คนส่วนมากงามแต่ภายนอก แต่ภายในสกปรก
    -ธรรมที่ทำให้แก่ช้า
    -ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้แพ้ย่อมเป็นทุกข์
    -ความหมุนเวียนแห่งกรรม
    -สตรีบางคนก็เป็นผู้ประเสริฐ
    -บัณฑิตย่อมยังประโยชน์ทั้ง ๒ ไว้ได้
    -บุคคลในโลกนี้มี ๔ จำพวก
    -เมื่อมีแล้วย่อมเศร้าโศก
    -ตถาคตเป็นมหาบุรุษ
    -ตถาคตย่อมไม่ยินดียินร้าย
    -มาร และเสนามารย่อมไม่พบอริยสาวกที่เบื่อหน่ายแล้ว
    -สาวกของพระพุทธเจ้าก้าวล่วงโลกามิสแล้ว
    -ถึงแม้จะเสกภูเขาให้เป็นทองคำล้วน ก็ยังไม่เป็นที่พอใจของบุคคลหนึ่งได้
    -กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์
    -ทรงปฏิญาณตนว่าเป็นชาวนา
    -พึงให้ทานแก่ใครจึงมีผลมาก
    -คำอันเป็นสุภาษิตพึงได้ด้วยจิตที่ผ่องใส
    -บัณฑิตย่อมสรรเสริญผู้เลี้ยงดูมารดาบิดา
    -ความเป็นภิกษุไม่ได้อยู่ที่การขออย่างเดียว
    -ลำดับกายของรูปที่เกิดขึ้นในครรภ์
    -คนมีสติก็ยังไม่หลุดพ้นจากเวร
    -ผู้ใดมีเมตตาผู้นั้นย่อมไม่มีเวรกับใครๆ
    -ศรัทธาเป็นทรัพย์อันประเสริฐ
    -ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้วนำสุขมาให้
    -ความสัตย์เป็นรสอันเลิศกว่ารสทั้งหลาย
    -ชีวิตของผู้เป็นอยู่ด้วยปัญญาประเสริฐสุด
    -บุคคลข้ามโอฆะได้ด้วยศรัทธา
    -บุคคลล่วงทุกข์ได้ด้วยเพราะความเพียร
    -คนเราจะได้ปัญญามาได้อย่างไร
    -เมื่อระลึกถึงพระรัตนตรัยแล้ว ย่อมขจัดความหวาดสะดุ้ง
    -พระอรหันต์อยู่ในที่ใด ที่นั้นเป็นภูมิสถานอันรื่นรมย์
    -ขันธ์ ๕ เป็นภาระ
    -ขันธ์ ๕ เป็นธรรมที่ควรกำหนดรู้
    -สิ่งใดไม่เที่ยง ควรละความพอใจในสิ่งนั้น
    -สิ่งใดเป็นทุกข์ ควรละความพอใจในสิ่งนั้น
    -สิ่งใดเป็นอนัตตา ควรละความพอใจในสิ่งนั้น
    -ที่สุด ๒ อย่างนี้ส่วนมากมีในโลก
    -พระตถาคตย่อมแสดงธรรมสายกลาง
    -ความเห็นสุดโต่งอีก ๒ สาย
    -ความต่างกันระหว่างบัณฑิตกับพาล
    -ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์
    -มูลเหตุแห่งทุกข์
    -ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ได้
    -เพราะอะไรจึงเรียกว่ารูป
    -เพราะอะไรจึงเรียกว่าเวทนา
    -เพราะอะไรจึงเรียกว่าสัญญา
    -เพราะอะไรจึงเรียกว่าสังขาร
    -เพราะอะไรจึงเรียกว่าวิญญาณ
    -ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
    -ภิกษุชื่อว่าเป็นธรรมกถึกนั้นด้วยเหตุเพียงเท่าไร
    -ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์
    -ธรรมที่เป็นที่ตั้งของอุปทาน
    -ปฏิบัติอย่างไรจึงจะไม่มีอหังการมมังการ
    -ที่เรียกว่ามารนั้นเป็นไฉน
    -อาหารมี ๔ อย่าง
    -จะพิจารณากวฬีการาหารอย่างไร
    -จะพิจารณามัสสาหารอย่างไร
    -จะพิจารณามโนสัญเจตนาหารอย่างไร
    -จะพิจารณาวิญญาณาหารอย่างไร
    -ถ้าความยินดี ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยากมีอยู่ในอาหารนั้น ความทุกข์ก็ย่อมมี
    -เมื่ออวิชชาไม่เกิด ชรา และมรณะก็ไม่เกิด
    -สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้าสมาคมกันโดยธาตุ
    -สงสารนี้กำหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้
    -สงสารนี้มารดาของเราก็กำหนดไม่ได้
    -น้ำตาของสัตว์มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
    -น้ำนมของมารดาที่เราดื่มกินมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
    -กองกระดูกของสัตว์แต่ละคนใหญ่ปานภูเขาเวปุลละ
    -ภิกษุชนิดใดสมควรเข้าไปสู่สกุล
    -ธรรมเทศนาชนิดที่ไม่บริสุทธิ์ และบริสุทธิ์
    -อะไรเป็นเหตุ เมื่อก่อนสิกขาบทมีน้อย แต่ภิกษุตั้งอยู่ในอรหันต์มีมาก สิกขาบทมีมาก แต่ภิกษุตั้งอยู่ในอรหัตตผลมีน้อย
    -ใครๆก็ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไปไม่ได้ นอกจากพุทธบริษัท
    -เหตุฝ่ายต่ำ ๕ ประการของพุทธบริษัทที่ทำให้สัทธรรมเสื่อม
    -ลาภสักการะเป็นของทารุณเผ็ดร้อน
    -ลาภสักการะเหมือนพรานเบ็ด
    -อุปมาข้อที่ ๒
    -ลาภสักการะเหมือนขวานฟ้า
    [COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][COLOR=black][COLOR=red][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][FONT=Tahoma][SIZE=5][FONT=Tahoma][COLOR=blue][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=red]-ผู้ถูกลาภสักการะชื่อเสียงครอบงำย่ำยี จิตย่อมถึงอบาย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/COLOR][/COLOR][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR]
    [SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][COLOR=black][COLOR=red][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][FONT=Tahoma][SIZE=5][FONT=Tahoma][COLOR=blue][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=red]-ผู้ไม่หวั่นไหวในสักการะ บัณฑิตเรียกว่า สัปบุรุษ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/COLOR][/COLOR][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/FONT][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ความกตัญญูบางอย่างมีในสุนัขจิ้งจอก แต่ไม่มีในภิกษุบางรูป[/COLOR][/SIZE][/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-คนเราถ้าไม่พูด ก็ไม่ทราบว่าเป็นพาล หรือบัณฑิต[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-กุลบุตรผู้ประพฤติพรหมจรรย์ต้องอดทน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-บุคคลประพฤติพรหมจรรย์เพื่อกำจัดความโกรธ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทรงสรรเสริญบุคคลผู้อยู่คนเดียว[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-พระพุทธเจ้าย่อมรุ่งเรืองด้วยเดชานุภาพตลอดวันตลอดคืน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทรงตรัสสอนราหุล[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทรงมีองค์ ๘ เป็นทางอันเกษม[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มรรคมีองค์ ๘ เป็นพรหมญาณธรรมญาณ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [SIZE=4][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-[/COLOR][/SIZE][COLOR=red]ธรรมที่ควรละด้วยปัญญา[/COLOR][/FONT][/COLOR][/SIZE][SIZE=4][COLOR=darkgreen]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ธรรมที่ควรทำให้แจ้งด้วยปัญญา[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ธรรมที่ควรเจริญด้วยปัญญา[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-การหลีกออกมี ๒ วิธี[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-สติสัมโภชฌงค์ย่อมเกิดตามลำดับดังนี้[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-อานิสงค์โภชฌงค์มี ๗ ประการ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-โภชฌงค์ ๗ รักษาโรคได้[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-พระมหากัสสปหายจากอาพาธเมื่อฟังโภชฌงค์จบลง[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-คนที่ไปถึงมีจำนวนน้อย นอกนั้นย่อมเราะไปตามฝั่ง[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทางสายเอก[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-สติปัฏฐาน ๔[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT][FONT=Tahoma]
    [FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-เวทนา ๓ ภิกษุแทงตลอดแล้วย่อมเป็นผู้หายหิวปรินิพพาน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen]
    [SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-เวทนาทั้งหลายเป็นทุกข์[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-พึงละอนุสัย ๓ ในเวทนา ๓[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-เพราะไม่รู้เวทนา ๓ จึงเกิดอนุสัย[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ผู้ใดอดกลั้นต่อทุกขเวทนาไว้ได้ ผู้นั้นย่อมปรากฎในบาดาล[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-เห็นเวทนา ๓ อย่างไร จึงเรียกว่า เห็นชอบ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ความสงบระงับ ๖ อย่าง[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มาตุคามประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่เป็นที่พอใจของบุรุษ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มาตุคามประกอบด้วยองค์ ๕ ย่อมเป็นที่พอใจของบุรุษ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-บุรุษประกอบด้วยองค์ ๕ ย่อมไม่เป็นที่พอใจของมาตุคาม[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-บุรุษประกอบด้วยองค์ ๕ ย่อมเป็นที่ชอบใจของมาตุคาม[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ความทุกข์ของมาตุคาม ๕ อย่าง[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มาตุคามประกอบด้วยธรรม ๕ ประการย่อมตกนรก[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มาตุคามประกอบด้วยธรรมเหล่านี้ย่อมไปสรรค์[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-มาตุคามประกอบด้วยกำลัง ๕ ประการนี้จึงบังคับสามีได้[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ฐานะ ๕ อย่างที่มาตุคามผู้มิได้ทำบุญไว้ ยากที่จะได้[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-อุปมาโทษของกามมี ๑๐ ประการ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-โสตาปัตติยังคะธรรม[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-สัญญา ๑๐ ประการเมื่อกำหนดดีแล้วย่อมระงับอาพาธได้[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ภิกษุใดด่าบริภาษเพื่อนพรหมจรรย์ต้องประสบต่อความฉิบหาย ๑๑ อย่าง[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทางแห่งความเจริญ และความเสื่อมของคน[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-คำสุภาษิตเป็นคำสูงสุด[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ผู้ใดปราศจากความกำหนัดในเวทนา บัณฑิตกล่าวว่าผู้นั้นล่วงเวทนาทั้งหมด[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ผู้ใดรู้นามรูป ผู้นั้นชื่อว่า ผู้รู้ตาม[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-บุคคลที่ชื่อว่า เป็นผู้มีความเพียร และเป็นนักปราชญ์[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-บุคคลที่ชื่อว่าเป็นอาฌาไนย[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ผู้พิจารณาอริยสัจ ๔ อยู่เนืองๆ แล้วย่อมถึงซึ่งเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-ทุกข์เป็นอันมากในโลกเกิดขึ้นเพราะอุปธิเป็นเหตุ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=#ff0000]-สัตว์ทั้งหลายไปสู่ภพใหม่เพราะอวิชชา[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT][/COLOR][/SIZE]
    [COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][SIZE=4][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen]
    [/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR][/FONT][/FONT]

    [LEFT][/LEFT][/COLOR][LEFT][/left]
    แหล่งที่มาของข้อมูล: พุทโธวาท เรียบเรียงโดย พระ[COLOR=blue][FONT=Tahoma]กิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙[/FONT][/COLOR]<O[IMG]http://cdn.palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif[/IMG]</O[IMG]http://cdn.palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif[/IMG]<O[​IMG]</O[​IMG]</O[​IMG]<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 เมษายน 2013
  7. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พุทธโอวาท ๔ น.13-15 คห.241-282

    -สังขารเป็นปัจจัยแห่งทุกข์ทั้งมวล
    -ทุกข์อย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย
    -ผัสสะเป็นเหตุแห่งทุกข์
    -เวทนาเป็นเหตุแห่งทุกข์
    -ตัณหาเป็นเหตุแห่งทุกข์
    -อุปทานเป็นเหตุแห่งทุกข์
    -ความริเริ่มเป็นเหตุแห่งทุกข์
    -อาหารเป็นเหตุแห่งทุกข์
    [FONT=Cordia New][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][COLOR=black][COLOR=red][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][FONT=Tahoma][SIZE=5][FONT=Tahoma][COLOR=blue][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=red]-ทุกข์ย่อมเกิดขึ้น เพราะความหวั่นไหวเป็นปัจจัย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/COLOR][/COLOR][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [FONT=Cordia New][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][COLOR=black][COLOR=red][SIZE=5][COLOR=blue][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][SIZE=4][FONT=Tahoma][FONT=Cordia New][SIZE=3][FONT=Tahoma][SIZE=5][FONT=Tahoma][COLOR=blue][FONT=Tahoma][COLOR=darkgreen][FONT=Tahoma][SIZE=3][COLOR=red]-ผู้ใดอันตัณหาทิฏฐิ และมานะไม่อาศัยแล้วย่อมไม่ดิ้นรน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/COLOR][/COLOR][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [COLOR=#ff0000]-สัตว์เหล่าใดเข้าถึงอรูปภพสัตว์เหล่านั้นยังไม่รู้ชัดซึ่งนิพพาน[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-นามรูปเป็นของเท็จ นิพพานเป็นของจริง[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้ไม่มีอาสวะเพราะรู้ชอบ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่ มีใจเป็นหัวหน้า[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เวรย่อมไม่สงบ ระงับด้วยการจองเวร[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-คุณของความไม่ประมาท และโทษของความประมาท[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-บัณฑิตย่อมไม่ประมาท[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ยศย่อมเจริญแก่ผู้ที่มีความหมั่น[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ความไม่ประมาทเหมือนทรัพย์อันประเสริฐ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ผู้ใดตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ชื่อว่าใกล้ต่อพระนิพพาน[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-นักปราชญ์ย่อมตามรักษาจิต[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมนำสุขมาให้[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ผู้ใดสำรวมจิตผู้นั้นย่อมพ้นจากบ่วงมาร[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์แก่ผู้มีจิตไม่มั่นคง[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-กายนี้เปรียบเหมือนหม้อ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-กายนี้ไม่นานก็ถมแผ่นดิน[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-พระเสขเท่านั้นที่รู้แจ้งแผ่นดินนี้[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-มุนีพึงเที่ยวไปในบ้านเหมือนแมลงภู่[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-คนโง่รู้ตัวว่าโง่ยังเป็นบัณฑิตได้[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-คนพาลถึงนั่งใกล้บัณฑิตก็ไม่รู้ธรรม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-วิญญูชนเมื่อนั่งใกล้บัณฑิตย่อมรู้ธรรม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ธรรม ๗ ประการนี้มีในท่านผู้ใด ผู้นั้นชื่อว่าไม่ขัดสน[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-บุคคลทำกรรมใดแล้วเดือดร้อนภายหลัง กรรมนั้นไม่ควรทำ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-กรรมใดทำแล้วไม่เดือดร้อน กรรมนั้นควรทำ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-พึงเห็นคนชี้โทษเหมือนชี้ขุมทรัพย์ให้[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-คติของพระอริยะรู้ได้ยาก[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-จงรีบทำความดี[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-พึงสละสุขอันน้อยเพื่อความสุขใหญ่[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ปัจฉิมกาล[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-วัชชีธรรม ๗ ประการ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ตรัสอปริหานิยธรรมแก่สงฆ์[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-อปริหานิยธรรม ๗ หมวดที่ ๒[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-อปริหานิยธรรม หมวดที่ ๓[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-อปริหานิยธรรม หมวดที่ ๔[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-อปริหานิยธรรม หมวดที่ ๕[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงแสดงอปริหานิยธรรม ๖[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จไปยังอัมพลัฏฐิกา[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จนาลันทาคาม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จปาฏลิคาม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงแสดงโทษแห่งศีลวิบัติด้วยบัณฑิตของคนทุศีล ๕ ประการ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-อานิสงค์แห่งศีลสมบัติ ๕ ประการ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-สุนีธะ และวัสสการพราหมณ์อำมาตย์ผู้ใหญ่เข้าเฝ้า[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงพยากรณ์ปาฏลิคาม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงตรัสให้สุนีธะ และวัสสการพราหมณ์บูชาเทวดาเจ้าของที่นั้น[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงเสด็จข้ามแม่น้ำคงคาด้วยอภิญญา[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จโกฏิคาม และแสดงอริยสัจ ๔[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงตรัสถึงคติของชาวนาทิกคาม[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงแสดงธรรมชื่อว่าธรรมาทาส[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จเมืองเวสาลี[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จไปยังบ้านเวฬุวคามแล้วทรงประชวร[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงระงับทุกข์เวทนาด้วยเจโตสมาธิ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงตรัสว่าพระองค์อยู่ในวัยชราเหมือนเกวียนเก่าที่ซ่อมด้วยไม้ไผ่[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-พระสงฆ์จงมีตนเป็นเกราะเป็นที่พึ่ง[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-เสด็จปาวาลเจดีย์แสดงอานิสงค์ของการเจริญอิทธิบาท[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-มารทูลเชิญให้พระองค์ทรงปรินิพพาน[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงปลงพระชนมายุสังขาร[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-แผ่นดินไหวเพราะเหตุ ๘ ประการ[/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ทรงแสดงมหาประเทศ ๔ อันเป็นหลักตัดสินธรรมวินัย[/COLOR]
    [COLOR=red]-ทรงแสดงสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง[/COLOR]
    [COLOR=red]-ตราบใดการปฏิบัติตามพระธรรมยังมีอยู่ โลกนี้จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ [/COLOR]
    [COLOR=red]-ทรงมอบพระธรรมวินัยเป็นศาสดา [/COLOR]
    [COLOR=#ff0000]-ปัจฉิมพุทธโอวาท[/COLOR]



    แหล่งที่มาของข้อมูล: พุทโธวาท เรียบเรียงโดย พระกิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙<O[​IMG]</O[​IMG]<O[​IMG]</O[​IMG]</O[​IMG]<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 เมษายน 2013
  8. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    [COLOR=#0000ff][U][B]พระพุทธศาสนาหลังสมัยพุทธกาล[/B][/U][/COLOR]

    -การหลั่งไหลของพระพุทธศาสนาจากอินเดียสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน #23 (คห.441)
    -การสืบทอดศาสนา #23 (คห.442-445)
    -พุทธศาสนาในลังกา #23 (คห.446)
    -ถ้ำอชันตา วัดถ้ำในพระพุทธศาสนา #23 (คห.447)
    -แรกมีพระพุทธรูป #23 (คห.448)
    -การหลั่งไหลของพระพุทธศาสนาสู่ดินแดนอื่น #23 (คห.449)
    -การประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปในดินแดนประเทศไทยสมัยวัฒนธรรมทวารวดี #23 (คห.450)
    -พระพุทธศาสนา และศิลปกรรมเนื่องในพระพุทธศาสนาสมัยวัฒนธรรมทวารวดี #23 (คห.451)
    -พระพุทธศาสนาเข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิก่อนพระเจ้าอโศกมหาราชส่งสมณฑูตเข้ามาเผยแผ่ #23 (คห.452)
    -จารึกอโศก #23 (คห.453-480)
    -พระเจ้าอโศกมหาราชสร้างสัญจิเจดีย์เป็นพุทธบูชา # (คห.481-500)




     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013
  9. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรื่องเล่านิทานชาดก ๗๐ เรื่อง

    สินทรัพย์มีนับแสน...........หากมาดแม้นหมายมองเห็น
    จะเปิดเผยผ่องเพ็ญ..........อำไพพราวพรายงามตา

    ขอเพียงฉลาดพิศ.............รู้จักคิดใคร่ครวญหา
    ติดปีกแห่งปัญญา.............ออกโบยบินทุกดินแดน

    ทรัพย์ล้ำค่าปรากฎ...........งามหมดจดพิสุทธิ์แสน
    สุดสวรรค์ชั้นเมืองแมน.....มิมลายสูญหายเลย

    ขุมทรัพย์จากชาดก...........หากหยิบยกออกอ่านเอ่ย
    จะเริงรื่นชื่นเชย.................ชมทรัพย์ชั่วนิรันดรฯ


    นิทานชาดก ที่เขียนนี้ได้เขียนแบบเล่าเรื่องเหมือนเล่านิทานทั่วๆไป โดยเอาแต่เนื้อหาของเรื่องมาเล่า เพื่อให้ผู้อ่านรู้เรื่องง่ายขึ้น เพราะต้นฉบับเป็นภาษาบาลี และมีผู้แปลเป็นภาษาไทย แต่ก็แปลชนิดรักษาต้นฉบับเดิมอ่านเข้าใจยาก จึงได้เขียนใหม่ใช้วิธีเล่าเรื่อง แต่ก็รักษาเค้าความเดิมไว้

    นิทานชาดกนี้ เป็นคัมภีร์หนึ่งในทางพระพุทธศาสนา กล่าวถึงกำเนิดของพระพุทธเจ้าที่ได้เสวยพระชาติต่างๆ แต่ละชาติได้แสดงถึงคุณความดีที่พระองค์ได้ปฏิบัติ ซึ่งถือเป็นคติธรรม ที่จะนำเป็นแบบอย่างที่ดีงามได้ ดังนั้น จึงถือกันว่านิทานชาดกนี้เป็นวิธีสอนอย่างหนึ่งในหลายๆวิธี หวังว่าการเล่าเรื่องนิทานชาดกนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านที่ต้องการความเพลิดเพลินกับเนื้อเรื่อง และมีคติสอนใจอยู่ในเรื่องนั้นๆด้วย

    แปลก สนธิรักษ์


    -พญาลิงเผือก
    -อุบาสิกาอุตรา
    -มฆมานพ
    -สิริไสยา
    -มิตตวินทุกะ
    -กระต่ายตื่นตูม
    -พระเจ้านิ้วเพชร
    -ลูกเศรษฐีปลอม
    -พระเจ้าทรงธรรมราช
    -มนต์จินดามณี
    -มหาปทุม
    -คามณีจันท์
    -พญาวานรสองพี่น้อง
    -เศรษฐีสองสหาย
    -พระเจ้าปิงคละ
    -ช้างกับหนอน
    -คหบดีกับแก้วมณี
    -โสมทัต
    -แม่ค้าพุทรา
    -วานรโพธิสัตว์
    -พระเจ้าทธิวาหนะ
    -พราหมณ์ทิพยมนตรีกับพราหมณ์มหามนตรี
    -พญาหนู
    -พ่อค้าทอง
    -พระราชาพรหมทัต
    -พระเจ้ายศปราณี
    -ทุลกบัณฑิต
    -นางอรพิมพ์
    -พระเจ้าอาทิตราช
    -โจรโปริสาท
    -พระเจ้าวิบุลราช
    -พญากาสุปัตตราช
    -พระเจ้าพาราณสี
    -พระเจ้าเรือนทอง
    -ตั๊กแตนกับครุฑ
    -พระจันทราช
    -พระเจ้าสิริจุฑามณี
    -รัตนปโชตกุมาร
    -โสนันทราช
    -นรชีพกุมาร
    -อรินทมราช
    -นรเทพ
    -อาฬวกยักษ์
    -โจรองคุลิมาล
    -นางแพศยาสามา
    -โอรสพระเจ้าพาราณสี
    -ลูกสาวเศรษฐี
    -ปลงตก
    -ดาบสสองพี่น้อง
    -ดอกฟักทิพย์
    -กษัตริย์สิโสรราช
    -พระสุวรรณกุมาร
    -พระสมุทรโฆษ
    -จุลโพธิ
    -อุตตรศรษฐีบุตร
    -ภีมเสน
    -ราชสีห์กับสุนัขจิ้งจ
    -ทุฏฐกุมาร
    -ช้างหน้านาง
    -พญาวานร
    -ลูกลิงฉลาด
    -คหบดีกับภรรยา
    -กษัตริย์พาราณสี
    -พ่อค้าเกวียน
    -สามสัตว์
    -โง่เหลือเข็ญ
    -พระเจ้ามหาสิลวะ
    -เศรษฐีขี้เหนียว
    -พญาราชสีห์
    -ดาบสขี้โกง

    แหล่งที่มาของข้อมูล:
    เล่าเรื่องนิทานชาดก ของ แปลก สนธิรักษ์

    พระอนาคตวงศ์ เป็นพุทธโอวาท
    พระอนาคตวงศ์ เป็นพุทธโอวาท ฉบับพิมพ์ เดือนมิถุนายน ปี พศ. ๒๔๘๒
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013
  10. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    สมาธิ-วิปัสสนา น.35-40 คห.701-800

    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2013
  11. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พระสูตร น.41-45 คห.801-900

    -มหาปรินิพพานสูตร คห.801
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
    - คห.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2013
  12. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พระโบราณ น.46-70 คห.901-1400

    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2013
  13. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล12<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  14. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล13<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  15. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล14<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  16. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล15<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  17. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล16<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  18. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    พระในตำนาน น.71-95 คห.1401-1920

    -พระสมเด็จ #71-75
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -พระ? คห.
    -เหรียญปั๊มก่อนปี 2500 #93
    -พระ? คห.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2013
  19. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p


    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล18<O:p</O:p



    บรรพชนทวา
     
  20. บรรพชนทวา

    บรรพชนทวา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +167
    เรียน ทีมผู้ดูแลเว็ปบอร์ด
    <O:p</O:p

    ความเห็นนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูล19<O:p</O:p

    บรรพชนทวา
     

แชร์หน้านี้

Loading...