เจตสิก ๕๒ เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต รู้อารมณ์เดียวกับจิต อาศัยวัตถุเดียวกับจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 14 กรกฎาคม 2012.

  1. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    [๘๐๔] ในญาณวัตถุหมวดละ ๓ นั้น
    จินตามยปัญญา เป็นไฉน
    ในการงานทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไปด้วยปัญญาก็ดี ในศิลปะทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไปด้วย
    ปัญญาก็ดี ในวิชาทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไปด้วยปัญญาก็ดี บุคคลมิได้ฟังจากผู้อื่น ย่อมได้
    กัมมัสสกตาญาณ หรือย่อมได้สัจจานุโลมิกญาณ ว่ารูปไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง ว่าเวทนาไม่เที่ยง
    ดังนี้บ้าง ว่าสัญญาไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง ว่าสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง ว่าวิญญาณไม่เที่ยง
    ดังนี้บ้าง ย่อมได้อนุโลมิกญาณ ขันติญาณ ทิฏฐิญาณ รุจิญาณ มุติญาณ เปกขญาณ
    ธัมมนิชฌานขันติญาณอันใด ซึ่งมีลักษณะอย่างนั้น นี้เรียกว่า จินตามยปัญญา


    สุตมยปัญญา เป็นไฉน
    ในการงานทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไปด้วยปัญญาก็ดี ในศิลปะทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไป
    ด้วยปัญญาก็ดี ในวิชาทั้งหลายที่ต้องน้อมนำไปด้วยปัญญาก็ดี บุคคลได้ฟังจากผู้อื่นแล้ว จึงได้
    กัมมัสสกตาญาณ หรือได้สัจจานุโลมิกญาณ ว่ารูปไม่เที่ยงดังนี้บ้าง ว่าเวทนาไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง
    ว่าสัญญาไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง ว่าสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง ว่าวิญญาณไม่เที่ยง ดังนี้บ้าง
    ได้อนุโลมิกญาณ ขันติญาณ ทิฏฐิญาณ รุจิญาณ มุติญาณ เปกขญาณ ธัมมนิชฌานขันติญาณ
    อันใด ซึ่งมีลักษณะอย่างนั้น นี้เรียกว่า สุตมยปัญญา


    ปัญญาของผู้เข้าสมาบัติแม้ทั้งหมด เรียกว่า ภาวนามยปัญญา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2012
  2. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    [​IMG]

    ครั้งพระเจ้าพิมพิสารกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล เสียงเปรตก็ร้องอื้ออึง....

    นึกถึงเฮียนิวรณ์ยังไงไม่รู้
     
  3. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    ขอบคุณหลงเข้ามา ติดตามคำอธิบายได้เลย อธิบายไว้ให้หมดแล้วครับ
     
  4. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ภาวนา แปลว่า การเจริญ การอบรม

    อันนี้ก็ถูก หากถือเอาส่วนผล

    เนี่ย ปัญญาเกิดไหม


     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012
  5. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ยก อรรถถา มาแสดง ............

    ต้องการ ยกในส่วนที่ว่าด้วย ธัมมนิชฌานขันติญาณ ซึ่งจัดเป็น สุตมัยยปัญญา

    ทีนี้

    ในอรรถกถา ยังระบุด้วยว่า จินตมัยยปัญญา เป็น สมบัติ หรือ คุณลักษณะของ
    พระโพธิสัตว์เท่านั้น ที่จะอ้างว่ามีได้

    ส่วนสาวกะทั้งหลาย ให้ถือว่า มีสุตมัยยปัญญา ตัวเดียวเท่านั้น เมื่อสำเร็จ ก็จะ
    ไปสู่ ภาวนามัยยปัญญา ไปเลย

    ไม่ต้องมานั่งมี จินตมัยยปัญญา คือ มีความฉลาดในมรรค ด้วยตนเอง โดยไม่ต้อง
    ฟังใครทั้งนั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2012
  6. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075

    ยก อรรถถา มาแสดง ............

    ไปชี้เป็น ชี้ตาย อุปโลกเอาเองไม่ดีหรอก มีแต่ดิ่ง ^^
     
  7. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ก็พิจารณาเอาเองสิว่า จะ เหยียบหน้า พระอรรกถาจารย์
    ที่เขียน พระไตรปิฏก หรือเปล่า

    ถ้าอยากเหยียบหน้า ปฏิเสธ ก็กล่าวตู่ไปเลยว่า สาวกอย่างข้า
    มี จินตมัยปัญญา เว้ยเห้ย

    ส่วน อรรถกถาจารย์ทั้งหลายที่เขียนพระไตรปิฏกมา 2000 กว่าปี
    มีความโง่ ดันไประบุว่า จินตมัยยปัญญามีเฉพาะ มหาสัตว์โพธิสัตว์ เท่านั้น

    ก็เถียง พระอรรถกถาจารย์ไปสิคร้าบ

    ผมแค่ ยก และ ย้ำ ให้คุณ อาจหาญในการเหยียบหน้า อรรถกถาจารย์ เท่านั้น
     
  8. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>๓. เจตสิกฝ่ายดีใช้ในการเจริญพรหมวิหาร</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=5 cellPadding=2 width="95%" bgColor=#ffd9b3><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>เจตสิกฝ่ายดี เรียกว่า อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง คือ</TD></TR><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๑) กรุณาเจตสิก ได้แก่ ความสงสารที่เกิดขึ้นในจิตใจของคนเรา เมื่อเห็นคนอื่น หรือสัตว์อื่นกำลังได้รับความทุกข์ หรือจะได้รับความทุกข์ ในกาลข้างหน้า ความรู้สึกเช่นนี้เรียกว่า มีความทุกข์ของสัตว์เป็นอารมณ์ (ทุกขิตสัตว์)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๒) มุทิตาเจตสิก ได้แก่ ความรู้สึกยินดีที่เกิดขึ้นในจิตใจ เมื่อได้เห็นคนอื่นหรือสัตว์อื่น กำลังได้รับความสุขอยู่ โดยปรารถนาให้เขาเหล่านั้น มีความสุขยิ่ง ๆ ขึ้น อย่าได้พลัดพรากจากความสุขนั้น ๆ เลย ความรู้สึกเช่นนี้เรียกว่า มีความสุขของสัตว์เป็นอารมณ์ (สุขิตสัตว์)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> ในชีวิตประจำวันของเรา ถ้าได้เห็นคนยากจน หรือคนขอทาน กำลังได้รับความทุกข์ หรือได้รับความอดอยากอยู่ จิตใจเราเกิดความสงสาร ปรารถนาต้องการให้เขาพ้นจากความทุกข์ ขณะนั้นกุศลจิต คือกรุณาเจตสิกได้เกิดขึ้นแล้วในจิตใจ ความสงบเยือกเย็นเป็นสุขย่อมเกิดขึ้น ถ้าได้พบกับบุคคล ที่ประสบกับความสุขความสมหวังในชีวิต และจิตใจพลอยแสดงความยินดี ชื่นชมที่เขาได้รับความสุขสมหวังนั้น ปรารถนาให้เขาได้รับความสุขยิ่ง ๆ ขึ้นไปอย่าได้พลัดพรากจากความสุขนั้น ๆ เลย นี้ชื่อว่า มุทิตาเจตสิก ได้เกิดขึ้นในจิตใจของเรา ทำกรุณาและมุทิตาให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ก็ได้ชื่อว่าเป็นผู้เจริญในพรหมวิหารธรรม จิตใจจะมีความอ่อนโยนเป็นสมาธิ ถ้าทำให้มากขึ้น อาจถึงฌานได้ ผู้เจริญอยู่ในพรหมวิหารธรรม จะทำให้มีความสุขปราศจากทุกข์และศัตรู มีความสุขทั้งในยามตื่นและหลับ ทำให้เป็นผู้ฝันดี มีเทวดารักษา เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ ไฟ ยาพิษ และอาวุธไม่กล้ำกรายมาถึง ทำให้สีหน้าผ่องใสเมื่อใกล้ตายก็มีจิตผ่องใส เข้าถึงสุคติภพ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>๔. ปัญญินทรียเจตสิก</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD> เป็นเจตสิกที่มีความสำคัญมาก เมื่อเข้าปรุงแต่งจิตแล้ว จะทำให้จิตนั้นรู้ และเข้าใจในเหตุผล สภาพความเป็นจริงของรูปนาม ทำให้เห็นความเป็นไปของรูปนามว่า รูปนามนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน ที่จะบังคับบัญชาสั่งการ ให้เป็นไปตามความปรารถนาได้ ตลอดจนรู้แจ้งในอริยสัจ </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD height=529>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=55>
    ปัญญามี ๓ ประเภท คือ
    </TD></TR><TR><TD height=437><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๑) ปัญญาที่รู้เรื่องกรรม เรียกว่า กัมมัสสกตาปัญญา รู้ว่าสัตว์ทั้งหลายนั้นมีกรรมเป็นของตน มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นกำเนิด คนหรือสัตว์ทั้งหลายที่ทำกรรมดีกรรมชั่วก็ตาม ย่อมจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น แน่นอนทั้งนั้น เช่น ผู้ที่ฆ่าทำร้ายบุคคลอื่น ก็ย่อมจะต้องถูกฆ่า ถูกทำร้ายจากคนอื่นเช่นเดียวกัน บุคคลใดที่ลักขโมยทำลายทรัพย์เขา ทรัพย์ที่ได้มา ก็ย่อมจะได้รับความวิบัติเช่นเดียวกัน ดูได้จากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน แต่ละวันของคนเรา ถ้าเข้าใจในเหตุผล หรือมีความรู้เรื่องกรรมแล้ว ย่อมจะเห็นได้ชัดเจนถึงผลของกรรมแต่ละคนได้ดี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๒) ปัญญาที่รู้เรื่องวิปัสสนา เรียกว่า วิปัสสนาปัญญา จะเกิดขึ้นกับผู้ที่ได้เข้าปฏิบัติธรรม กำหนดในสติปัฏฐานทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ จะมีความเข้าใจชัด ในเรื่องของรูปนาม (ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ สัจจะ ปฏิจจสมุปบาท) ว่า มีลักษณะเปลี่ยนแปลง ไม่มั่นคง และบังคับบัญชาไม่ได้ ตกอยู่ในกฎของ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นเอง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=129><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=149>๓) ปัญญาที่รู้ในอริยสัจ ๔ เรียกว่า โลกุตตรปัญญา เมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้จิตรู้แจ้งแทงตลอด ในความเป็นจริง คืออริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกขสัจ รู้แจ้งว่ารูปนามเป็นทุกข์ มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่สามารถจะทนอยู่ในสภาพเดิมได้ การเกิดนั้นเป็นทุกข์ การแก่เจ็บตายก็เป็นทุกข์ เป็นต้น สมุทัยสัจ รู้แจ้งในเหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัวโลภเจตสิก หรือ ตัณหา คือ ความพอใจยินดีติดอยู่ในกามคุณอารมณ์ ทำให้ต้องเวียนเกิดเวียนตายอีก หาที่สิ้นสุดไม่ได้ นิโรธสัจ ปัญญาที่เข้าถึงซึ่งความดับทุกข์ คือนิพพาน เป็นการดับสนิทของตัณหา อันเป็นเหตุทำให้เกิดทุกข์ และการเวียนเกิดเวียนตาย มรรคสัจ การรู้แจ้งทางเดินให้ถึงซึ่งนิพพาน ได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>การจำแนกปัญญา</TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="29%">โลกียปัญญา </TD><TD width="71%">ปัญญาที่ยังข้องอยู่ในโลกทั้ง ๓ คือ กามโลก รูปโลก และอรูปโลก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>โลกุตตรปัญญา </TD><TD>ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔</TD></TR><TR><TD vAlign=top>สุตมยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน พระธรรมวินัย หรือพระไตรปิฎก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>จินตามยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการนำเอาสิ่งที่ศึกษามาแล้ว มาคิดพิจารณาเหตุผลตามความเป็นจริง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ภาวนามยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>กัมมัสสกตาปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่รู้ว่าสัตว์ทั้งหลาย มีกรรมเป็นของตนเอง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วิปัสสนาปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่รู้รูปนามขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG][​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>
    กัมมัสสกตาปัญญา เรียกว่า ทสวัตถุสัมมาทิฏฐิ ๑๐ คือ
    ห็นตรงตามความเป็นจริงในเรื่องของกรรม
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="7%" align=right>๑.</TD><TD width="11%" align=middle>เห็นว่า </TD><TD width="82%">บุญทาน ที่ทำย่อมมีผลดี</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๒.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>การบูชา ที่ทำย่อมมีผลดี</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>๓.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>การบวงสรวง ที่ทำย่อมมีผลดี</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๔.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>การทำดีทำชั่วย่อมมีผลทั้งทางตรงและทางอ้อม</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>๕.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>โลกนี้มี ผู้ที่จะมาเกิดในโลกนี้มี</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๖.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>โลกหน้ามี ผู้ที่จะไปเกิดในโลกหน้ามี</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>๗.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>มารดามี ผู้ทำดีทำชั่วต่อมารดาย่อมจะได้รับผล</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๘.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>บิดามี ผู้ทำดีทำชั่วต่อบิดาย่อมจะได้รับผล</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>๙.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>สัตว์ที่ปรากฏกายโตทันที (โอปปาติกกำเนิด คือ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย เทวดา พรหม) มี</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top align=right>๑๐.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ รู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเอง และสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้มี</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ขยาย

    ปัญญาของผู้เข้าสมาบัติแม้ทั้งหมด เรียกว่า ภาวนามยปัญญา

    และ




    พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012
  11. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    เมื่อเช้านี้ ผมเข้่าไปอ่านใน พันทิพย์ มีการ ยกอุบายธรรมของหลวงพ่อสมชายมาแสดง เป็นเรื่องการตรวจสอบ
    การมี สมาบัติ เพื่อทบทวนร่องรอย ภาวนามัยยปัญญา ว่ามี พอใช้ จนถึง
    ขั้น ใช้ได้บ้างไหม

    อุบายของท่านดี ท่านยก นิวรณ์มาตัวเดียว คือ ถีนะมิททะ

    โดยยกให้เป็นคำง่ายๆ แค่ว่า "นอน"

    หากใครก็ตามเกิดสภาวะ ง่วงนอน แล้ว เดินจิตให้เกิดสมาบัติ เพื่อให้
    นิวรณ์ที่เกิดหายไปได้ ก็จะถือว่า มีสมาบัติไว้ใช้ แบบเหยียดแขนเข้า คู้
    แขนออก ก็สามารถเข้าสมาธิ ยังสมาบัติให้เกิด ชำแรก ถีนะ ให้อันตรธาน
    หายไปได้

    แต่ถ้า เข้าสมาบัติไม่ได้ ท่านก็บอกว่า ก็อาจจะเป็นเรื่อง ธาตุขันธ์ ขันธ์
    มันกดทับจิต ก็อาจจะไม่สะดวกในการเข้าสมาบัติ เพื่อตรวจทานภาวนมัยยปัญญา
    ก็เป็นได้

    แต่อันนี้ก็ถือว่า หลวงพ่อสมชายท่านกล่าวอลุ่มอลวย จริงๆ ก็ควรจะเข้าสมาบัติ
    ได้ทุกเมื่อ เช่น หลวงพ่อพุธ ท่านกล่าวว่า ท่านไปผ่าตัด โดนเขารมยาสลบ
    ท่านก็ไม่มัวนั่งเสียเวลา ไม่ต้องพึ่งยา เข้าสมาบัติไปก่อนได้เลย ไม่ยาก ก็แค่
    ใช้ มรณะสติเท่านั้น เป็นต้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2012
  12. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ก็ฟังอรรถกถาอยู่

    แต่อาการไปสอดไส้ สรุปให้ ชี้ให้ ถีบเข้ารู นี้มันไม่ดีหรอก

    อันไหนเป็นทัศนะน้าเอกก็เป็นทัศนะไปสิ อย่าเอาไปรวม
     
  13. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    กั๊กๆ นึกอยู่แล้วว่า จะต้อง เอาทิฏฐิตนลากไปเอา สมาบัต8 มากล่าว
    เพื่อ กลบธรรม

    ก็ให้ไปนั่งพิจารณาให้ดี

    จะ ยก สมาบัติ8 มาเถียง โดย อาศัย ฟังตามผู้อื่น

    หรือ จะเอา ผลสมาบัติ( ไม่ต้องมี 8 หรอก ) อันเกิดจาก ตน สามารถ
    สมาทานได้ดั่งเหยียดแขนเข้า คู้แขนออก มากล่าวแทน

    สมาบัติในตนหากมี ก็จะอนุโลมให้ กล่าวอ้างได้

    แต่ถ้า ไปยก ตัวหนังสือ หรือ กล่าวไพร่ออกไปนอกศาสนา
    นอกกายนอกใจตน มากล่าว ก็เชิญนั่งเสียใจภายหลังไปได้เลย
     
  14. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>๔. ปัญญินทรียเจตสิก</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>เป็นเจตสิกที่มีความสำคัญมาก เมื่อเข้าปรุงแต่งจิตแล้ว จะทำให้จิตนั้นรู้ และเข้าใจในเหตุผล สภาพความเป็นจริงของรูปนาม ทำให้เห็นความเป็นไปของรูปนามว่า รูปนามนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน ที่จะบังคับบัญชาสั่งการ ให้เป็นไปตามความปรารถนาได้ ตลอดจนรู้แจ้งในอริยสัจ </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=529>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=55>
    ปัญญามี ๓ ประเภท คือ
    </TD></TR><TR><TD height=437><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๑) ปัญญาที่รู้เรื่องกรรม เรียกว่า กัมมัสสกตาปัญญา รู้ว่าสัตว์ทั้งหลายนั้นมีกรรมเป็นของตน มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นกำเนิด คนหรือสัตว์ทั้งหลายที่ทำกรรมดีกรรมชั่วก็ตาม ย่อมจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น แน่นอนทั้งนั้น เช่น ผู้ที่ฆ่าทำร้ายบุคคลอื่น ก็ย่อมจะต้องถูกฆ่า ถูกทำร้ายจากคนอื่นเช่นเดียวกัน บุคคลใดที่ลักขโมยทำลายทรัพย์เขา ทรัพย์ที่ได้มา ก็ย่อมจะได้รับความวิบัติเช่นเดียวกัน ดูได้จากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน แต่ละวันของคนเรา ถ้าเข้าใจในเหตุผล หรือมีความรู้เรื่องกรรมแล้ว ย่อมจะเห็นได้ชัดเจนถึงผลของกรรมแต่ละคนได้ดี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>๒) ปัญญาที่รู้เรื่องวิปัสสนาเรียกว่า วิปัสสนาปัญญา จะเกิดขึ้นกับผู้ที่ได้เข้าปฏิบัติธรรม กำหนดในสติปัฏฐานทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ จะมีความเข้าใจชัด ในเรื่องของรูปนาม (ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ สัจจะ ปฏิจจสมุปบาท) ว่า มีลักษณะเปลี่ยนแปลง ไม่มั่นคง และบังคับบัญชาไม่ได้ ตกอยู่ในกฎของ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นเอง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=129><TABLE border=1 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=149>๓) ปัญญาที่รู้ในอริยสัจ ๔ เรียกว่า โลกุตตรปัญญา เมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้จิตรู้แจ้งแทงตลอด ในความเป็นจริง คืออริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกขสัจ รู้แจ้งว่ารูปนามเป็นทุกข์ มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่สามารถจะทนอยู่ในสภาพเดิมได้ การเกิดนั้นเป็นทุกข์ การแก่เจ็บตายก็เป็นทุกข์ เป็นต้น สมุทัยสัจ รู้แจ้งในเหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัวโลภเจตสิก หรือ ตัณหา คือ ความพอใจยินดีติดอยู่ในกามคุณอารมณ์ ทำให้ต้องเวียนเกิดเวียนตายอีก หาที่สิ้นสุดไม่ได้ นิโรธสัจ ปัญญาที่เข้าถึงซึ่งความดับทุกข์ คือนิพพาน เป็นการดับสนิทของตัณหา อันเป็นเหตุทำให้เกิดทุกข์ และการเวียนเกิดเวียนตาย มรรคสัจ การรู้แจ้งทางเดินให้ถึงซึ่งนิพพาน ได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=55>การจำแนกปัญญา</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="29%">โลกียปัญญา </TD><TD width="71%">ปัญญาที่ยังข้องอยู่ในโลกทั้ง ๓ คือ กามโลก รูปโลก และอรูปโลก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>โลกุตตรปัญญา </TD><TD>ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔</TD></TR><TR><TD vAlign=top>สุตมยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน พระธรรมวินัย หรือพระไตรปิฎก</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>จินตามยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการนำเอาสิ่งที่ศึกษามาแล้ว มาคิดพิจารณาเหตุผลตามความเป็นจริง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ภาวนามยปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่เกิดจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD vAlign=top>กัมมัสสกตาปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่รู้ว่าสัตว์ทั้งหลาย มีกรรมเป็นของตนเอง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วิปัสสนาปัญญา</TD><TD>ปัญญาที่รู้รูปนามขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ขอโทษนะ แม้นผมจะไม่ ถีบให้เข้ารู้

    แล้วคุณอ่าน อรรถกถาจารย์ที่ระบุว่า จินตมัยยปัญญามีใน มหาสัตว์
    เท่านั้น

    ส่วน สาวกบุคคล อย่างคุณไม่มีทางมีเนี่ยะ อันนี้ คุณเองอ่านอรรถกถา
    แล้วได้ความนี้หรือเปล่า

    ถ้าได้ ก็ ผมจะพูดซ้ำ มันก็ไม่ต่างกับ ที่คุณอ่านได้

    แต่ถ้า ปฏิเสธ เอาเฉพาะที่ผมกล่าว อันนี้ แปลว่าอะไร แปลว่า คุณเอา
    เรื่องตัวบุคคลมาเป็นใหญ่กว่า อรรถสาระที่อ่านได้จากอรรถกถาจารย์ อย่าง
    นั้นหรือ

    เอ้า เอา ก็เอา

    ถ้าเช่นนั้น

    คุณช่วยอ่าน อรรถกถาจารย์ แล้ว ลองบอกด้วยตัวคุณสิว่า

    คุณอ่านแล้วได้ความอย่างไร สาวกอย่างคุณมีจินตมัยปัญญา ได้หรือไม่ได้ !?
     
  16. JitJailove

    JitJailove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    736
    ค่าพลัง:
    +741
    ในชีวิตประจำวันของเรา ถ้าได้เห็นคนยากจน หรือคนขอทาน กำลังได้รับความทุกข์ หรือได้รับความอดอยากอยู่ จิตใจเราเกิดความสงสาร ปรารถนาต้องการให้เขาพ้นจากความทุกข์ ขณะนั้นกุศลจิต คือกรุณาเจตสิกได้เกิดขึ้นแล้วในจิตใจ ความสงบเยือกเย็นเป็นสุขย่อมเกิดขึ้น ถ้าได้พบกับบุคคล ที่ประสบกับความสุขความสมหวังในชีวิต และจิตใจพลอยแสดงความยินดี ชื่นชมที่เขาได้รับความสุขสมหวังนั้น ปรารถนาให้เขาได้รับความสุขยิ่ง ๆ ขึ้นไปอย่าได้พลัดพรากจากความสุขนั้น ๆ เลย นี้ชื่อว่า มุทิตาเจตสิก ได้เกิดขึ้นในจิตใจของเรา ทำกรุณาและมุทิตาให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ก็ได้ชื่อว่าเป็นผู้เจริญในพรหมวิหารธรรม จิตใจจะมีความอ่อนโยนเป็นสมาธิ ถ้าทำให้มากขึ้น อาจถึงฌานได้ ผู้เจริญอยู่ในพรหมวิหารธรรม จะทำให้มีความสุขปราศจากทุกข์และศัตรู มีความสุขทั้งในยามตื่นและหลับ ทำให้เป็นผู้ฝันดี มีเทวดารักษา เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ ไฟ ยาพิษ และอาวุธไม่กล้ำกรายมาถึง ทำให้สีหน้าผ่องใสเมื่อใกล้ตายก็มีจิตผ่องใส เข้าถึงสุคติภพ
    ...................................................................
    ผู้เจริญอยู่ในพรหมวิหารธรรม นี่แหล่ะ ภาวนา
    ภาวนา หมายความว่า ธรรมที่ควรเจริญ คือ ให้เกิดขึ้นบ่อยๆ
    ในสันดานของตน มี
    -บริกรรมภาวนา เป็นมหากุศล8
    -อุปจารภาวนา เป็น มหากุศล8 และมหากุศลญาณสัมปยุตจิต4
    -อัปปนาภาวนา เป็นมหัคคตกุศล= ฌานลาภีบุคคล

     
  17. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ไม่ใช่เรื่องทิฏฐิหรอก

    ก็นำพระสูตรบทเดียวกับน้าเอกนั้นแล เอามาขยายให้ ว่าท่านหมายถึงอะไร

    และการกล่าววิปัสสนา พึงทราบว่าขณะนั้น จิตมีสมาธิเกิดร่วม

    คงไม่ใช่นั่งนึกเอาอย่างที่เข้าใจ ^^

    หากนึกเอา ก็รู้ เพราะขณะนั้นมันรู้ไม่ตรงธรรมที่ปรากฏ มันเทียบสภาวะไม่ได้
     
  18. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ตามพยาตีนจุดไม่ทันจริงๆ

    คุยภาวนามยปัญญา ยังไม่จบ โดดไปจินตมยปัญญา โดดไปพระโพธิสัตว์ นี่มาลงอรรถกถาจารย์ ^^

    เอาซะอย่างๆ



    อรรถกถาจารย์
    คุณอ่านแล้วได้ความอย่างไร สาวกอย่างคุณมีจินตมัยปัญญา ได้หรือไม่ได้ !?

    โยนิโสมนสิการสัมปทาสูตรที่ ๒
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012
  19. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    กั๊กๆ คุยไม่จบหรอก เพราะมันมีแค่นี้

    มีแรงก็ต่อ

    มีบ่อก็ตักน้ำใช้ละกาน
     
  20. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ฮึย ก็บอกแล้วไงว่า ไม่ได้ ปรักปรำว่า คุณนั่งนึกเอา

    แต่ ยกให้คุณหนะ สามารถเข้าไปเพ่ง(มีสมาธิหล่อเลี้ยงการเห็นได้) โดย
    เข้าไปเห็นขันธ์5 ด้วยอาการต่างๆ จนคุณประจักษ์

    เน้นนะว่า ประจักษ์ ถึงขั้นประจักษ์แจ้ง แต่ทั้งหมด หมายเอาว่าเป็น
    ตามนี้




    คือ ให้เครดิตสุดๆเลยว่า คุณภาวนาได้ยอดเยี่ยม ไม่ผิดเลยแม้แต่นิดเดียว
    โดยมีอาการประจักษ์อนัตตาตามที่ อรรกถาจารย์ อธิบาย

    แต่...............


    ไอ้คุณทำได้ทั้งหมดนั่นหนะ พระอรรถกถาจารย์เมื่อ2000กว่าปี เรียก ความ
    สามารถอย่างคุณที่คุณทำได้เนี่ยะ ว่า "สุตตมัยยปัญญา" เท่านั้น !!!

    *************

    ส่วน ภาวนามัยปัญญา ท่านให้ หมาเอา ความสามารถในการเสร็จสมาบัติ
    โดยไม่ลำบาก เหมือนดั่งเหยียดแขนเข้า คู้แขนออก สมาบัตก็เกิดอย่างง่ายดาย
    จะเล็กๆน้อยๆ หรือ อยู่นานๆ ก็อีกเรื่องหนึ่ง
     

แชร์หน้านี้

Loading...