คาถาจุลชัยะมงคลคาถา(ฟังครั้งแรกทำไมเพราะจัง)

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย manforlove, 1 มิถุนายน 2012.

  1. manforlove

    manforlove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2012
    โพสต์:
    367
    ค่าพลัง:
    +216
    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=-UfXI24YEqk&feature=related"]จุลชัยยะมงคลคาถา : ตัวธรรมอีสาน - YouTube[/ame]
    เพราะจริงๆเลยครับ ความหมายดีนำ
     
  2. manforlove

    manforlove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2012
    โพสต์:
    367
    ค่าพลัง:
    +216
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=e6uk_Zk_6o4&feature=related]ประเพณีแห่เทียน อุบลราชธานี - YouTube[/ame]
    อันนี้ก็น่าดู มีอะไรซ่อนอยู่มากมายทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีดีงาม
     
  3. d_thep

    d_thep เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +170
    เพราะจริงๆเห็นด้วยครับ"ขนลุก"
     
  4. manforlove

    manforlove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2012
    โพสต์:
    367
    ค่าพลัง:
    +216
    พระแก้วองค์นี้ตอนนี้อยู่ที่ใหน ใครตอบได้บ้าง
     
  5. ทัพขวัญชัย

    ทัพขวัญชัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +218
    เพราะดีครับ ฟังคุ้นๆตรง ชัยยะ ชัยยะ
     
  6. ราม อวตาร

    ราม อวตาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +464

    พุทธชัยมังคลัง มีชัยชนะเหนือสิ่งทั้งปวง
     
  7. noinid0209

    noinid0209 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    742
    ค่าพลัง:
    +570
    ผมชอบมากครับ เพราะมาก
     
  8. pisi

    pisi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    122
    ค่าพลัง:
    +244
    บทสวดนี้ ต้นเสียงนำ เป็นเสียงของพระอาจารย์ทองคำ วัดธรรมมงคล สุขุมวิท 101 กทม. (ขณะนี้ ท่านลาสิกขา ไปแล้ว เพื่อดูแลมารดา) น่าจะยังมี cd เสียงบทสวดนี้ และ บทอื่นจำหน่ายที่วัดอยู่ เคยได้ฟังสดๆที่วัด ขนลุกยิ่งกว่านี้อีก
     
  9. โพชน์

    โพชน์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    140
    ค่าพลัง:
    +1,904
    บทสวดชัยน้อย เป็นพระคาถาสำหรับพิธีโบราณ พิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตตยา ในสมัยก่อนสำหรับข้าราชการในสมัยก่อนนี้ สาบานตนว่าจะจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมืองผู้ใดได้เข้าพิธีนี้แล้วไม่รักษาสัจจะที่ให้ไว้ต่อชาติบ้านเมืองมีอันเป็นไปทุกราย ปัจจุบันเมืองไทยไม่ได้ใช้บทนี้แล้วเพราะผู้ใหญ่สมัยก่อนเห็นพุทธานุภาพของบทนี้แล้วเกรงกลัวขึ้นมา
     
  10. seberton

    seberton เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2006
    โพสต์:
    262
    ค่าพลัง:
    +655
    ตอนบวชอยู่ ได้สวดบทนี้ ทำนองนี้ด้วยครับ ^ ^
     
  11. shesun

    shesun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    471
    ค่าพลัง:
    +1,327
    ไพเราะมากค่ะ ขอบคุณเจ้าของกระทู้
     
  12. พุธะระขิตะ

    พุธะระขิตะ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +44
    ครับ...เพราะจริงๆๆๆ พระสายป่าอีสานแถบอุดร สวดกันครับ ได้ยินมาว่า "หลวงปู่มั่นท่านเอามาจากฝั่งลาว" ผิดถูกยังไง...ขออภัยด้วยน่ะครับ
     
  13. หยกแก้ว

    หยกแก้ว สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +5
    อนุโมทนาค่ะ หยกแก้วใช้สวดทุกวัน ชอบมากจนตอนนี้สวดได้จบหมดแล้ว
     
  14. kimberly

    kimberly เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,627
    ค่าพลัง:
    +5,233
    ฟังกี่ครั้งๆ ก็เพราะค่ะ..บทสวดมนต์เป็นคาถาป้องกันได้ (แต่ต้องน้อมจิตลงไปในบทสวดนั้น)
     
  15. blackangel

    blackangel เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    1,750
    ค่าพลัง:
    +1,919
    โอ้ยยย ฟังไม่รู้เรื่องเลยครับ แถมก็ไม่รู้ความหมายด้วย (พอเปิดฟังครั้งแรกผมก็สบถออกมาเลยครับ ว่า เ_ี้ยไรวะนี่)

    ไม่ทราบว่าฟังกันยังไงให้เพราะครับ ???? (อย่าบอกว่าใช้ใจฟังแล้วก็คิดเองเออเองให้ใจน้อมตามไหลไปกับทำนองของบทสวดว่าดูไำพเราะอะไรแบบนี้โดยที่ความหมายก็ไม่รู้ )

    แถม จขกม ก็ยังบอกเองว่าความหมายดี แต่ความหมายคำแปลก็ไม่มีมาให้ ในคลิปก็ไม่มี

    เอาเป็นว่า ผมลองหาใน google แล้วเจอคำแปลนะครับ(แต่ก็ไม่รู้ว่าตรงมั้ยนะ)หวังว่าคงจะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อย

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2012

แชร์หน้านี้

Loading...