พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บทสวดมนต์ต่อครับ


    ชุมนุมเทวดา<O:p</O:p

    (*สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตตะวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ)<O:p</O:p
    สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    (**สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตตะราคัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง ฯ )<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    หมายเหตุ สวดเจ็ดตำนาน ใช้ * ; สวดสิบสองตำนานใช้ **<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    บทอัญเชิญเทวดากลับ<O:p</O:p
    ทุกขัปปัตตา จะ นิททุขาภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ พันธามิ สัพพะโส<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ขอขมาพระรัตนตรัย<O:p</O:p

    วันทามิ พุทธัง , สัพพะ เมโทสัง , ขะถะเม ภันเต , วันทามิ ธัมมัง , สัพพะ เมโทสัง , ขะถะเม ภันเต , วันทามิ สังฆัง , สัพพะ เมโทสัง , ขะถะเม ภันเต

    .<O:p</O:p
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีบูชาพระบรมครูพระเทพโลกอุดร<O:p</O:p

    จะเป็นภาพถ่ายหรือรูปหล่อของหลวงปู่ท่าน หรือพระพิมพ์ที่หลวงปู่ท่านได้อธิษฐานจิตไว้ย่อมใช้ได้ทั้งสิ้น หลวงปู่ท่านโปรดผู้ประพฤติอยู่ในศีลธรรม ชอบอาหารมังสะวิรัติ ชอบฟังคำสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ชอบบูชาด้วยดอกมะลิสด น้ำฝน 1 แก้ว เทียนหนักหนึ่งบาท 1 คู่ ธูปหอม 5 ดอก (คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้าหรือหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปานหรือหลวงพ่อโอภาสี วัดโอภาสี บางมด) ) การปฏิบัติธรรมสังวรณ์ในกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ประกอบด้วยศีล 5 เป็นอย่างน้อย ย่อมเป็นสิ่งพึงพอใจของหลวงปู่และทั้งยังให้ความสุชความเจริญทั้งคดีโลกและคดีธรรมแก่ผู้ปฏิบัติ

    สำหรับพิมพ์อรหันต์ พิมพ์ปิดตา และพิมพ์มหากัจจายนะซึ่งเป็นองค์เดียวกันแต่ปางต่างกันหากจะอาราธนาอย่างพิศดารก็ย่อมกระทำได้ กล่าวคือพิมพ์อรหันต์ใหญ่ พิมพ์อรหันต์กลางและพิมพ์อรหันต์น้อย อยู่ในหมวดพระมหากัจจายนะรูปงามซึ่งเป็นรูปเดิมก่อนการอธิษฐานวรกายให้ต่อท้ายด้วยคาถาดังนี้

    พิมพ์อรหันต์
    อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ รูปะวะระเชยยะสิทธิเม
    (เชยยะ อ่านว่า ไชยะ ; รูปะวะระ แปลว่า รูปงาม)
    *** โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ รูปะวะระเชยยะสิทธิเม ***

    สำหรับสำหรับพิมพ์พระปิดตาซึ่งเป็นปางอธิษฐานวรกายให้สวดพระคาถา โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา แล้วต่อท้ายด้วยพระคาถาต่อไปนี้
    พิมพ์พระภควัมปติ(ปิดตา)
    ควัมปติ จะ มหาเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม
    *** โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา ควัมปติ จะ มหาเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม ***

    สำหรับพิมพ์พุงพลุ้ยที่นิยมเรียกกันว่า พระสังกัจจายน์ คำนี้ไม่มีศัพท์นี้ในภาษาบาลี ที่ถูกต้องคือ พระมหากัจจายนะ เถระเจ้าอัน
    เป็นปางหลังจากที่นิมิตวรกายแล้ว ให้สวดพระคาถา โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา แล้วต่อท้ายด้วย พระคาถาต่อไปนี้
    อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม
    ***โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม ***
    จะเห็นว่าตัดเอาคำว่า รูปะวะระออกไปเพราะสิ้นความงดงามแล้ว

    พระพิมพ์ของคณะพระเทพโลกอุดรนั้นทุกรูปแบบทุกพิมพ์ทรงมีอานุภาพครอบจักรวาล อาราธนาทำน้ำมนต์ประสิทธิ์ยิ่งนัก โดยให้นำเอาพระแช่ในภาชนะที่บรรจุน้ำเรียบร้อยแล้ว บูชาด้วยดอกไม้ จุดธูปเทียน แล้วอธิษฐานตามความมุ่งหมาย เสร็จแล้วให้รีบนำพระขึ้นเช็ดน้ำด้วยสำลีหรือผ้าสะอาด ผึ่งลมให้แห้งก่อนนำไปบรรจุตลับ องค์พระจะไม่ละลายลบเลือนและไม่ควรแช่ในน้ำนานเกินควร จงทะนุถนอมให้จงดี เพราะหาไม่ได้อีกแล้ว

    สำหรับท่านที่มีพระอันเป็นทิพยสมบัติอันทรงคุณค่า โดยได้รับสืบทอดมาจากบรรพชนหรือได้รับจากทางใดทางหนึ่งก็ตาม เสมือนมีแก้วสารพัดนึกอยู่กับตัว ไม่จำเป็นต้องขวนขวายในอิทธิวัตถุอื่นอีก<O:p</O:p

    วิธีบูชาพระบรมครูพระเทพโลกอุดร

    คำบูชาบรมครูพระโลกอุดร
    นะโมตัสสะภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯลฯ ( 3 จบ )<O:p</O:p
    โย อะริโย มะหาเถโร อะระหัง อะภิญญาธะโร ปฎิสัมภิทัปปัตโต เตวิชโช พุทธะสาวะโก พะหู เมตตาทิวาสะโน มะหาเถรา นุสาสะโก โส โลกุตตะโร นาโม อัมเหหิ อะภิปูชิโต อิฐะ ฐานูปะมาคัมมะ กุสะเล โน นิโยชะเย ปุตตะเมวะ ปิยัง เทสิ มัคคะผะลัง วะ เทสสะติ ปะระมะสาริกะธาตุ วะชิรัญจา ปิวานิตัง โส โลเก จะ อุปปันโน เอเกเนวะ หิตังกะโร อะยัง โน โข ปุญญะลาโภ อัปปะมัตโต ภะเวตัพโพ สาธุกันตัง อะนุกะริสสามะ ยัง เวเรนะ สุภาสิตัง โลกุตตะโร จะ มหาเถโร เทวะตา นะระปูชิโต โลกุตตะระคุณัง เอตัง อะหัง วันทามิ ตัง สะทา มะหาเถรา นุภาเวนะ สุขัง โสตถี ภะวันตุ เม

    บทสวด แบบย่อหรืออาราธนาพระพิมพ์ (ได้ทุกทรงพิมพ์)<O:p</O:p
    โลกุตตะโร ปัญจะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา
    หรือภาวนา ๓ จบ , ๗ จบ , ๙ จบ (เช้า-เย็น ตื่นนอนและก่อนนอน)<O:p</O:p
    โลกุตตะโร ปัญจะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา เมตตาลาโภ นะโสมิยะ อะหะพุทโธ

    หมายเหตุ : บทความที่นำมาเสนอนี้ได้รับการอนุญาตในการคัดลอกและเรียบเรียงเพื่อเผยแพรเป็นวิทยาทานจากท่าน อาจารย์ ประถม อาจสาครเป็นที่เรียบร้อยแล้ว นับเป็นพระคุณและความกรุณาอย่างยิ่ง<O:p</O:p

    ผมขอเสริมนะครับ ท่านสามารถอาราธนาเป็นภาษาไทย ได้นะครับ ถ้ายังจำบทสวดของท่านไม่ได้ครับ

    ท่านที่ห้อยพระหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ที่ท่านเมตตาเสกให้นั้น หากมีความจำเป็นที่ต้องไปในสถานที่อโคจรทั้งหลาย ผมมีบทสวดที่ใช้ในการนี้มาฝากทุกท่านครับ

    ก่อนที่จะเข้าไปในสถานที่อโคจรให้สวด อิติภะคะโว
    กลับออกมาจากสถานที่อโคจรให้สวด โสภะคะวา

    หรือก่อนที่จะเข้าไปในสถานที่อโคจรให้สวด อะระหัง
    กลับออกมาจากสถานที่อโคจรให้สวด หังระอะ

    สำหรับท่านที่ได้บูชาพระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตไว้ให้นั้น ผมขอเรียนชี้แจงให้ทราบกันนะครับว่า การวางพระพิมพ์หรือวัตถุมงคลต่างๆ ต้องวางไว้ในที่เหมาะสม ควรใช้พวงมาลัยไว้พระพิมพ์ (เป็นการไหว้หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร และเทวดาผู้ที่รักษาพระพิมพ์) พวงมาลัยที่ใช้ไหว้นั้น ต้องเป็นพวงมาลัยที่มีดอกรัก ,ดอกมะลิ ,ดอกกุหลาบ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แต่ห้ามใช้พวงมาลัยที่เป็นดอกดาวเรืองโดยเด็ดขาด ส่วนการวางพวงมาลัย ควรหาพานมาเพื่อใช้ในการวางพวงมาลัยครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    หากท่านใดที่ได้ทำบุญไม่ว่าจะเป็นการทำบุญเรื่องอะไรก็ตาม ควรที่จะกรวดน้ำให้กับผู้เสก,ผู้สร้าง และเทวดาประจำองค์พระพิมพ์ด้วยทุกๆครั้งนะครับ<O:p</O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
    **************************************************


    ไหว้ 5 ครั้ง<O[​IMG]</O[​IMG]



    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ )<O[​IMG]</O[​IMG]



    วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    [​IMG]

    คัดลอกจาก http://www.konmeungbua.com/saha/Lung...pu_armpan.html<O[​IMG]</O[​IMG]

    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาไร ตามแต่เหมาะต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวนั้น ถ้ามีดอกไม้ธูปเทียนก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประณมมือว่า<O[​IMG]</O[​IMG]
    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตามของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโน สนฺทิฆฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหีติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 3 ว่าพระสังฆคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโยทกฺขิเนยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบ ของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่งพับเพียบประณมมือตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้ว กราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอ กราบไหว้คุณท่านบิดาและมารดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    เลี้ยงลูกเฝ้ารักษา แต่คลอดมาจึงเป็นคน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แสนยากลำบากกายไป่คิดยากลำบากตน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ในใจให้กังวลอยู่ด้วยลูกทุกเวลา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามกินพอลูกร้องก็ต้องวางวิ่งมาหา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามนอนห่อนเต็มตาพอลูกร้องก็ต้องดู<O[​IMG]</O[​IMG]
    กลัวเรือดยุงไรมดจะกวนกัดรีบอุ้มชู<O[​IMG]</O[​IMG]
    อดกินอดนอนสู้ ทนลำบากหนักไม่เบา<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณพ่อแม่มากนักเปรียบน้ำหนักยิ่งภูเขา<O[​IMG]</O[​IMG]
    แผ่นดินทั้งหมดเอามาเปรียบคุณไม่เท่าทัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    เหลือที่ จะแทนคุณ ของท่านนั้น ใหญ่อนันต์<O[​IMG]</O[​IMG]
    เว้นไว้ แต่เรียนธรรม์ เอามาสอนพอผ่อนคุณ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สอนธรรมที่จริงให้ รู้ไม่เที่ยงไว้เป็นทุน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แล้วจึงแสดงคุณ ให้เห็นจริงตามธรรมดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่นแหละจึงนับได้ ว่าสนองซึ่งคุณา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ใช้ค่าข้าวป้อนมาและน้ำนมที่กลืนกิน ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผุ้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์และครูบาอาจารย์ เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอนอบน้อมคุณแด่ท่านครู ผู้อารี<O[​IMG]</O[​IMG]
    กรุณาและปรานีอุตส่าห์สอนทุก ๆ วัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยังไม่รู้ ก็ได้รู้ ส่วนของครูสอนทั้งนั้น<O[​IMG]</O[​IMG]
    เนื้อความทุกสิ่งสรรพ์ดีชั่วชี้ ให้ชัดเจน<O[​IMG]</O[​IMG]
    จิตมากด้วยเอ็นดูอยากให้รู้เหมือนแกล้งเกณฑ์<O[​IMG]</O[​IMG]
    รักไม่ลำเอียงเอนหวังให้แหลมฉลาดคม<O[​IMG]</O[​IMG]
    เดิมมืดไม่รู้แน่เหมือนเข้าถ้ำเที่ยวคลำงม<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงสัยและเซอะซมกลับสว่างแลเห็นจริง<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณส่วนนี้ควรไหว้ ยกขึ้นไว้ ในที่ยิ่ง<O[​IMG]</O[​IMG]
    เพราะเราพึ่งท่านจริงจึงได้รู้ วิชาชาญ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]

    (บทประพันธ์สรรเสริญคุณมารดาบิดา และ ครูบาอาจารย์ของ ท่านอาจารย์ จางวางอยู่ เหล่าวัตร วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    ลิขสิทธิ์เป็นของ ท่านเจ้าคุณพระโศภนศีลคุณ (หลวงปู่หลุย พาหิยาเถร) วัดเทพศิรินทราวาส)
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    ต่อไปนี้ไม่ต้องประณมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่อง และร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจังไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้งพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณมีมารดาบิดา เป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือพระมหากษัตริย์ ทั้งเทพยดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยกมือไม่ขึ้น ก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้เป็นเครื่องพยุงตนให้เป็นคนดี ไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดี ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่ง ๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และ ตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มขั้นของตน ๆ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ

    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญญาณวรเถระ )

    http://72.14.235.104/search?q=cache:...h&ct=clnk&cd=7

    [​IMG]

    สมเด็จพระพุทธโฆษจารย์ นามเดิม เจริญ สุขบท เกิดในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2415 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรนาย ทองสุก และนางย่าง

    เมื่ออายุ 8 ปี ได้เป็นศิษย์ของท่านเจ้าคุณชลโธปมคุณมุณี (พุฒ ปุณณกเร) ปฐมวัยอาวาสวัดเขาบางทราย

    เมื่ออายุ 12 ปีได้บรรพชาที่วัดเขาบางทราย และเข้าศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดราชบพิธอุปสมบทเมื่อวันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2435 ที่วัดเขาบางทราย จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2439 ได้ศึกษาพระวินัยปิฎกในสำนัก สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่วัดเทพศิรินทราวาส

    "ตาบุญ (พระยาธรรมปรีชา) ผู้เป็นอาจารย์สอนบาลีของ
    เจ้าพระคุณสมเด็จฯ มอบช้างเผือกส่งเข้ามาให้ "
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชิรญาณวโรรส ออกพระโอษฐ์รับสั่งเมื่อครั้งสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร) สอบไล่ภาษาบาลี ในมหามงกุฎราชวิทยาลัยได้ที่ 1ทุกชั้นเป็นลำดับมา

    พ.ศ.2441 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระราชาคณะที่พระอัมราภิลักขิต เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลปราจีนบุรี ต่อมาได้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้เลื่อนสมณศักดิ์เรื่อยมา

    พ.ศ.2471 โปรดให้สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

    พ.ศ.2476กรรมการเถรสมาคมมีมติให้ท่าน เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระสังฆราชเจ้าซึ่งสิ้นพระชนม์ ประมวลเกียรติคุณพิเศษสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร)เป็นพระเถระบริหารงานพระศาสนาถึง 5 แผ่นดิน คือแต่รัชกาลที่ 5-9 เป็นพระราชาคณะแต่อายุ 28 ปี เป็นสมเด็จพระราชาคณะแต่อายุ 57 ปี นับเป็นพระเถระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พรรษาน้อยกว่า พระเถระหลายรูปเป็นเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส แต่อายุ 28 ปี ถึง 80 ปีรวม 53 ปี นับว่ายาวนานที่สุดไม่มีใครเทียบได้
    เมื่อสอบนักธรรม หรือบาลีจะสอบได้ที่ 1 ทุกชั้นทุกประโยคเป็นรูปเดียวในสังฆมณฑล ดำรงตำแหน่งแม่กองธรรมสนามหลวง แม่กองบาลีสนามหลวง องค์เดียวกัน
    ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2494เวลา 10.30 น. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเระ)มรณภาพด้วยโรคเนื้องอกที่ตับรวมอายุได้ 80 ปี พรรษาที่ 59

    ความคิดเห็นส่วนตัวผม
    ท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) ท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) ท่านบอกกับผู้ที่ไปกราบท่านว่า ขอให้ทุกๆวันได้ไหว้ 5 ครั้ง จะได้เป็นศิริมงคลกับตนเอง จะเหมือนกับชื่อของท่าน (เจริญ) ครับ ท่านเจ้าคุณนรเอง ก็มีความเคารพในท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ)มาก โดยท่านเจ้าคุณนรเอง เวลาเดินผ่านกุฎิของท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ)ทุกครั้ง ท่านเจ้าคุณนร ก็จะก้มลงกราบที่กุฎิอยู่ทุกครั้งครับ

    .*********************************************.
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ถวายพรพระ<O:p</O:p


    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ ( ๓ จบ )<O:p</O:p


    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ<O:p</O:p

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฎฐิโก อะกาลิโก เอสิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ<O:p</O:p

    สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปะริสะยุคานิ อัฎฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
    <O:p</O:p

    พระพุทธชัยมงคลคาถา<O:p</O:p

    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง<O:p</O:p
    คะรีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง<O:p</O:p
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง<O:p</O:p
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะถัทธะยักขัง<O:p</O:p
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง<O:p</O:p
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง<O:p</O:p
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:pอุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง<O:p</O:p
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง<O:p</O:p
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    กัตตะวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา<O:p</O:p
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ<O:p</O:p
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง<O:p</O:p
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง<O:p</O:p
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง<O:p</O:p
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต<O:p</O:p
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง<O:p</O:p
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง<O:p</O:p
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิระวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
    <O:p</O:p
    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา<O:p</O:p
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที<O:p</O:p
    หิตตะวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ<O:p</O:p
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ
    <O:p</O:p
    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง<O:p</O:p
    ปูเรตตะวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ<O:p</O:p
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง นันทิวัฑฒะโน<O:p</O:p
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล<O:p</O:p
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร<O:p</O:p
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
    <O:p</O:p
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฎฐิตัง<O:p</O:p
    สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ<O:p</O:p
    ปะทักขินัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขินัง<O:p</O:p
    ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา<O:p</O:p
    ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ
    <O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<O:p</O:p

    หมายเหตุ ถ้าต้องการสวดให้กับตัวเอง ให้เปลี่ยนจากภะวะตุ เต เป็น เม<O:p</O:p

    คำแปลพุทธชัยมงคลคาถา<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี ได้ชนะพญามาร ผู้นิรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขละ พร้อมด้วยเสนามารโห่ร้องก้องกึก ด้วยธรรมวิธีทานบารมีเป็นต้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น
    <O:p</O:p
    .พระจอมมุนี ได้ชนะอาฬวกยักษ์ ผู้มีจิตกระด้าง ปราศจากความอดทน มีฤทธิ์พิลึกยิ่งกว่าพญามารเข้ามาต่อสู้ยิ่งนักจนตลอดรุ่ง ด้วยวิธีทรมาณเป็นอันดี คือ พระขันตี (ความอดทน) ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี ได้ชนะช้างตัวประเสริฐชื่อ นาฬาคิรี เป็นช้างเมายิ่งนัก แสนที่จะทารุณ ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้ำ คือพระเมตตา ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี มีพระหฤทัยไปในที่จะกระทำอิทธิปาฏิหาริย์ ได้ชนะโจรชื่อองคุลิมาล (ผู้มีพวงคือนิ้วมนุษย์) แสนร้ายกาจมีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ ไปสิ้น ๓ โยชน์ ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี ได้ชนะความกล่าวร้ายของนางจิญจมาณวิกา ทำอาการประหนึ่งว่ามีครรภ์ เพราะทำไม้มีสัณฐานอันกลม ให้เป็นประดุจมีท้อง ด้วยวิธีสมาธิอันงาม คือความระงับพระหฤทัยในท่ามกลางหมู่ชน ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี รุ่งเรืองแล้วด้วยประทีป คือปัญญา ได้ชนะสัจจกนิครนถ์ ผู้มีอัชฌาสัยที่จะสละเสียซึ่งความสัตย์ มีใจในที่จะยกถ้อยคำของตน ให้สูงดุจยกธง เป็นผู้มืดมนยิ่งนัก ด้วยเทศนาญาณวิธี คือรู้อัชฌาสัยแล้ว ตรัสเทศนา ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนีโปรดให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส นิรมิตกายเป็นนาคราชไปทรมาน พญานาคราช ชื่อนันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีอันให้อุปเทห์แห่งฤทธิ์ แก่พระเถระ ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p

    .พระจอมมุนี ได้ชนะพรหมผู้มีนามว่า ท้าวพกา ผู้มีฤทธิ์ มีอันสำคัญตนว่า เป็นผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีมืออันท้าวภุชงค์ คือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดตรึงไว้แน่นแฟ้นแล้ว ด้วยวิธีวางยาอันพิเศษคือเทศนาญาณ ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น<O:p</O:p
    นรชนใด มีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดก็ดี ระลึกก็ดี ซึ่งพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถา แม้เหล่านี้ทุก ๆ วัน นรชนนั้นจะพึงละเสียได้ ซึ่งอุปัทวันอันตรายทั้งหลาย มีประการต่าง ๆ เป็นเอนก ถึงซึ่งวิโมกขสิวาลัย อันเป็นบรมสุขแล . <O:p</O:p
    มหาการุณิโก นาโถ ผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ประกอบแล้วด้วย พระมหากรุณา หิตายะสัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ยังบารมีทั้งหลายทั้งปวงให้เต็ม เพื่อประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง ถึงแล้วซึ่งความตรัสรู้อันอุดม เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ด้วยความกล่าวคำสัตย์นี้ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน .<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    หมายเหตุ การภาวนาพระพุทธชัยมงคลคาถา<O:p</O:p


    . เมื่อเผชิญกับศัตรูหมู่มาก ซึ่งมุ่งจะทำลายความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการสร้างสรรค์สิ่งดีงามของเรา ทำให้เราท้อถอยและท้อแท้ด้วยเหตุผลต่างๆ ให้ภาวนาบทที่ ๑ ( มั่นใจในการทำความดี ในเจตนาดี และหวังดีของเราเอง แล้วมุ่งหน้ากระทำต่อไป จึงจะชนะศัตรูและผ่านเหตุการณ์นี้ไปได้ )<O:p</O:p

    . เมื่อเผชิญกับผู้ที่มีจิตใจหยาบกระด้าง ไม่ได้ฝึกฝนตนเองในเรื่องวินัยและมารยาท ให้ภาวนาบทที่ ๒ ( ในการที่เราเจอกับคนที่จิตใจกระด้าง หยาบคาย นับว่าเป็นโอกาสให้เราฝึกขันติธรรม และหากเราฝึกได้ดี ก็จะสามารถชนะใจคนแข็งกระด้าง ทำให้เขายอมรับข้อเสนอของเราและทำประโยชน์ร่วมกันได้ )<O:p</O:p

    . เมื่อเผชิญกับสัตว์ดุร้าย ให้ภาวนาบทที่ ๓ ( แม้ว่าสัตว์จะดุร้าย เราก็ควรแผ่เมตตาให้ความเอ็นดู ไม่ควรฆ่า หรือใช้วิธีรุนแรง ด้วยความเมตตานี้ จะทำให้มนุษย์กับสัตว์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ )<O:p</O:p

    . เมื่อเผชิญกับโจร มุ่งทำร้ายเราหรือก่อนที่จะไปต่อสู้กับผู้ร้ายในสถานการณ์ที่ต้องสู้ไม่มีทางเลือกอื่น ให้ภาวนาบทที่ ๔ ( วิธีที่ดี คือ ต้องพยายามทำให้เราเป็นฝ่ายเหนือกว่าเพื่อควบคุมสถานการณ์ให้ได้เสมอ เมื่อเราทำให้เขายอมจำนนได้แล้ว จึงค่อยหาโอกาสแนะนำสิ่งที่ดีแก่เขาภายหลัง ด้วยเจตนาดีและมีเมตตา )<O:p</O:p

    . เมื่อต้องเจอกับคำครหา นินทา การใส่ความให้เสียหาย ให้ภาวนาบทที่ ๕ ( เบื้องต้นต้องสงบจิตใจไว้ก่อน อย่างน้อยก็ตระหนักถึงข้อที่ว่า การนินทานั้น เป็นหนึ่งในโลกธรรม คือ เป็นสิ่งประจำโลก แม้พระพุทธองค์ยังมีคนกล่าวร้ายได้ จากนั้นจึงพิจารณาเรื่องที่เกิดขึ้นด้วยสติสัมปชัญญะ หากจะโต้ตอบต้องตอบโต้ตามความเป็นจริง หากเรื่องที่เกิดขึ้นไม่จริง ผู้กล่าวหาย่อมแพ้ภัยตนเองไปในที่สุด)<O:p</O:p

    . เมื่อต้องตอบโต้คำถามจากผู้มีความเห็นผิดทะนงตัว หรือต้องโต้วาทีเพื่อหาข้อยุติด้วยหลักการและเหตุผลที่ถูกต้อง ให้ภาวนาบทที่ ๖ ( เมื่อเผชิญกับผู้ที่โอ้อวดยกเหตุผลต่างๆ เพื่อมาหักล้างศีลธรรม ความถูกต้องดีงาม เราจำเป็นต้องโต้ด้วยเหตุผลที่ชัดเจนกว่า โดยแยกแยะให้เขาเห็นข้อบกพร่องในเหตุผลของเขา ถ้าเป็นปัญหา ที่ต้องตอบตรงๆ ก็ยกความเป็นจริงขึ้นหักล้าง บางอย่างอาจถามย้อนก่อนตอบ เพื่อให้ผู้ถามเห็นข้อบกพร่องในคำถามและเหตุผลที่ตนยกขึ้นถาม อย่างไรก็ตาม บางคำถามที่ควรงดเว้นไม่ควรตอบให้เสียเวลา )<O:p</O:p

    . เมื่อต้องเผชิญกับผู้ที่มีเล่ห์เหลี่ยม มากด้วยอุบาย ให้ภาวนาบทที่ ๗ ( เหตุการณ์บางอย่าง เราอาจพึ่งผู้อื่น เพื่อช่วยคลีคลายสถานการณ์ โดยเลือกผู้ที่มีประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ ช่วยจัดการให้เรียบร้อย )<O:p</O:p

    . เมื่อต้องเผชิญกับผู้ใหญ่ที่มีความเห็นผิด ผู้มีทิฐิมานะมาก ทั้งมีอำนาจในสังคม เป็นที่รู้จัก และนับถือของคนทั่วไป ต้องทำใจให้เป็นสมาธิด้วย การภาวนาบทที่ ๘ ( เมื่อเราเผชิญกับปัญหาที่สำคัญในระดับที่เป็นหลักการ หรือนโยบาย ซึ่งแม้ผู้ใหญ่มีอำนาจวาสนา เป็นที่ยอมรับนับถึอของคนทั่วไป ยังมีความเห็นผิดจากหลักการตามความเป็นจริง เราต้องแม่นยำในหลักการพิจารณาหลักการ หรือนโยบายนั้นอย่างรอบคอบ แล้วชี้แจงให้เห็นถึงความบกพร่องและผลเสียที่เกิดขึ้นในระยะยาว ทั้งนี้การชี้แจงกับผู้ใหญ่ต้องมีเหตุผลชัดเจน ชี้แจงให้แจ่มแจ้งว่าหลักการ วิธีการ และเป้าหมายของกิจการนั้นๆ มีความขัดแย้งกันอย่างไร มีจุดบกพร่องที่สำคัญตรงไหนบ้าง และอย่าลืมว่าหลังจากกระบวนการทางปัญญาสิ้นสุดลง เรากับผู้ใหญ่นั้น ยังคงมีความสัมพันธ์ร่วมงานกันได้ดังเดิม หรืออาจจะดีกว่าเดิม เพราะได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันด้วยความบริสุทธิ์ใจ )
    <O:p</O:p
    อานิสงส์เบื้องต้น ในการภาวนาชัยมงคลคาถานั้น เป็นการยับยั้งการตัดสินใจ อย่างหุนหันพลันแล่น ไม่รอบคอบ ซึ่งอาจให้ผลร้ายตามมาอย่างคาดไม่ถึง และที่สำคัญ เป็นการ เรียกสติกลับคืนมา เพื่อให้จิตใจมั่นคง เมื่อจิตใจมั่นคงแล้ว จะทำให้เราจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างรอบคอบมากขึ้น และได้ผลดีย้อนกลับมามากขึ้นด้วย<O:p</O:p
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สิ่งที่ทุกๆท่านได้ร่วมบุญกันไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือภัตตาหารก็ดี ,การสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมก็ดี ,การสร้างกุฎิดินก็ดี หรือการขุดเจาะบ่อน้ำบาดาลก็ดี จะได้เห็นเป็นรูปร่าง ผมเชื่อว่าทุกๆท่านย่อมมีความปลื้มอกปลื้มใจ อิ่มอกอิ่มใจกันครับ

    (รูปจากกระทู้ให้ร่วมกันสร้าง เราจะมาโปรดสัตว์ไม่ให้สร้างคนเดียว และกระทู้ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร )

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • b01.JPG
      b01.JPG
      ขนาดไฟล์:
      69.1 KB
      เปิดดู:
      52
    • b02.JPG
      b02.JPG
      ขนาดไฟล์:
      54.2 KB
      เปิดดู:
      52
    • b03.JPG
      b03.JPG
      ขนาดไฟล์:
      79.8 KB
      เปิดดู:
      46
    • k01.JPG
      k01.JPG
      ขนาดไฟล์:
      34.6 KB
      เปิดดู:
      54
    • k02.JPG
      k02.JPG
      ขนาดไฟล์:
      42.3 KB
      เปิดดู:
      59
    • k03.JPG
      k03.JPG
      ขนาดไฟล์:
      47.4 KB
      เปิดดู:
      70
    • k04.JPG
      k04.JPG
      ขนาดไฟล์:
      33.7 KB
      เปิดดู:
      51
    • n01.JPG
      n01.JPG
      ขนาดไฟล์:
      43.3 KB
      เปิดดู:
      47
    • n02.JPG
      n02.JPG
      ขนาดไฟล์:
      47.2 KB
      เปิดดู:
      55
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    วัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดประจำวังหน้า) ปัจจุบันนี้ คือวัดอะไรหรือครับ ใช่วัดพระแก้วหรือไม่
     
  6. Sunny

    Sunny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    1,405
    ค่าพลัง:
    +8,071
    อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติครับ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    บริเวณของวังหน้านั้น ในปัจจุบันประกอบด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร ,โรงละครแห่งชาติ และวิทยาลัยนาฎศิลป์ ส่วนวัดบวรสถานสุทธาวาส ซึ่งเป็นวัดประจำวังหน้านั้น ปัจจุบันอยู่ในวิทยาลัยนาฎศิลป์ครับ ผมเองเคยได้เข้าไปกราบพระประธานในพระอุโบสถมาแล้ว องค์พระประธานนั้น เป็นพระปางห้ามญาติครับ

    [​IMG]
    วัดบวรสถานสุทธาวาส

    [​IMG]
    พระประธานในพระอุโบสถ

    [​IMG]

    [​IMG](รูปโดยคุณเม้าตาอิน)
    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (วังหน้าองค์ที่ 4 แต่ตำแหน่งเทียบเท่ากับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)

    [​IMG]
    กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (วังหน้าองค์ที่ 5 ซึ่งเป็นองค์สุดท้าย) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว


    หมายเหตุ รูปจากหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ และคุณเม้าตาอิน ผมขอขอบพระคุณหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและคุณเม้าตาอินเป็นอย่างสูงครับ
    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2007
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันนี้ข้าพเจ้า,ภรรยา และครอบครัว ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพทอดผ้าป่าสามัคคี วัดศรีบุญเรือง อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น เพื่อสร้างพระอุโบสถ ขอให้ คุณบิดา มารดา พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ , คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้งหมด ,พระอรหันต์ทุกๆพระองค์,พระมหาโพธิสัตว์และพระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์ และทั้ง ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ผู้มีพระคุณ ญาติกาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร ปู่ ย่า ตา ยาย เทวดาประจำตัวข้าพเจ้า ,เทวดาประจำองค์พระพิมพ์ทุกองค์ ,พระมหากษัตริย์ทุกๆพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช,สมเด็จพระเอกาทศรถ,สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ,พระยาพิชัยดาบหัก ,กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ,พระสยามเทวาธิราช ,พระภูมิ-เจ้าที่ที่บ้านข้าพเจ้า ,แม่ย่านางรถของข้าพเจ้า,ผู้ที่เสียสละให้กับแผ่นดินไทยทุกท่าน ,ท่านผู้เสกทุกท่าน ,เจ้าของและผู้สร้างพระพิมพ์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร-พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าทุกท่าน-พระพิมพ์ของวังหน้าและพระกรุวัดพระแก้วทุกท่าน,ท่านผู้เสกทุกท่าน ,เจ้าของและผู้สร้างวัตถุมงคลของวังหน้า-กรุวัดพระแก้ว-วัตถุมงคลหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทุกประเภทที่ข้าพเจ้ามีอยู่ , เพื่อนสนิทมิตรสหายทั้งหลาย เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา พระเพลิง พระพาย แม่พระโพสพ พระภูมิ-เจ้าที่ พระมหาฤาษีและพระฤาษีทุกๆตน พระพิรุณ พยายมราช นายนิริยบาล ทั้งท้าวจตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริพุทธอำมาตย์ ชั้นจาตุมะหาราชิกาเบื้องบนจนถึงที่สุด พรหมาเบื้องต่ำตั้งแต่อเวจีขึ้นมาจนถึงมนุษย์โลก โดยรอบสุดขอบจักรวาลอนันตะจักรวาล คุณพระศรีรัตนตรัยและเทพยดาทั้งหลายตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยม ยักษ์ คนธรรพ์ นาคา ขอให้มาอนุโมทนาในบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้ทำในครั้งนี้ด้วยเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อิมินาปุญญะกัมเมนะ ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้า,ภรรยา และครอบครัว ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพทอดผ้าป่าสามัคคี วัดศรีบุญเรือง อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น เพื่อสร้างพระอุโบสถ ขออุทิศส่วนกุศลให้แก่ คุณบิดา มารดา พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้งหมด ,พระอรหันต์ทุกๆพระองค์ ,พระมหาโพธิสัตว์และพระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์ ,ตัวข้าพเจ้าและทั้ง ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ผู้มีพระคุณ ญาติกาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร ปู่ ย่า ตา ยาย เทวดาประจำตัวข้าพเจ้า ,เทวดาประจำองค์พระพิมพ์ทุกองค์ ,พระมหากษัตริย์ทุกๆพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช,สมเด็จพระเอกาทศรถ,สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ,พระยาพิชัยดาบหัก ,กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ,พระสยามเทวาธิราช ,พระภูมิ-เจ้าที่ที่บ้านข้าพเจ้า ,แม่ย่านางรถของข้าพเจ้า,ผู้ที่เสียสละให้กับแผ่นดินไทยทุกท่าน ,ท่านผู้เสกทุกท่าน ,เจ้าของและผู้สร้างพระพิมพ์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร-พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าทุกท่าน-พระพิมพ์ของวังหน้าและพระกรุวัดพระแก้วทุกท่าน, ท่านผู้เสกทุกท่าน เจ้าของและผู้สร้างวัตถุมงคลของวังหน้า-กรุวัดพระแก้ว-วัตถุมงคลหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทุกประเภทที่ข้าพเจ้ามีอยู่ , เพื่อนสนิทมิตรสหายทั้งหลาย เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา พระเพลิง พระพาย แม่พระโพสพ พระภูมิ-เจ้าที่ พระมหาฤาษีและพระฤาษีทุกๆตน พระพิรุณ พยายมราช นายนิริยบาล ทั้งท้าวจตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริพุทธอำมาตย์ ชั้นจาตุมะหาราชิกาเบื้องบนจนถึงที่สุด พรหมาเบื้องต่ำตั้งแต่อเวจีขึ้นมาจนถึงมนุษย์โลก โดยรอบสุดขอบจักรวาลอนันตะจักรวาล คุณพระศรีรัตนตรัยและเทพยดาทั้งหลายตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยม ยักษ์ คนธรรพ์ นาคา ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ท่านได้สุข ขอให้สุขยิ่งๆขึ้นไป ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าอุทิศไปให้นี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบันและอนาคตเบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ

    พุทธังอนันตัง ธัมมังจัรวาลัง สังฆังนิพพานัง ปัจจโยโหนตุ

    ***********************************************
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2007
  9. ไอ้ใบ้

    ไอ้ใบ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2005
    โพสต์:
    2,254
    ค่าพลัง:
    +7,241

    เห็นภาพแล้วปลื้มค่ะ คงจะต้องมีซักวันที่ว่างจริงๆ ได้แวะไปกราบพระอาจารย์ นึกๆไปแล้วเราก็มีบุญเหมือนกันนะ เกือบจะตกรถด่วนขบวนสุดท้ายเสียแล้วซิ
     
  10. ไอ้ใบ้

    ไอ้ใบ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2005
    โพสต์:
    2,254
    ค่าพลัง:
    +7,241
    ขออนุญาติเจ้าของกระทู้นะค่ะ
    และขอขอบคุณเจ้าของพระพิมพ์ที่เอื้อเฟื้อภาพเพื่อเป็นวิทยาทานค่ะ

    นำภาพมาให้ชมเพื่อเป็นวิทยาทานค่ะ(f)

    พระพิมพ์เนื้อกังไสสีต่างๆและพระปิดตา ปลอม



    [​IMG]


    ดูกันชัดๆ

    [​IMG]

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. ไอ้ใบ้

    ไอ้ใบ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2005
    โพสต์:
    2,254
    ค่าพลัง:
    +7,241
    เปรียบเทียบพระพิมพ์เนื้อกังไสฟ้า ของจริงและของปลอมค่ะ

    [​IMG] [​IMG]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ผมมองไม่เห็นรูป ท่านอื่นไม่รู้ว่าไม่เห็นรูปเหมือนผมหรือเปล่า ผมรบกวนขอให้ลงอีกครั้งนะครับ

    ขอบพระคุณคุณขุนท้าวมากครับ

    .
     
  13. ไอ้ใบ้

    ไอ้ใบ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2005
    โพสต์:
    2,254
    ค่าพลัง:
    +7,241
    จริงๆแล้วโดยส่วนตัว รู้ข้อมูลพระแบบนี้พอสมควร และเชื่อว่ามีทั้งของจริงและของปลอม แต่ก็นั้นแหละ คุยไปคุยมา ก็จะไปเข้าเรื่องการทำลายระบบพระเครื่องเมืองไทย (ที่เซียนทั้งหลายอุตส่าห์ ตั้งมาตรฐานปากท้องพระเครื่องกันเอง พังพินาศลง) จึงพูดได้เท่าที่จะพูดได้ค่ะ

    (f) (f) (f) (f) ​
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระคาถาอาการะวัตตาสูตร<O:p</O:p

    พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๒๘ พระองค์ที่ล่วงไปแล้วก็ดี พระพุทธเจ้าในปัจจุบันก็ดี ได้ทรงกระทำตามกันมาทุกๆพระองค์<O:p</O:p
    พระสูตรนี้เป็นพระสูตรอันใหญ่ยิ่งหาสูตรอื่นมาเปรียบมิได้ ด้วยมีทั้ง พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ พระปิฎก<O:p</O:p
    ขอท่านทั้งหลายอย่าได้ทิ้งวางในที่อันไม่สมควรเลย จงทำการสักการะบูชา สวดมนต์ ภาวนา ฟัง ตามสติกำลังด้วยเทอญ

    1. อิติปิโสภะคะวา อะระหัง
    อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุคะโต
    อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู
    อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโรปุริสะธัมมะสาระถิ
    อิติปิโสภะคะวา สัตถาเทวะมะนุสสานัง
    อิติปิโสภะคะวา พุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา ภะคะวาติ
    (พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม)

    2. อิติปิโสภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะนิธานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภินิหาระวัคโค ทุติโย)

    3.อิติปิโสภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะรินาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุนิฏฐะ ปาระมิสัมปันโน
    (คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะติโย)

    4. อิติปิโสภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญาขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุฏโฐ)

    5. อิติปิโสภะคะวา มะหาปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุถุปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา หาสะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชะวะนะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติกขะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระ ปาระมิสัมปันโน
    (มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม)

    6. อิติปิโสภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ขันตี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะธิษฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุเปกขา ปาระมิสัมปันโน
    (ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ)

    7. อิติปิโสภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิญญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะปาระมิวัคโค สัตตะโม)

    8. อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะวิปัสสะนาวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิวิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะระจิตตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะธัมมะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    (วิชชาวัคโค อัฏฐะโม)

    9. อิติปิโสภะคะวา ปะริญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกิริยาภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะริญญานะวัคโค นะวะโม)

    10. อิติปิโสภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัมมัปปะทานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิปาทะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทรียะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โพชฌังคะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะพะละวิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    (โพธิปักขิยะวัคโค ทะสะโม)

    11. อิติปิโสภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปากะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทริยะปะโรปะริยัตตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะพะละญาณะวัคโค ทะสะโม)

    12 . อิติปิโสภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะกะติสะหัสสานังหัตถีนังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะโกฏิทะสะสะหัสสานังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมักกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปัตติ ปาระมิสัมปันโน
    (กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม)

    13. อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุสาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะเวสิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ถามะพะละวัคโค เตระสะโม)

    14. อิติปิโสภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    (จะริยาวัคโค จะตุระสะโม)

    15. อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนิจจะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุทุกขะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนัตตะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อายัตตะเนสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะธาตุสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปะรินามะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ลักขะณะวัคโค ปัณณะระสะโม)

    16. อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (คะตัตถานะวัคโค โสฬะสะโม)

    17. อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณีญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุพรหมวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะปะริยันตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุวีสะติโกฏิสะตะวัชชิระ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะเวณีวัคโค สัตตะระสะโม)
    <O:p</O:p

    <HR align=center width="100%" SIZE=2>


    อานิสงส์อาการวัตตาสูตร
    <O:p</O:p
    ......ในสมัยหนึ่งสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฎบรรพตคีรี ใกล้ราชธานีราชคฤห์มหานคร ในสมัยครั้งนั้นพระสารีบุตรพุทธสาวก เข้าไปสู่ที่เฝ้าถวายอภิวาทโดยเคารพแล้วนั่งในที่ควรส่วนข้างหนึ่งเล็กแลดูสหธัมมิกสัตว์ทั้งหลาย ก็เกิดปริวิตกในใจคิดถึงกาลต่อไปภายหน้าว่า
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    เปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก มีคำกล่าวในหนังสือนำว่า ผู้ใดมีไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงค์ยิ่งกว่าได้สร้างพระเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลก และป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ทำมาหากินเจริญฯ<O:p</O:p
    ผู้ใดสร้างไว้สวดมนต์ สักการะบูชาเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ และจะมีความสุข ศิริสวัสดิ์เจริญต่อไปทั้งปัจจุบัน กาลอนาคต และภายหน้าภาคหน้า ด้วยอำนาจของความเคารพในพระคาถานี้ สร้างครบ ๗ วัน ครบอายุ หมดเคราะห์โศกทุกประการฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ประวัติต้นฉบับเดิมกล่าวไว้ว่า<O:p</O:p

    หนังสือยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้มีคำกล่าวไว้ในหนังสือนำว่าศักดิ์สิทธิ์ ถ้าผู้ใดได้สวนมนต์ภาวนาทุกค่ำเช้าแล้ว ผู้นั้นจะไม่ไปตกอบายภูมิ แม้ได้บูชาไว้กับ บ้านเรือนก็อาจป้องกันอันตรายต่าง ๆ จะภาวนาพระคาถาอื่น ๆ สัก ๑๐๐ ปี อานิสงค์ ก็ไม่สูงเท่าภาวนาพระคาถานี้ครั้งหนึ่ง ถึงแม้ว่า อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ ที่มีอิทธิฤทธิ์ จะเนรมิตแผ่นอิฐเป็นทองคำ ก่อเป็นพระเจดีย์ ตั้งแต่มนุษยโลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงค์ก็ยังไม่เท่าภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้ และมีคำอธิบายคุณความดีไว้ใน ต้นฉบับเดิมนั้นอีกหลายประการฯ<O:p</O:p
    ต้นฉบับเดิมเปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก เป็นอักษรขอมจารึกไว้ในใบลาน จึงแปลเป็นภาษาไทย หลวงธรรมาธิกรณ์ (พระภิกษุแสง) ได้มาแต่พระแท่นศิลาอาสน์ มณฑลพิษณุโลก<O:p</O:p
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้ ถ้าผู้ใดบริจาคทรัพย์สร้างถวายพระภิกษุสามเณร หรือญาติสนิทมิตรสหาย ครบ ๗ วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตน จะบังเกิดโชคลาภ ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย และภัยพิบัติทั้งปวง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก<O:p</O:p

    . อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ[1] โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก<O:p</O:p
    อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    อะระหันตัง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิริสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    โลกะวิทุง[2] สะระณัง คัจฉามิ <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    โลกะวิทุง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ยอดเยี่ยมไม่มีใครยิ่งกว่า<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน<O:p</O:p
    อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ไม่มีใครยิ่งกว่า ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    ปุริสะทัมมะสาระถิง[3] สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    ปุริสะทัมมะสาระถิง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    สัตถารัง[4] เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    สัตถารัง เทวะมะนุสสานัง สิริสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<O:p</O:p
    พุทธัง สิระสา นะมามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยเศียรเกล้า<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น กอปรด้วยดังว่ามานี้แล<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีรูปขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีเวทนาขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีสัญญาขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีสังขารขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีวิญญาณขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุสะมาธิญาณะ[5] สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในปฐวีธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในอาโปธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในเตโชธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในวาโยธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในอากาศธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในวิญญาณธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในจักรวาลธาตุ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นจาตุมมหาราช<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นดาวดึงส์<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นยามา<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ดุสิตา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นดุสิต<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นนิมมานรดี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นปรินิมมิตวสวัตดี<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในเทวโลกชั้นกามาวจร<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในพรหมโลกชั้นรูปาวจร<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในพรหมโลกชั้นอรูปาวจร<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นโลกุตตระ คือ อยู่เหนือโลกทั้งปวง<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในปฐมฌาน<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในทุติยฌาน<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในตติยฌาน<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในจตุตถฌาน<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในปัญจมฌาน<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะ<O:p></O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตมรรค<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตา ปัตติผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตผล<O:p</O:p
    กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น มีพระคุณดังพรรณมานานี้แล<O:p</O:p
    อะ อา<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    ชัมพูทีปัญจะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสระแห่งชมภูทวีป ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือชมพูทวีป<O:p</O:p
    นะโม พุทธายะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    นะโม ธัมมายะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<O:p</O:p
    นะโม สังฆายะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<O:p</O:p
    ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าห้าพระองค์<O:p</O:p
    อา ปา มะ จุ ปะ<O:p</O:p
    หัวใจพระวินัยปิฏก<O:p</O:p
    ที มะ สัง อัง ขุ<O:p</O:p
    หัวใจพระสุตตันตปิฏก<O:p</O:p
    สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ<O:p</O:p
    หัวใจพระอภิธรรมปิฏก<O:p</O:p
    อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ<O:p</O:p
    หัวใจโลกุตตรธรรม คือ มรรคสี่ ผลสี่ นิพพานหนึ่ง<O:p</O:p
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว<O:p</O:p
    หัวใจพระเจ้าสิบชาติแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ<O:p</O:p
    อะ สัม วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ<O:p</O:p
    หัวใจพระพุทธคุณเก้า (นวหรคุณ)<O:p</O:p
    อิ สวา สุ สุ สวา อิ<O:p</O:p
    หัวใจคุณพระรัตนตรัย<O:p</O:p
    กุสะลา ธัมมา จิตติ วิอัตถิ<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยวิจิตรพิสดาร<O:p</O:p
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง<O:p</O:p
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส<O:p</O:p
    อะ อา<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    สา โพธิ ปัญจะ อิสะโร ธัมมา<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมฝ่ายกุศล<O:p</O:p
    นันทะวิวังโก<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p></O:p
    อิติ สัมมาสัมพุทโธ<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบแล้วแล<O:p</O:p
    สุ คะ ลา โน<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือเทวโลกชั้นจาตุมมหาราช<O:p</O:p
    อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน<O:p</O:p
    พระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ<O:p</O:p
    อุ อุ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์<O:p</O:p
    นันทะ ปัญจะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    สุคะโต โลกะวิทู<O:p</O:p
    พระพุทธเจ้า ผู้เสด็จไปดีแล้ว ผู้รู้แจ้งโลก<O:p</O:p
    มะหาเอโอ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นยามา<O:p</O:p
    พรัหมะสัททะ ปัญจะ สัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร<O:p</O:p
    พระโพธิสัตว์ห้า และบารมีของพระโพธิสัตว์ ยอดเยี่ยมกว่าเสียงจากพระพรหม (หรือประกาศิตของพรหม)<O:p</O:p
    ยะมะกะขะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นดุสิต<O:p</O:p
    ปุ ยะ ปะ กะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    ปุริสะทัมมะสาระถิ<O:p</O:p
    พระพุทธเจ้า พระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นนิมมานรดี<O:p</O:p
    เหตุโปวะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง<O:p</O:p
    พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย<O:p</O:p
    ตะถะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    ปะระนิมมิตตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี<O:p</O:p
    สังขาระขันโธ<O:p</O:p
    ขันธ์ที่เกิดจากการปรุงแต่ง<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา[6]<O:p</O:p
    ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา (มิใช่ตัวตนของเราจริง)<O:p</O:p
    รูปะขันโธ พุทธะปะผะ<O:p</O:p
    แม้ว่ารูปขันธ์ของพระพุทธเจ้า (ก็ไม่เที่ยงแปรเปลี่ยนไปและเป็นอนัตตา)<O:p</O:p
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<O:p</O:p
    พรัหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<O:p</O:p
    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือกว่าพระพรหม<O:p</O:p
    นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา<O:p</O:p
    แม้ธรรมะที่กล่าวถึงความไม่มีเป็นปัจจัย พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสไว้ ไม่มียกเว้น<O:p</O:p
    ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน<O:p</O:p
    นะโม พุทธัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    นะโม ธัมมัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<O:p</O:p
    นะโม สังฆัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<O:p</O:p
    พุทธิลา โภกะลา กะระกะนา<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ<O:p</O:p
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<O:p</O:p
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    นะโม พุทธัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    นะโม ธัมมัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<O:p</O:p
    นะโม สังฆัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<O:p</O:p
    วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    <O:p</O:pมะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ<O:p</O:p
    ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<O:p</O:p
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรัหมะสาวัง มะหาพรัหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสสาวัง มะหาสัปปุริสสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง<O:p</O:p
    (มนต์คาถาจากพระคาถามหาทิพยมนตร์)<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ<O:p</O:p
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<O:p</O:p
    สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จาตุวีสะติ เทสะนัง<O:p</O:p
    (มนต์คาถาจากพระคาถามหาทิพยมนต์)<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา) ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเดิม<O:p</O:p
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ <O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    นะโม พุทธัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<O:p</O:p
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<O:p</O:p
    นะโม อิติปิ โส ภะคะวา<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น<O:p</O:p
    นะโม ธัมสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<O:p</O:p
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<O:p</O:p
    นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว<O:p</O:p
    นะโม สังฆัสสะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<O:p</O:p
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<O:p</O:p
    นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว<O:p</O:p
    วาหะปะริตตัง<O:p</O:p
    พระปริตรที่นำสิ่งดีงามมาให้<O:p</O:p
    นะโม พุทธายะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    มะอะอุ<O:p</O:p
    พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโย<O:p</O:p
    ตราบใดที่ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ และความเป็นอนัตตามีอยู่จริงเช่นนี้ ทุกสิ่งก็มีความสิ้นไปและเสื่อมไปเป็นธรรมดาอยู่ตราบนั้น<O:p</O:p
    โม นะ อุอะมะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา<O:p</O:p
    ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา<O:p</O:p
    อุ อะ มะ อะ วันทา<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<O:p</O:p
    นะโม พุทธายะ<O:p</O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<O:p</O:p
    นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ ณะ<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    อา ระ ปะ ขุท ธัง<O:p</O:p
    (มนต์คาถา)<O:p</O:p
    มะ อะ อุ<O:p</O:p
    พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<O:p</O:p
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ<O:p</O:p
    ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา<O:p</O:p
    วิปัสสิต<O:p</O:p
    (สำเร็จและเห็นแจ้ง)<O:p</O:p
    สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินัสสันตุ<O:p</O:p
    (ด้วยอำนาจแห่งยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกที่ข้าพเจ้าได้สวดแล้วนี้)<O:p</O:p
    ขอทุกข์ภัย อันตราย และโรคทั้งปวง จงพินาศไปสิ้น<O:p</O:p



    <HR align=left width="33%" SIZE=1>[1] วะตะ บางฉบับเป็น วัจจะ ที่ถูกตามภาษาบาลีควรเป็น วะตะ

    [2] บางแห่งเป็น โลกะวิทัง ตามหลักบาลีไวยากรณ์ต้องเป็น โลกะวิทุง มาจากศัพท์เดิมว่า โลกะวิทู

    [3] ปุริสะทัมมะสาระถิง ในที่นี้ประกอบศัพท์ตามหลักบาลีไวยากรณ์ บางแห่งเป็น ปุริสะทัมมะสาระถิ

    [4] สัตถารัง ในที่ประกอบศัพท์ตามหลักไวยากรณ์ บางแห่งเป็น สัตถา

    [5] ญาณ คือ การหยั่งรู้ มาคู่กับสมาธิ มีความหมายเท่ากับปัญญา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2007
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อธิบายคำย่อในยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก
    <O:p</O:p

    <O:p</O:p
    ในยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก มีคำย่อที่ควรทราบ ดังนี้:-<O:p</O:p
    . อา ปา มะ จุ ปะ เป็นคำย่อพระวินัยปิฎกทั้ง ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์<O:p</O:p
    อา = อาทิกัมมิกะ (การกระทำที่เป็นต้นบัญญัติ) หมายเอาพระวินัยของพระภิกษุ ตั้งแต่อาบัติปาราชิกลงมาจนถึงสังฆาทิเสส<O:p</O:p
    ปา = ปาจิตตีย์ เป็นชื่อของอาบัติที่มาในปาฏิโมกข์ (คำว่า
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post280959 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="FONT-WEIGHT: normal">ประสบการณ์ของพระขรรค์ครับ

    17-07-2006, 12:40 PM <!-- / status icon and date -->

    </TD><TD class=thead style="FONT-WEIGHT: normal" align=right>#1311 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 width=175>Chayaporn<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_280959", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 11:42 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2004
    สถานที่: Bkk. Thailand
    ข้อความ: 102 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    Thanks: 100
    Thanked 416 Times in 87 Posts <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 73[​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_280959><!-- message -->มีเรื่อง ความขลังของพระขันธ์ที่คุณหนุ่มให้บูชา
    จากประสบการณ์จริงเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา มาเล่าให้ฟังค่ะ
    บรรยายความตามท้องเรื่อง มีอยู่ว่า พี่ได้พาเพื่อนพี่ไปหา อ.สรุชัย
    ที่บ้านท่านเพื่อปรึกษาปัญหา และหาทางแก้ไข อ.สรุชัยก้อทักมาว่า
    ผมเห็นคุณมีที่อยู่ 2 ที่นะ โดยที่เพื่อนพี่ไม่ได้บอกว่ามีที่ดินอยู่แปลง
    นึงซึ่งซื้อไว้เพื่อทำโรงงาน แต่ยังว่างๆอยู่ เพราะรอเงิน ที่ดินนั้นหนะดี
    แต่ยังมีคุณไสย์อยู่ ให้ไปถอนออกซะ เธอไม่รู้ว่าจะจัดการอย่างไร
    พี่เลยจัดให้ โทรนัด อ.ไก่ให้วันศุกร์ บ่าย 2 จะมาทำพิธีให้
    ตอนคืนวันพฤหัส พี่กำลังจะนอนแล้วมีความรู้สึกว่าตั้งเอาพระขันธ์ไปด้วย
    เลยนำไปล้างตอน 5 ทุ่มกว่าแล้วก้อนอน พอเจออ.ไก่บ่ายวันศุกร์
    ก้อยื่นพระขันธ์ให้เลย อ.ไก่จับมั๊บ "โลกอุดร แรงมาก" โดยไม่ไต้องต้องแจง
    งั้นใช้พระขันธ์เล่มนี้เลย จัดแจงโน่นนี่นำพระขันธ์แช่ในขันทำนำมนต์เสร็จสับ
    ระหว่างที่ อ.ไก่ สวดชุมนุมเทวดา และอ่านโองการ มีเสียงโหยหวน
    ชวนขนลุก ตลอดเวลา ทุกคนหันมามองหน้ากันว่าได้ยินเหมือนกันไหม
    แล้วสบตากันว่า "เออ ใช่" จนจบบท อ.ไก่ก้อนำนำมนต์พรมรอบๆ โรงงาน
    หลังจากก็อนั่งกันสนุกสนานเฮฮา ประสา อ.ไก่

    พี่ตุ่นค่ะ
    <!-- / message --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post295138 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">11-08-2006, 08:11 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #33 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>นักเดินทาง<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_295138", true); </SCRIPT>
    สมาชิก
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 06:47 PM
    วันที่สมัคร: Jul 2005
    อายุ: 38 ปี
    ข้อความ: 1,013 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 3,157 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 6,398 ครั้ง ใน 930 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 857 [​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_295138 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ความเป็นมาของ "สังขวานร" หรือ "สังฆวานร"

    เกิดจากพญาวานรตนหนึ่งซึ่งลงมาจุติเกิดในภพภูมิของมนุษย์ แล้วเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา แต่ก็ยังมิวายที่จะติดใจหลงไหลในฤทธิ์อำนาจของตนเองที่ติดตัวมาตั้งแต่อดีตชาติ

    เมื่อเข้ามาบวชเรียนแล้ว พญาวานรก็ยังชอบที่จะใช้ฤทธิ์ใช้อำนาจที่มีอยู่เดิม ในการเหาะเหิรเดินอากาศเพื่อที่จะไปเก็บรวบรวมเหล็กไหลธาตุ(สีขาวนวล) ที่ล่องลอยอยู่ในอากาศธาตุซึ่งมิได้ถูกเทพ-เทวาอัญเชิญไปเป็นฐานพระเกตุแก้วจุฬามณี(ฐานของพระเกตุแก้วจุฬามณีเป็นวัชรธาตุ) เมื่อเก็บรวบรวมเหล็กไหลธาตุได้ตามต้องการแล้ว พญาวานรก็นำไปหลอมละลายเข้ากับเงินยวง หรือเงินบริสุทธิ์ แล้วทำการประจุพลังปลุกเสกอริยธาตุขึ้นมาใหม่ เพื่อให้มีฤทธิ์มีอำนาจตามที่พญาวานรต้องการ จากนั้นจึงนำไปเก็บไว้ในถ้ำลึกที่ตนอาศัยอยู่เพื่อใช้ในการทดสอบฌานสมาบัติและฤทธิ์อำนาจของตัวเอง

    ความติดในฤทธิ์อำนาจจึงทำให้พญาวานรไม่เจริญก้าวหน้าในทางธรรม เพราะมัวแต่หลงไหลยึดมั่นถือมั่นในฤทธิ์อำนาจ เมื่อถึงเวลาธาตุ 4 ขันธ์ 5 ของพญาวานรแตกดับไป แต่ด้วยจิตที่ผูกพันหวงแหนในธาตุกายสิทธิ์ที่ตัวเองสร้างขึ้นมา ทำให้จิตวิญญาณของพญาวานรติดตามไปดูแลธาตุกายสิทธิ์นั้นไม่ให้ได้ตกไปอยู่ในมือของหมู่มารที่มีอคติต่อพระพุทธศาสนา

    ดังนั้นแร่สังฆวานรจึงเกิดจากเหล็กไหลขาวที่ล่องลอยอยู่ในอากาศ ถูกนำมาหุงใหม่บวกกับฤทธิ์ฌานสมาบัติของพญาวานรเข้าไปรวมด้วย เราจึงเรียกธาตุกายสิทธิ์นี้ว่า "สังฆวานร" หรือบางคนก็เรียก "สังขวานร" โลหะชนิดนี้มีสีเงินยวง ขาวนวลกว่าเหล็กไหลขาวทั่วไป

    เพราะสังฆวานรมีฤทธิ์อำนาจในการป้องกันศัตรูหมู่มารและภัยภิบัตินานาประการ มิให้เข้ามากร้ำกรายลุกร้ำสถานที่นั้น ๆ ได้ โดยมีคาถากำกับเอาไว้ว่า "นะมะหะนุ วะลุสังหะ" จึงมีฤทธานุภาพเหมือนกับหนุมาน แต่ที่แตกต่างกันก็คือธาตุกายสิทธิ์นี้มีบารมีธรรมขั้นสูงกำกับอยู่ นั่นคือมีบารมีธรรมของเหล่าอริยสงฆ์ที่ตั้งใจลงมาช่วยเหลือเกื้อกูลต่อพระพุทธศาสนา ให้หลุดรอดจากเหล่าหมู่มารทั้งหลาย บวกกับฤทธานุภาพของพญาวานร จึงทำให้แร่สังฆวานรนี้มีอานุภาพอย่างยิ่ง

    หมายเหตุ ธาตุกายสิทธิ์หมายถึงแร่ธาตุธรรมชาติที่มีฤทธิ์และพลังในตัวเองอยู่แล้ว เช่น เหล็กไหล เพชรหน้าทั่ง เป็นต้น

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post300487 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">18-08-2006, 12:47 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #137 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>นักเดินทาง<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_300487", true); </SCRIPT>
    สมาชิก
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 06:52 PM
    วันที่สมัคร: Jul 2005
    อายุ: 38 ปี
    ข้อความ: 1,013 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 3,158 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 6,398 ครั้ง ใน 930 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 857 [​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_300487 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->วิธีใช้กริชและพระขรรค์วังหน้า


    พระขรรค์และกริชวังหน้า มีอิทธิคุณครอบจักรวาลแต่จะเด่นเป็นพิเศษด้านกันสิ่งไม่ดี, สิ่งชั่วร้าย, กันภัย, ภูติผีเปรตสัมภเวสี และใช้ทำน้ำมนต์ วิธีใช้ก็คือ ถ้าหากจะเดินทางให้จับพระขรรค์กรือกริช โดยให้ด้ามตั้งขึ้น ให้หน้าพระหรือเทพตามด้ามหันไปทิศทางที่เราจะเดินทาง ตั้งนะโม 3 จบ ตามด้วย โลกุตตะโรจะมะหาเถโร อะหังวันทามิตังสะทา อาราธนาบารมีหลวงปู่และเทพตามรูปด้าม อธิษฐานขอให้เดินทางแคล้วคลาดปลอดภัย ให้พระแม่ธรณีเปิดทางให้ด้วย เสร็จแล้ววางพระขรรค์หรือกริชไว้หน้ารถโดยให้ปลายกริชหรือพระขรรค์ชี้ไปข้างหน้ารถ และให้หน้าของเทพหรือพระตามด้ามหงายขึ้น หากใช้ทำน้ำมนต์ก็ให้ด้ามชี้ขึ้นข้างบน ตั้งนะโม 3 จบ ตามด้วย โลกุตตะโรจะมะหาเถโร อะหังวันทามิตังสะทา อาราธนาบารมีหลวงปู่แล้วก็อธิษฐานตามต้องการ จากนั้นใช้ปลายพระขรรค์หรือกริชจุ่มลงในขันน้ำวน 3 รอบ ก็เป็นอันเรียบร้อย สามารถเอาน้ำมนต์ไปใช้ได้ตามต้องการ

    หากเดินทางเข้าป่า ให้จับพระขรรค์กรือกริช โดยให้ด้ามตั้งขึ้น ให้หน้าพระหรือเทพตามด้ามหันไปทิศทางที่เราจะเดินทาง ตั้งนะโม 3 จบ ตามด้วย โลกุตตะโรจะมะหาเถโร อะหังวันทามิตังสะทา อาราธนาบารมีหลวงปู่และเทพตามรูปด้าม อธิษฐานขอให้แคล้วคลาดปลอดภัย สิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ อย่าได้มาแผ้วพาน เสร็จแล้วใช้ปลายพระขรรค์หรือกริชเขียนกากะบาทลงบนพื้นดิน และขอพระแม่ธรณีให้เปิดทางให้ลูกด้วย วิธีนี้อย่าว่าแต่ผีเลยครับ แม้แต่เทวดายังกระเจิดกระเจิง ถ้าไม่จำเป็นก็อย่าใช้วิธีนี้ เพราะพลอยทำให้เทวดาเดือดร้อนไปด้วย แค่พกติดตัวก็คุ้มครองได้ทั้งคณะแล้วครับ

    พระขรรค์และกริชเป็นของสูง ให้ตั้งบูชาในที่สูง อย่านำมาไว้ใต้หมอน แค่ตั้งบูชาไว้ในบ้านก็คุ้มครองได้ทั้งบ้านแล้วครับ สาธุครับ
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. mgladbach

    mgladbach เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    137
    ค่าพลัง:
    +601

    อ้างถึงกระทู้ 2993 หน้า 100 <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    สวัสดีครับ

    <o:p></o:p>

    สวัสดีครับคุณสิทธิพงศ์ ตามกระทู้ที่อ้างถึง ที่อยากช่วยร่วมทำบุญสร้างเจดีย์ และอยากได้บูชาพระไว้เพื่อเป็นหลักธรรมหลักใจ ในการปฏิบัติงานราชการที่ทำอยู่ด้วย เลยขอร่วมทำบุญด้วย 9000 บาทครับ ตอนแรกจะทำ 1 หมื่นบาท พอดีขอแบ่งไปทำบุญบูชาพระกับกระทู้อื่นด้วยครับ โมทนาบุญกับคุณสิทธิพงศ์ด้วยครับ <o:p></o:p>

    ขอร่วมทำบุญบูชาพระสมเด็จวังหน้า เนื้อจูซาอั้ง (สีแดง) ปิดทองร่องชาด 2 องค์ / พระพิมพ์พุทธประวัติ เนื้อขาว 2 องค์ / สมเด็จวังหน้า เนื้อสีขาว ปิดทองร่องชาด 1 องค์ / พระพิมพ์จิตรลดา 1 องค์ <o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ผมได้ให้คุณบัญชาฯ โอนเงินจำนวน 9000 บาท ไปแล้วผ่านเครื่องเอทีเอ็ม ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2550 เพื่อทำบุญสร้างเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง บัญชี 186-0-13128-8 จำนวน 9000 บาท เวลาประมาณ 17.25 น.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระทั้งหมดขอความกรุณาส่งไปให้น้องที่ทำงานรับแทนผมด้วยที่<o:p></o:p>
    คุณบัญชา ธิโกศรี (รับแทนคุณสุเมธ จุลชาต)<o:p></o:p>
    กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ<o:p></o:p>
    ถ. ศรีอยุธยา เขตราชเทวี<o:p></o:p>
    กรุงเทพ 10400 <o:p></o:p>
    โทรศัพท์ 02-643-5000 ต่อ 2549<o:p></o:p>
     

แชร์หน้านี้

Loading...