เรื่องเล่า....เทพยดาสิงสถิตที่ต้นพิกุลในวัดอัมพวัน

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย NATTAYA nurse, 18 สิงหาคม 2010.

  1. NATTAYA nurse

    NATTAYA nurse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +781
    [​IMG]



    เนื้อความ :
    หนังสือเหตุมหัศจรรย์ของวัดอัมพวัน........

    ต้นพิกุลต้นนั้น อยู่เยื้องกับพระอุโบสถวัดอัมพวัน เป็นไม้ใหญ่ที่ให้เงื้อมเงาร่มเย็นแผ่เป็นวงกว้าง เมื่อถึงฤดูผลิตดอกกลิ่นหอมละเมียดละไมจะอบอวลรวยรินไปรอบๆต้น ให้ความรู้สึกสดชื่น ระเริงใจ แก่ผู้ที่ทอดกายพักผ่อนใต้ร่มเงานั้น
    พิกุลต้นนี้มีอายุเก่าแก่ยาวนานสักเพียงใด ไม่มีใครรู้ได้ แม้ต่ญาติโยมซึ่งอยู่ใกล้วัดก็เห็นพิกุลยืนต้นตระหง่านมาตั้งแต่เด็กแรกจำความได้ ตราบนัยน์ตาฝ้าฟางเมื่อความชรามาเยือน

    และไม่เคยมีใครสัมผัสรู้มาก่อนว่า ณ พิกุลต้นนี้ มีเทพสถิตอยู่นอกจากแม่ชีวัยชราท่านหนึ่ง มีนามว่า แม่ชีก้อนทอง ปานเณร

    เวลานั้น พระเดชพระคุณ หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม มาดำรงตำแหน่งเจ้าเอาวาสวัดอัมพวันหลายปีแล้ว ความเจริญของวัดดูจะอัตคัดตามประสาวัดเก่าแก่โบราณ คล้ายกบว่ายังไม่ถึงช่วงเวลาความรุ่งเรืองของวัดในสมัยหลังๆที่เป็นไปอย่างรวดเร็วฉับพลัน...เป็นอัศจรรย์

    แม่ชีก้อนทอง ขณะมาปฏิบัติธรรมอยู่ที่วัดอัมพวัน อายุประมาณ 70 กว่าแล้ว ก่อนหน้านั้น แม่ชีเคยไปปฏิบัติธรรมอยู่ที่สำนักปฏิบัติของหลวงพ่ออ่อน สิงห์บุรี แล้วก็ไปอยู่ สำนักปฏิบัติเขาถ้ำตะโก ต่อมาถึงได้เดินทางมาพบหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม ที่วัดอัมพวัน ขออนุญาตมาปฏิบัติวิปัสนสนากัมมัฏฐาน ณ อารามนี้

    หลวงพ่ออธิบายสั้นๆ แก่แม่ชีสูงวัยว่า "โยม...วัดนี้ไม่มีสำนักแม่ชีนะ แล้วก็ไม่มีกุฏิชีอยู่....จะอยู่ได้หรือ โยมกลัวผีหรือเปล่าละ ถ้าไม่กลัวก็อยู่บนศาลานั่น มีห้องพอจะอาศัยปฏิบัติได้"

    แม่ชีก้อนทองกราบเรียนหลวงพ่อว่า "ไม่กลัวผี" หลวงพ่อจรัญจึงเมตตาอนุญาต
    เมื่อแม่ชีก้อนทองมาอยู่วัดอัมพวันแล้ว ท่านก็ปฏิบัติธรรมวิปัสสนากรรมฐานอย่างจริงจัง นั่งภาวนา "ยุบหนอ..พองหนอ" สลับเดินจงกรมตลอด ทั้งๆที่มีวัยชรามากแล้ว

    ตลอดเวลาที่แม่ชีก้อนทองเจริญกรรมฐาน ท่านจะขอให้หลวงพ่อจรัญสอบอารมณ์ให้แทบทุกวัน กระทั่งเวลาผ่านไป 1 เดือน วันนั้น เป็นเวลาช่วงเช้า หลวงพ่อจรัญก็ไปสอบอารมณ์ให้แม่ชีทองก้อน แม่ชีนมัสการแล้วได้เล่าถวายหลวงพ่อว่า
    "พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ฉันถ้าจะลำบากเสียแล้ว เทวดามากวนเหลือเกิน"
    "เทวดามาทำไมละโยม...."หลวงพ่อสงสัย
    "มาชวนฉันสวดมนต์เจ้าคะ"
    หลวงพ่อจรัญรับฟังแล้วก็ไม่ถามรายละเอียดมากนัก แนะนำแม่ชีให้"กำหนดเห็นหนอ" เวลาเห็นเทวดาเท่านั้น แล้วท่านก็ไปทำกิจของท่าน
    เช้าต่อมา หลวงพ่อจรัญไปสอบอารมณ์ให้แม่ชีก้อนทองอีก แม่ชีรายงานถวายว่า
    "หลวงพ่อเจ้าคะ เทวดามาอีกแล้ว ฉันกำหนดเห็นหนอ ..... เห็นหนอ...เทวดาก็ไม่ยอมไปเจ้าคะ"
    "เทวดาอยู่ที่ไหน โยมถามเทวดาหรือเปล่า"
    "เทวดาบอกว่าอยู่ที่ต้นพิกุลข้างโบสถ์เจ้าคะ"
    "เทวดามาอยู่ต้นพิกุลได้อย่างไรกัน" หลวงพ่อไม่แน่ใจว่าแม่ชีก้อนทองเห็นเทวดาจริงเพียงไร
    "เทวดาบอกฉันว่า โดนสาปมาจากสวรรค์ ผิดประเวณีนางฟ้าให้อยู่ที่ต้นพิกุลนี้เจ้าคะ ครบ 100 ปีเมื่อไหร่ถึงจะพ้นคำสาป"

    แล้วแม่ชีก้อนทองได้บอกกำหนดวัน - เวลา ที่เทวดาพ้นคำสาปชัดเจน หลวงพ่อจรัญก็บันทึกเอาไว้เป็นหลักฐานเพื่อกันลืม และเป็นข้อพิสูจน์ว่าจะเป็นจริงหรือไม่ในกาลเวลาต่อไปข้างหน้า
    หลวงพ่อจรัญซักถามแม่ชีก้อนทองเกี่ยวกับเทวดาที่มาชวนแม่ชีสวดมนต์อย่างละเอียดถี่ถ้วน มิใช่ด้วยเจตนาจับผิด หากต้องการทราบความจริงหลายประการซึ่งตัวท่านเองก็ไม่รู้เช่นกัน
    แม่ชีก้อนทองก็กราบเรียนถวายรายงานต่อหลวงพ่อจรัญเท่าที่ได้รับการถ่ายทอดจากเทวดาซึ่งสถิตอยู่ ณ ต้นพิกุล เป็นลำดับดังนี้
    เรื่องแรก เทวดาบอกว่า พระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์จะมีเทวดามาสถิตทุกองค์ไป เช่นพระพุทธโสธร ที่แปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา (มีเทวดาหรือเทพชั้นสูงหลายองค์สถิตอยู่) พระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก พระแก้วมรกต วัดพระแก้ว กรุงเทพมหานคร ฯลฯ สำหรับผู้ที่ไม่มีความเคารพศรัทธาในพระพุทธรูปของตนอย่างจริงจัง กล่าวได้ว่าแม้จะมีพระพุทธรูปเก่าแก่มีราคาแพง เช่นพระเชียงแสนโบราณ ก็หาประโยชน์อันใดมิได้
    การไม่เคารพศรัทธาเสื่อมใสจะเห็นได้ทั่วไป คือ มีพระพุทธรูปล้ำค่าอยู่ในเรือนตน แต่ไม่เคารพกราบไหว้ ไม่แสดงสักการบูชาเป็นประจำ ไม่เคยสวดมนต์เลย เทวดาก็ไม่อยู่ด้วยแล้ว
    บางบ้านมีห้องพระก็จริง แต่ปล่อยให้เด็กๆลูกหลานเข้าไปนอนกันเขละขละ ไม่รู้จักที่ต่ำที่สูงหรือรู้อันใดควรไม่ควร แสดงกิริยาวาจาหยาบคาย ตึงตัง เทวดาท่านก็ไม่อยู่อีกเช่นกัน
    พระพุทธรูปที่จะศักดิ์สิทธิ์ได้ โดยมีเทวดามาสถิตรักษานั้น จะต้องจัดวางไว้ในที่อันควร มีความสงบเงียบพอสมควร สถานที่ตั้งพระพุทธรูปควรรักษาให้สะอาดผ่องใสตลอดเวลา มีเครื่องบูชา เช่นรูปเทียน ดอกไม้บ้าง ไม่ปล่อยให้เด็กๆ แสดงกิริยาวาจาอันสื่อแสดงถึงการไม่มีสัมมาคารวะ
    ประการสำคัญที่สุด คนในบ้านจะต้องไหว้พระสวดมนต์ทุกวัน มีจิตใจนอบน้อมศรัทธา มีศีลธรรมประจำใจ เทวดาหรือเทพจึงจะมาสถิต มาสวดมนต์แผ่เมตตาให้เกิดศิริมงคลแก่คนในครอบครัวนั้นๆ

    เทวดาซึ่งมาชวนแม่ชีก้อนทองสวดมนต์ ได้บอกกล่าวให้รู้อีกว่า แม้จะมีพระพุทธรูปอันเป็นของใหม่ ซึ่งมีจำหน่ายให้บูชาตามร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ทั่วไป หากมีการไหว้พระสวดมนต์เบื้องหน้าพระพุทธรูปทุกวัน พระพุทธรูปนั้นก็จะเกิดความศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมาได้ เพราะมีเทวดามาสถิต และสวดมนต์แผ่เมตตาอวยพรให้เกิดศิริมงคล
    หลวงพ่อจรญได้สอบถามแม่ชีก้อนทองต่อไปอีกว่า เทวดาต้นพิกุลมาสวดมนต์ให้แม่ชีโดยเฉพาะหรือ และเทวดาสวดมนต์บทอะไร แม่ชีกราบเรียนถวายว่า เทวดาไม่ได้มาสวดให้เป็นการเฉพาะหรอก บ้านไหน มีการไหว้พระสวดมนต์เป็นประจำด้วยความเคารพศรัทธา เทวดาก็จะไปสวดมนต์ให้ทุกบ้าน ท่านจะไปสวดเวลาหลังเที่ยงคืนทุกคืนด้วยบทสวด"มหาเมตตาใหญ่"
    หลวงพ่อจรัญก็ฉุกคิดขึ้นมา ตัวท่านเองสวดได้บทสั้น ไม่ใช่บทยาว ยิ่งไปกว่านั้นแม่ชีก้อนทองยังกราบเรียนถวายท่านอีกว่า เทวดาสั่งความไว้กับแม่ชีให้มาบอกหลวงพ่อ บอกว่าให้กราบเรียนท่านสมภารวัดนี้ด้วย เทวดาอยู่ที่ต้นพิกุล ทำผิดประเวณีนางฟ้า
    หลวงพ่อนึกฉงนเหมือนกันว่า เทวดาก็ถูกลงโทษได้ เคยคิดว่าเทวดาจะไม่มีโทษเสียอีก

    เมื่อหลวงพ่อจรัญพูดคุยกับแม่ชีก้อนทอง เรื่องเทวดามาสอนสวดมนต์ทำให้ท่านนึกกึงเรื่อง "เทวดาสวดมนต์" ซึ่งท่านเคยรับรู้มาเมื่อครั้งที่ยังเป็นเด็ก
    เวล่าผ่านไป หลวงพ่อจรัญต้องการให้ประจักษ์แจ้งว่า เทวดาสวดมนต์เป็นอย่างไร ดังนั้นในคืนหนึ่ง ท่านยังไม่เข้าจำวัดรอคอยอยู่ที่กุฏิ กระทั่งเวลาผ่านไปใกล้จะเที่ยงคืนจึงออกจากกุฏิไปที่ศาลาการเปรียญ ซึ่งแม่ชีก้อนทองพักปฏิบัติกรรมฐานอยู่ หลวงพ่อไม่ขึ้นไปบนศาลา หากยืนอยู่ข้างล่างเงียบๆ ใกล้กับที่แม่ชีก้อนทองนอนอยู่

    ใกล้เวลาเที่ยงคืน แม่ชีก้อนทองก็ลุกขี้น จุดธูปเทียน สักการบูชาพระรัตนตรัย เวลา 00.01 น. เสียงสวดมนต์ก็ดังขึ้น แต่ไม่ใช่เสียงแม่ชีก้อนทอง
    เป็นเสียงเทวดาสวดมนต์"มหาเมตตาใหญ่"
    หลวงพ่อจรัญยืนฟังนานนับชั่วโมงจึงได้กลับขึ้นกุฏิ

    วันต่อมา หลวงพ่อจรัญ ได้เรียกแม่ชีก้อนทองมาสวด"มหาเมตตาบทใหญ่" ให้ฟังตั้งแต่ต้นจนจบ แม่ชีก้อนทองก็ว่าได้คล่องแคล่วไม่มีติดขัด ทั้งๆที่แม่ชีก้อนทองไม่ได้เรียนหนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ดังนั้นจะไปหาหนังสือตำราที่ไหนมาท่องจนจำขึ้นใจ

    แม้แม่ชีก้อนทองจะท่องบทสวดให้ฟัง หลวงพ่อจรัญก็ยังไม่แน่ใจกระทั่งหลวง่พอมีกิจนิมนต์ต้องเดินทางเข้ากรุงเทพฯ พอมีเวลาว่างท่านได้แวะไปละแวกเสาชิงช้า ซึ่งเป็นแหล่งขายสังฆภัณฑ์โดยตรง หลวงพ่อถามหาตำราบทสวดมนต์ซึ่งมีบท "มหาเมตตาใหญ่"ด้วย ปรากฏว่าไม่มีตำราเล่มไหนมีบทสวดบทนี้เลย

    หลวงพ่อจรัญจึงเข้าไปที่วัดสุทัศน์ ไปหาพระครูปลัดองค์หนึ่งซึ่งคุ้นเคยกัน เป็นพระครูปลัดฐานาของสมเด็จพระพุฒาจารย์องค์เก่า(พุฒาจารย์โสม) หลวงพ่อออกปากขอยืมหนังสือพุทธาภิเษกฉบับสมเด็จพระสังฆราชแพ ซึ่งในหนังสือเล่มนี้มีบทสวด "มหาเมตตาใหญ่" ได้หนังสือเรียบร้อยก็เดินทางกลับวัดอัมพวัน สิงห์บุรี

    คราวนี้ หลวงพ่อจรัญก็กางตำนาบอกให้แม่ชีก้อนทองว่าบทสวด"มหาเมตตาใหญ่" ตั้งแต่ต้น ไล่หาคำผิดไปทีละคำ ทีละบรรทัด กระทั่งจบ ใช้เวลาสวดและตรวจทานไปพร้อมๆกันถึง 3 ชั่วโมงเต็ม
    ปรากฏว่า แม่ชีก้อนทองสวดมนต์ไม่มีผิดเลยแม้แต่คำเดียว


    จาก ลานธรรม
     
  2. Tianluang

    Tianluang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +1,025
    อนุโมทนาสาธุครับ

    สิ่งไดๆที่ปรารถนาขอสิ่งนั้นจงสำเร็จแก่ท่านและญาติมิตรทุกประการครับ
     
  3. โสภา จาเรือน

    โสภา จาเรือน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    2,013
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,332
    อนุโมทนาสาธุบุญ

    คนบ้าอย่าถือ คนดื้ออย่าสอน คนจรอย่าคบ
    คนประจบอย่ารัก คนทักอย่านิ่ง คนจริงอย่าหน่าย
    คนอายอย่าล้อ คนง้ออย่าโกรธ คนโฉดอย่าใกล้
    คนตายอย่างกลัว คนชั่วอย่านำพา

    ...ธรรมโอวาท...หลวงพ่อจรัญ
     
  4. ธัมปฏิบัติ

    ธัมปฏิบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    177
    ค่าพลัง:
    +1,019
    ต้นไม้ใหญ่ทุกต้นจะมีเทวดา
    วิญญาณ อยู่ประจำอยู่แล้วคับ
    เมื่อมีผู้มีบุญมา ก็จะทำให้รู้เพื่อขอบุญบารมีคับ โปรดแผ่เมตตาให้เขาด้วยคับ สาธุคับ

    ________________________________________________________________________[​IMG]

    [​IMG] เล่ม 1. หนทางแห่งการพ้นทุกข์.rar
    [​IMG] เล่ม 2. หนทางแห่งการบรรลุ.rar
     
  5. PimPoo

    PimPoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    25
    ค่าพลัง:
    +291
    จิตพอเริ่มจะรู้อะไรๆเข้าบ้างแล้ว
    ผู้ปฎิบัติเท่านั้นที่รู้เอง เห็นเอง และก็ชอบเอง เพียงเท่านี้ก็เป็นบุญเป็นกุศลจิตแล้ว
    ขออนุโมทนาบุญฯแด่ผู้เผยแผเรื่องนี้ให้ญาติธรรมด้วยกัน
    และขอให้มีบุญญาธิการสูงๆตลอดไปทุกภพทุกชาติ ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ
    Pimpoo
     
  6. dalin

    dalin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    121
    ค่าพลัง:
    +338
    สาธุ อนุโมทนาค่ะ
    ขอให้ทุกท่านเจริญธรรมนะคะ
    ว่าแต่บทสวดนี้ มหาเมตตาใหญ่ จะหามาสวดบ้างค่ะ
     
  7. รักดีทำดี

    รักดีทำดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +238
    สาธุ อนุโมทนา ช่างเป็นบุญวาสนาของแม่ชีเสียจริง ที่ได้พบเจอเทวดาผู้มีบุญท่านนี้ มาชี้แนะ
     
  8. Tippayarn

    Tippayarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2007
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +168
    มหาเมตตาใหญ่สวดยังไงครับ ช่วยหามาลงให้อ่านเอาบุญด้วยครับ
     
  9. NATTAYA nurse

    NATTAYA nurse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +781
    [​IMG]

    บทแผ่เมตตา
    (มหาเมตตาใหญ่)



    เอวัมเมสุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ

    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโตปัจจัสโสสุงฯ

    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ

    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะสุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ?

    (๑) สุขังสุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโยโหติ

    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วาวิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ

    (๙) มุขะวัณโณวิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโตพรหมมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะพะหุลีกะตายะ

    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะอิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุติฯ

    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ


    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะอะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗)สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌาอานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะเทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพเหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ


    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ


    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา

    อะปีฬานะยะอุปะฆาตัง วัชเชตวา

    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา

    อะสันตาเปนะปะริยาทานัง วัชเชตวา

    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา

    อะวิเหสายะสัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุมา

    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตังธัมมัง เจตะยะตีติ

    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะเจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนานิฏฐิตา.

    <O:p</O:p
     
  10. NATTAYA nurse

    NATTAYA nurse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +781

    [​IMG]

    มหาเมตตาใหญ่ บทแปล<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->บทแผ่เมตตา<O:p</O:p
    พรหมวิหาระภาวนา <O:p</O:p
    (มหาเมตตาใหญ่แปล)<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทาน

    พระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง?

    (อานิสงส์ ๑๑ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)<O:p</O:p

    (๑) นอนหลับเป็นสุข<O:p</O:p

    (๒) ตื่นเป็นสุข
    <O:p</O:p
    (๓) ไม่ฝันร้าย

    <O:p</O:p(๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
    <O:p</O:p
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
    <O:p</O:p
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว
    <O:p</O:p
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส
    <O:p</O:p
    (๑๐) ไม่หลงตาย
    <O:p</O:p
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง?
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ

    <O:p</O:p(๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

    <O:p</O:p(๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ประเภทที่ ๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ประเภทที่ ๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ประเภทที่ ๓
    <O:p</O:p
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ประเภทที่ ๔
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ประเภทที่ ๕
    <O:p</O:p
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ประเภทที่ ๖
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ประเภทที่ ๗
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ประเภทที่ ๘
    <O:p</O:p
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ประเภทที่ ๙
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๑๐) ประเภทที่ ๑๐
    <O:p</O:p
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
    <O:p</O:p
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->
     

แชร์หน้านี้

Loading...