พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    น้องอุ้ม ได้ร่วมทำบุญกับกองทุนหาพระถวายวัด เมื่อวันเสาร์ที่ 12 มิถุนายน 2553

    และ คุณpsombat ได้ร่วมทำบุญกับกองทุนหาพระถวายวัด ในวันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2553

    มาร่วมโมทนาบุญกับน้องอุ้ม และ คุณpsombat กันครับ


    .
     
  2. เอ๋เชียงใหม่

    เอ๋เชียงใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    843
    ค่าพลัง:
    +1,791
    ขอบคุณครับ
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หากท่านใดมีความประสงค์ที่จะร่วมคณะกับคณะพี่ชนิดา ที่จะอัญเชิญพระบูชา สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี หน้าตัก9" และพระสมเด็จ(วังหน้า) ไปถวายที่วัดเขาเพิ่ม ให้โทร.เข้ามาหาผมนะครับ จะได้นัดแนะกันในการเดินทาง ส่วนวันที่จะเดินทาง น่าจะเปลี่ยนแปลงจากหมายกำหนดการเดิมครับ

    .
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อวานนี้ ผมออกจากบ้านท่านอาจารย์ประถม ประมาณ 6 โมงเย็น ก็มาแวะปั้ม ปตท.ซึ่งอยู่ไม่ไกลนักจากบ้านท่านอาจารย์ประถม ผมเข้าห้องน้ำเรียบร้อยก็จะออกเดินทางต่อ ผ่านหน้าปั๊ม ผมไปเห็นพระภิกษุรูปหนึ่ง ซึ่งท่านยืนอยู่หน้าปั๊ม ผมก็จอดรถ ถามท่านว่า จะเดินทางไปไหน ท่านบอกว่า จะไปกรุงเทพฯ ผมก็เลยรับท่านขึ้นรถมาด้วย

    ระหว่างทาง ก็คุยกันไปเรื่อยๆ
    ผม: หลวงพ่อเดินทางมาจากไหน จะไปที่ไหน
    หลวงพ่อ: เดินทางมาจากจังหวัดตราด ไปเยี่ยมเพื่อนมา จะเดินทางไปที่สุพรรณฯ
    ผม: หลวงพ่อมาอย่างไรจากตราด
    หลวงพ่อ: เดินมาจากตราด เดินวันละประมาณ 30 กม. ตอนค่ำก็แวะพักตามทางที่ไม่ค่อยมีคนพลุกพล่าน

    .........

    เป็นส่วนหนึ่งของการสนทนาครับ

    จะบอกว่า ถ้าเป็นผม แย่แน่เลย เดินวันละ 30 กม.


    มาโมทนาบุญกับผมที่ช่วยสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์กันในเรื่องของการเดินทางครับ

    .
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมได้ถวายปัจจัยจำนวนหนึ่ง เผื่อท่านไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรืออื่นๆ

    มาโมทนาบุญร่วมกันครับ
    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>นิทานสอนใจ : ช่างไม่เมตตาเอาเสียเลย
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 มิถุนายน 2553 12:39 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=240 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=240>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ท่านพุทธทาสภิกขุแห่งสวนโมกขพลารามบอกว่า "ช่างไม่เมตตาเสียเลย" อาตมาแปลออกมาตามตัว เขาเล่าว่าในประเทศจีน ในสมัยที่นิกายเซ็น กำลังรุ่งเรืองมาก ใครๆ ก็นิยมนับถือภิกษุในนิกายนี้

    มียายแก่คนหนึ่งเป็นอุปัฏฐากของภิกษุรูปหนึ่ง ซึ่งปฏิบัติเซ็นด้วยความศรัทธาอย่างยิ่งเป็นเวลาถึงยี่สิบปี นางได้สร้างกุฏิเล็กๆ หลังหนึ่งที่เหมาะสมอย่างยิ่งให้อยู่ พร้อมกับส่งอาหารให้ทุกวัน นับว่าพระภิกษุรูปนี้ไม่ลำบากในการที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาอะไรเลย แต่ในที่สุดเวลาก็ล่วงมาถึง 20 ปี ยายแก่จึงเกิดเความสงสัยขึ้นมาว่า พระรูปนี้จะได้อะไรเป็นผลสำร็จจากการปฏิบัติบ้างไหม ที่มันจะคุ้มกับข้าวปลาอาหารที่นางส่งเสียให้ตลอด 20 ปี

    ดังนั้น เพื่อให้รู้ความจริงในข้อนี้ ยายแก่ก็คิดหาหนทาง ซึ่งในที่สุดก็พบ โดยนางไปขอร้องให้หญิงสาวคนหนึ่งที่มีรูปร่างหน้าตาท่าทางยั่วยวน เพื่อให้ไปหาพระรูปนั้น โดยบอกว่า "ให้ไปที่นั่นแล้วกอดพระองค์นั้น แล้วถามว่าเดี๋ยวนี้เป็นอย่างไรบ้าง" ผู้หญิงคนนั้นก็ทำตามคำพูดอย่างที่หญิงแก่บอก แต่พระรูปดังกล่าวก็ตอบกลับด้วยถ้อยคำที่เป็นกาพย์กลอน ตามธรรมดาของบุคคลที่มีนิสัยชื่นชอบทางคำประพันธ์ว่า

    "ต้นไม้แก่ ใบโกร๋นบนยอดผา ฤดูหนาวทั้งคราวลมระดมมา อย่ามัวหาไออุ่นแม่คุณเอย"

    ภิกษุรูปนั้นกล่าวเพียงแค่นี้ แล้วไม่ได้พูดอะไรอีก หญิงสาวคนนั้นก็กลับมาบอกยายแก่ เหมือนที่ได้ฟังมา ยายแก่ก็ขึ้นเสียงตะบึงขึ้มาว่า

    "คิดดูซิ ฉันเลี้ยงไอ้หมอนั่นมาตั้ง 20 ปีเต็ม มันไม่มีอะไรเลย แม้แต่เพียงการแสดงความเมตตาออกมาสักนิดนึงก็ไม่มี ถึงแม้จะไม่สนองความต้องการกิเลส ก็ควรจะเอ่ยปากเป็นการแสดงความเมตตากรุณา หรือขอบคุณบ้าง นี่แสดงว่าเขาไม่มีคุณธรรมอะไรเลย"


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>"ไฟแห่งความโกรธ"สามารถทำลายความเชื่อมั่นในจิตใจได้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>เมื่อเป็นเช่นนี้ยายแก่ ก็ไปที่กุฏิที่ภิกษุรูปนั้นพักอยู่ จากนั้นได้จุดไฟเผากุฏินั้นเสีย และไม่ส่งอาหารให้พระภิกษุรูปนั้นอีกต่อไป

    นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนบางคนย่อมต้องการอะไรที่ตรงกันข้ามกับที่ตัวเราเองนึกฝันก็เป็นได้ ดูอย่างสติปัญญาของคนแก่สิ แกมีแบบแห่งความยึดมั่น ที่แกยึดถืออย่างเคร่งครัด ยิ่งแก่ยิ่งหนังเหนียว ยิ่งหมายความว่า ยิ่งยึดถือมาก ฉะนั้นถ้าจะไปโกรธคนที่มีความคิดอย่างนั้น มีหลักเกณฑ์อย่างนั้น หรือมีความเคยชินอย่างนั้นก็ไม่ได้

    ดังนั้นต้องให้อภัย ต้องไม่โกรธเร็วเกินไป หรือว่าเราจะไม่โกรธใครเลยก็จะเป็นเรื่องที่ดี และจะเป็นครูบาอาจารย์ที่มีความสุขที่สุด แล้วจะเป็นครูบาอาจารย์ที่ทำหน้าที่ได้สนุก และดีที่สุดเช่นกัน ฉะนั้นขอให้จำไว้ว่า "คนเรานั้นมีอะไรที่ไม่เหมือนกัน มีอะไรที่ไม่นึกไม่ฝันกันมากมายบนโลกใบนี้"

    *** ทางทีมงาน Life and Family ขอขอบคุณ นิทานเรื่องสั้น: นิทานเซ็น มหรสพทางวิญญาณเพื่อจริยธรรม เล่าโดย...ท่านพุทธทาสภิกขุแห่งสวนโมกขพลาราม ณ หอประชุมคุรุสภา พุทธศักราช 2505 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์ ธรรมสภา

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"โรคเซ็งเรื้อรัง" สังเกตดีๆ คนในบ้านคุณเป็นหรือเปล่า?
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>14 มิถุนายน 2553 15:18 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=240 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=240>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> วันนี้ดูเหมือนไปที่ไหนๆ ก็จะพบผู้คนที่ยิ้มแห้งๆ และบอกว่า "เซ็งว่ะ" โดยเป็นที่รู้กันว่า คำว่า "เซ็ง" กินขอบเขตไปถึงเรื่องอะไรบ้าง แต่ในความหมายของโรคเซ็งเรื้อรังที่มีการพูดถึงมากในวงการแพทย์ขณะนี้คือ กลุ่มอาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง หรือ Chronic fatigue syndrome (CFS) ซึ่งในที่นี้ขอเรียกว่า "โรคเซ็งเรื้อรัง" เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย

    ในเรื่องนี้ นพ.ม.ล.สมชาย จักรพันธุ์ เปิดเผยว่า ผู้ที่ป่วยด้วยกลุ่มอาการ "เซ็งเรื้อรัง" ที่ว่านี้ จะมีอาการอ่อนเพลียและเหนื่อยอ่อนอยู่เป็นระยะเวลานานอาจเป็นเดือน หลายเดือน หรือเป็นปี ภายหลังจากที่ต้องพบกับภาวะเครียดอย่างรุนแรง หรือภายหลังการเจ็บป่วย เช่น ไข้หวัดใหญ่ ท้องเดินอย่างแรง เป็นต้น อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรงของคนปกติมักจะหายไปภายหลังการได้พักหรือนอนหลับให้เต็มที่สัก 2-3 วัน แต่ผู้ที่เป็นโรคเซ็งเรื้อรัง ไม่ว่าจะพักผ่อนขนาดไหนหรือบำรุงร่างกายมากเพียงใดก็ยังมีอาการอ่อนเพลียอย่างมากอยู่ โดยที่ไม่สามารถตรวจพบความผิดปกติใดๆ ได้

    โรคเซ็งเรื้อรัง หรือ CFS นี้ มีผู้รายงานในชื่อของอาการอื่นมานานกว่า 1 ศตวรรษ โดยในปี ค.ศ. 1860 นพ.จอร์จ เบียร์ด เรียกชื่อกลุ่มโรคนี้ว่า Neurasthenia โดยเชื่อว่าเป็นโรคประสาทชนิดหนึ่งที่มีอาการอ่อนเปลี้ย เหนื่อยง่ายโดยไม่พบสาเหตุ แพทย์อีกหลายคนวินิจฉัยผู้มีอาการเหล่านี้ว่าเป็นโรคโลหิตจางบ้าง หรือน้ำตาลในเลือดต่ำ บางครั้งเลยไปถึงคิดว่าเป็นโรคเชื้อราแคนดิดาทั้งตัวก็มี

    ต่อเมื่อวิวัฒนาการทางการแพทย์เจริญขึ้น ในกลางทศวรรษที่ 1980 โรคนี้ถูกขนานนามว่าเป็น "Chronic EBV" โดยเชื่อว่าเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากเชื้อไวรัสเอ็บสไตน์ บาร์ (Epstein-Barr) แต่ในปัจจุบันทฤษฎีนี้ยังไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก เพราะเราสามารถตรวจพบระดับแอนติบอดีของไวรัสอีบีวีที่เพิ่มขึ้นทั้งในผู้มีอาการและคนปกติ และในทางกลับกัน ผู้ที่มีอาการกลับไม่พบระดับของไวรัสอีบีวี แอนติบอดี หรือไม่เคยติดเชื้อไวรัสอีบีวีเลย

    ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเซ็งเรื้อรัง มักจะมีอาการอย่างรวดเร็ว เริ่มต้นโดยอาการปวดศีรษะ เจ็บบริเวณต่อมน้ำเหลือง ปวดตามข้อและกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย และขาดสมาธิ เป็นอาการที่คล้ายกับไข้หวัดใหญ่ แต่คงจะอยู่นานกว่า ส่วนใหญ่จะมีอาการภายหลังการเจ็บป่วยด้วยโรคทางกาย เช่น ไข้หวัด หลอดลมอักเสบ ตับอักเสบ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=240 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=240>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ขอบคุณภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ขณะที่บางรายอาจเกิดขึ้นหลังจากมีอาการของโมโนนิวคลีโอลิส (Mononucleosis) หรือโรคจูบ (Kissing disease) ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้พละกำลังของวัยรุ่นถดถอยลงไปชั่วระยะหนึ่ง ในบางรายอาการจะค่อยเป็นค่อยไปโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยบางรายบอกว่า เริ่มมีอาการหลังจากพบกับความเครียดมากๆ

    น่าแปลกที่ว่า โรคเซ็งเรื้อรังหรือ CFS นี้จะพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 2-4 เท่า อย่างไรก็ตาม แพทย์ทั่วไปยังคิดถึงโรคนี้น้อยกว่าที่ควร เนื่องจากการวินิจฉัยค่อนข้างยาก เพราะมีอาการที่อาจเป็นได้หลายโรค แพทย์ต้องวินิจฉัยแยกโรคทางกายที่มีอาการอ่อนเพลียคล้ายๆ กันไปก่อน เช่น Lupus หรือ Multiple Sclerosis ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ความเห็นว่า โรคเซ็งเรื้อรังอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของโรคที่เป็นติดต่อกันโดยมีภาวะอ่อนเพลียเป็นอาการสำคัญ

    โรคเซ็งเรื้อรังยังไม่มีการรักษาที่เฉพาะลงไปได้ มีการให้ยาต้านไวรัส ยาต้านอารมณ์เศร้า ยาเพิ่มภูมคุ้มกัน รวมทั้งการให้อิมมูโนโกลบินในขนาดสูงๆ บางรายใช้ยาสงบประสาทพวก Benzodiazepine ร่วมด้วย เพื่อลดอาการวิตกกังวลและช่วยให้หลับ นอกจากนี้ ยังใช้ยาเพื่อรักษาอาการ เช่น ยาระงับปวดหรือยาแก้โรคภูมิแพ้

    อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญได้แนะนำว่า ผู้ที่มีอาการเรื้อรังควรพยายามรักษาสุขภาพของตนเอง กินอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายพอสมควรที่จะไม่ก่อให้เกิดอาการอ่อนเพลียอีก ผู้ป่วยควรรู้จักที่จะดูแลตนเองให้เหมาะทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา เพราะความเครียดจะทำให้มีอาการมากขึ้น

    ในยุคที่ชีวิตแวดล้อมด้วยเรื่อง "ชวนเซ็ง" อยู่ทุกเมื่อเชื่อวันเช่นนี้ การรู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง และชวนคนรอบตัวหันไปมองเรื่องดีๆ ที่ให้กำลังใจ ประกอบกับศึกษาหลักความเป็นธรรมดาของโลก น่าจะเป็นวัคซีนที่ดีที่สุดในการป้องกันตนเองและคนรอบตัวให้ปลอดภัยจากโรคที่ไม่มียารักษา แต่มีอานุภาพบั่นทอนสุขภาพได้อย่างรุนแรง

    เหนือขึ้นไปกว่านั้น การคิดและทำในสิ่งที่ดีบนหลักของการไม่เบียดเบียน และให้ความเคารพต่อเพื่อนร่วมสังคมอยู่เสมอ จะช่วยสร้างภูมิต้านทานการแพร่ระบาดของ "โรคเซ็งเรื้อรัง" ให้แก่สังคมไทยของเราทุกคน

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียนท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า , ท่านสมาชิกคณะพระวังหน้า และสมาชิกกองทุนหาพระถวายวัดทุกๆท่าน

    ตามคำเรียกร้องที่อยากได้พระกริ่งปวเรศ แต่ในครั้งนี้ จำนวนเงินที่จะบูชาสูงนิดนึง ผมจะจัดชุดซึ่งมีหลากหลายรุ่นและหลายพิมพ์

    1.พระกริ่งปวเรศ (เนื้อเงิน สเตอร์ริ่งซิลเวอร์) (สร้างขึ้นที่ทวีปยุโรปและนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวง ปีพ.ศ.2434 จำนวน 1 องค์
    2.พระสมเด็จ กลักไม้ขีด จำนวน 10 องค์ (ไม่รวมพระสมเด็จ กลักไม้ขีด รุ่นแรก และรุ่นที่ปิดทองร่องชาด)
    3.พระสมเด็จ อกครุฑอาบน้ำว่าน จำนวน 3 องค์


    ผมมีจำนวน 3 ชุด ให้ร่วมทำบุญจำนวน 7,000 บาท
    โดยร่วมทำบุญกับกองทุนหาพระถวายวัดทั้งหมด (ไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น)

    ท่านใดมาจองและโอนเงินร่วมทำบุญก่อน ได้บูชาก่อน

    เริ่มต้นการจองและโอนเงินร่วมทำบุญวันอังคารที่ 15 มิถุนายน 2553
    สิ้นสุดการจองและโอนเงินร่วมทำบุญในวันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม 2553

    รายละเอียดการโอนเงินร่วมทำบุญ ผมจะส่งรายละเอียดให้ทาง Email ครับ

    โมทนาบุญทุกประการ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียนท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า , สมาชิกคณะพระวังหน้า และสมาชิกกองทุนหาพระถวายวัดทุกท่าน

    ผมเคยบอก(ตามคำพูดของพี่ใหญ่) ในกระทู้พระวังหน้าฯนี้ นานแล้ว(น่าจะประมาณ 3 ปีกว่าๆ) ว่า เรื่องของกระทู้พระวังหน้าฯ ที่มีเหตุต่างๆในการโจมตีพระวังหน้า ว่า จะมีการโจมตีไปเรื่อยๆ จะมีเหตุเกิดขึ้นอีกในอนาคต

    เรื่องของการโจมตี ก็จะหยุดลงก็ต่อเมื่อ กระทู้พระวังหน้าฯ โดนปิดกระทู้ หรือ โดนลบกระทู้

    การโจมตี จะมีเป็นระยะๆกันต่อๆไปในอนาคต

    เป็นเรื่องธรรมดา เป็นเรื่องปกติ ที่ต้องโดนโจมตีครับ

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ช้าง

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->ช้าง
    ?

    [​IMG]

    การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์[แสดง]
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>อาณาจักร</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สัตว์ (Animalia)</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>ไฟลัม</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สัตว์มีแกนสันหลัง (Chordata)</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>ไฟลัมย่อย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrata)</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>ชั้น</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalia)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>อันดับ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>อันดับช้าง (Proboscidea)</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>วงศ์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Elephantidae
    <SMALL>Gray, 1821</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>

    ข้อมูลทั่วไป[แสดง]
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>







    <DL><DD>สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ช้าง (แก้ความกำกวม)

    </DD></DL>ช้าง จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดลำตัวใหญ่ ขนตามลำตัวสีเทา จมูกยื่นยาวเรียกว่า งวง ตัวผู้มีงายาวเรียก "ช้างพลาย" ถ้าไม่มีงาเรียก "ช้างสีดอ" ตัวเมียเรียก "ช้างพัง"
    ช้างเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ช้างใช้เวลาในการตั้งครรภ์นานที่สุดในบรรดาสัตว์บกคือ 22 เดือน ช้างแรกเกิดจะมีน้ำหนักประมาณ 120 กิโลกรัม มีอายุขัยประมาณ 50 ถึง 70 ปี ช้างที่มีอายุมากที่สุดที่ได้บันทึกไว้คือ 82 ปี

    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] ประเภทและสายพันธุ์


    ช้างปัจจุบัน มีสองสายพันธุ์ คือ
    1. ช้างแอฟริกัน
    2. ช้างเอเชีย
    ช้างโบราณ ได้แก่
    1. ช้างแมมมอธ
    2. ช้างสี่งา
    [แก้] ช้างในสื่อต่างๆ

    ช้างเป็นสัตว์ที่ปรากฏตัวมากหลายครั้งในสื่อต่างๆ ดังนี้
    [แก้] ภาพยนตร์


    ยังมีภาพยนตร์ไทยที่กล่าวถึงความสำคัญของช้างอีกมากมาย แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของช้างที่เป็นสัญลักษณ์ของชาติไทย เช่น
    <DL><DD>ภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับการผจญภัยของช้างกับเด็ก แสดงให้เห็นถึงความฉลาด น่ารัก แสนรู้ของช้าง </DD></DL>
    <DL><DD>ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องที่สองของไทย มีเนื้อหาเกี่ยวกับช้าง </DD></DL>
    <DL><DD>ภาพยนตร์แอคชั่น มีเนื้อหาเกี่ยวกับการลักพาช้างออกนอกประเทศ พระเอกในเรื่องซึ่งเป็นเจ้าของช้างได้ไปตามทวงคืนมา แสดงให้เห็นถึงความรักและหวงแหนช้าง สัตว์ประจำชาติของชาติไทย </DD></DL>
    <DL><DD>ภาพยนตร์แอคชั่น ซึ่งมีช้างเป็นกองกำลังสมทบ </DD></DL>
    • ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์หลายเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสงคราม มักมีการนำช้างมาใช้ในฉากสงคราม
    [แก้] ช้างในความเชื่อ


    ในความเชื่อของฮินดู ช้างที่กล่าวถึง คือ ช้างเอราวัณซึ่งเป็นพาหนะของพระอินทร์ และพระพิฆเนศซึ่งมีศีรษะเป็นช้าง ส่วนในจินตนาการสัตว์ป่าหิมพานต์ก็มีสัตว์ที่มีช้างหลายแบบเช่น
    [แก้] ดูเพิ่ม

    ช้าง - วิกิพีเดีย
    .


    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อวันอาทิตย์(13 มิถุนายน 2553)ที่ผ่านมา ผมนำวัตถุอย่างหนึ่ง นำไปให้ท่านอาจารย์ประถมดู ท่านอาจารย์ประถมบอกกับผมว่า สิ่งนี้เรียกว่า ปรอทกรอ

    พี่ใหญ่บอกกับผมว่า ดี และมี.........

    ในวันงานของกองทุนหาพระถวายวัดในครั้งหน้า ผมจะนำไปให้ชมกัน

    ส่วนท่านใดที่จองและร่วมทำบุญในชุด พระกริ่งปวเรศ,พระสมเด็จกลักไม้ขีดและอกครุฑอาบน้ำว่าน ผมยินดีมอบให้ท่านละ 1 ชิ้น

    คุณสมบัติของปรอทกรอ จะมีคุณสมบัติคล้ายๆเบี้ยแก้ (น้องๆเบี้ยแก้) แต่จะมีความพิเศษอีกประการก็คือ เวลาที่มีขโมย หรือสิ่งไม่ดีจะเข้ามา ตัวปรอทกรอจะส่งเสียงเตือนผู้ที่ครอบครอง เพื่อเตือนภัย

    โปรดติดตามชมในวันงานของกองทุนหาพระถวายวัดนะครับ



    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับท่านที่จองชุดและร่วมทำบุญในชุด พระกริ่งปวเรศ,พระสมเด็จกลักไม้ขีดและอกครุฑอาบน้ำว่าน

    นอกจาก ปรอทกรอ ที่ผมมอบให้ท่านละ 1 ชิ้น แล้ว

    ผมยังมอบลูกอม ของวังหน้า ให้ท่านละ 2 ลูกอีก (มี 2 เนื้อ) ครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE height=485 cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left colSpan=2 height=43><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=style9>วัดเขาเพิ่มศรีสว่าง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="98%" height=190><TABLE class=line height=114 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3>สถานที่ตั้ง บ้านเขาเพิ่ม</TD></TR><TR><TD width="25%">เลขที่ 53</TD><TD colSpan=2>หมู่ที่/หมู่บ้าน 1</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ซอย </TD><TD width="55%">ถนน บ้านนา-แก่งคอย</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ตำบล เขาเพิ่ม </TD><TD>อำเภอ บ้านนา</TD></TR><TR><TD colSpan=3>จังหวัด นครนายก</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=line cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=38>ค่าพิกัดภูมิศาสตร์
    zone
    47 พิกัด-x 1589734 พิกัด-y 0724512</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=line height=147 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3>การเข้าถึงข้อมูล </TD></TR><TR><TD colSpan=3>ชื่อบุคคลอ้างอิง อีเมล์ </TD></TR><TR><TD colSpan=3>ชื่อหน่วยงานอ้างอิง สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครนายก อีเมล์ </TD></TR><TR><TD width="22%">เลขที่ </TD><TD width="30%">หมู่ที่/หมู่บ้าน </TD><TD width="48%">ซอย </TD></TR><TR><TD>ถนน สุวรรณศร</TD><TD>ตำบล ท่าช้าง</TD><TD>อำเภอ เมืองนครนายก</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จังหวัด นครนายก</TD><TD>รหัสไปรษณีย์ 26000</TD></TR><TR><TD colSpan=2>หมายเลขโทรศัพท์ 037315050</TD><TD>หมายเลขโทรสาร 037321442 </TD></TR><TR><TD colSpan=3 height=18>ที่อยู่ของเว็บไซต์ </TD></TR><TR><TD colSpan=3 height=18>เว็บไซต์ภาพ 360 องศา </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สาระสำคัญ

    วัดเขาเพิ่มศรีสว่าง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2538 บนเนื้อที่ 10 ไร่ 5 งาน 36 ตารางวา โดยผู้ใหญ่เงาะ ศรีสว่าง เป็นผู้ถวายที่ดินให้สร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2539 มีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2528 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2523 หอสวดมนต์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2541 กุฏิสงฆ์ จำนวน ๙ หลัง ศาลาบำเพ็ญกุศล จำนวน 1 หลัง นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือ หอพระหลวงพอป่าเรไลยก์ หอระฆัง ฤาษีนารอด และปู่หมอชีวก โกมารภัจจ์ โรงครัว โรงทาน ศาลาปฏิบัติธรรม มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2531

     
  14. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 26 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 22 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>พรสว่าง_2008, psombat, sithiphong+, somlatri </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สวัสดีครับทุกๆท่าน ไม่ค่อยได้เข้า web ครับ ที่ผ่านมามีภาระกิจต้องออกข้างนอกตลอดครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีลบ "ไม่เห็นด้วย" ออก ในกรณีกดผิด
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Pinit<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_3395888", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->มีสมาชิกหลายท่าน จะกด [​IMG] แล้วกดผิดเป็น [​IMG]
    แต่ไม่ทราบว่าจะลบ "ไม่เห็นด้วย" ออก ในกรณีกดผิดได้ยังไง
    วิธีลบ ดังนี้ครับ

    ไปโฟสต์ที่เรากด "ไม่เห็นด้วย" ดูข้างล่างที่แถบสีชมพู
    ด้านขวามือจะเห็น [​IMG] แล้วคลิกเลย ตามรูปประกอบ

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><THEAD><TR><TD background=images/gradients/bg_p.gif>สมาชิกที่กล่าว " ไม่เห็นด้วย " กับข้อความของ คุณ XXXX ที่เขียนไว้ทางด้านบน ..........................................คลิกตรงนี้ >[​IMG] </TD></TR></THEAD><TBODY></TBODY></TABLE>

    แล้วเราจะเห็นข้อความว่า................................................. ลบออก < คลิกตรงนี้



    เป็นอันเสร็จสิ้นตามขั้นตอนแล้วครับ
    อ่อ สุดท้ายอย่าลืมกด
    [​IMG] ให้กันคืนด้วยล่ะครับ เพราะนี่คือมิตรภาพ :cool:<!-- google_ad_section_end -->

    http://palungjit.org/threads/วิธีลบ-ไม่เห็นด้วย-ออก-ในกรณีกดผิด.243069/
    .
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>หยิ่นหลางรู่ซื่อ : ชักนำจิ้งจอกเข้าห้องหับ
    China - Manager Online

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 มิถุนายน 2553 16:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><CENTER>《引狼入室》 </CENTER>
     
    引(yǐn) อ่านหว่า หยิ่น แปลว่า ชักนำ
    狼(láng) อ่านว่า หลาง แปลว่า สุนัขจิ้งจอก
    入(rù) อ่านว่า รู่(ยู่) แปลว่า เข้า
    室(shì) อ่านว่า ซื่อ แปลว่า ห้อง


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>ภาพจาก http://img.blog.163.com</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>มีคนเลี้ยงแกะผู้หนึ่ง ปล่อยแกะกินหญ้าอยู่ในหุบเขาลึก วันหนึ่งเขาพบว่าในที่ห่างไกลออกไปนั้น มีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งค่อยๆ เลาะเลียบติดตามฝูงแกะอยู่ ช่วงเวลาดังกล่าวคนเลี้ยงแกะจึงได้เพิ่มความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น

    เวลาผ่านไปหลายเดือน สุนัขจิ้งจอกยังคงตามฝูงแกะอยู่ห่างๆ เช่นเดิม ทว่าไม่ได้เข้าใกล้ฝูงแกะมากขึ้นแม้แต่น้อย ทั้งยังไม่ได้ทำร้ายแกะแม้สักตัวเดียว ทำให้คนเลี้ยงแกะค่อยๆ เปลี่ยนความคิดระแวดระวังในตัวสุนัขจิ้งจอกลงเรื่อยๆ ต่อมาคนเลี้ยงแกะถึงกับคิดว่าการที่มีสุนัขจิ้งจอกตามหลังฝูงแกะนั้นก็เป็นเรื่องที่ดี เพราะทำให้ไม่ต้องคอยระวังภัยจากสัตว์ป่าอื่นๆ จะมาทำร้ายฝูงแกะ จากนั้นอีกไม่นานนัก คนเลี้ยงแกะจึงยึดถือว่าสุนัขจิ้งจอกตัวนั้นเป็นเพียงสุนัขเลี้ยงแกะไม่มีพิษสง ถึงกับเรียกให้มันมาทำหน้าที่ดูแลฝูงแกะและคอยต้อนแกะ

    สุนัขจิ้งจอกทำหน้าที่ดูแลแกะโดยอยู่ในสายตาของคนเลี้ยงแกะตลอดเวลา คนเลี้ยงแกะเห็นว่าสุนัขจิ้งจอกทำหน้าที่ได้อย่างดี ในใจคิดว่า "ผู้คนต่างเห็นว่าสุนัขจิ้งจอกเป็นสัตว์ร้ายไว้ใจไม่ได้ แต่ข้ากลับเห็นว่าความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น..."

    วันหนึ่ง คนเลี้ยงแกะมีธุระต้องเดินทางเข้าไปในเมือง จึงได้ฝากให้สุนัขจิ้งจอกดูแลฝูงแกะตามลำพังด้วยความไว้ใจ มิคาด...เมื่อคนเลี้ยงแกะลับตาไป สุนัขจิ้งจอกกลับเปล่งเสียงกู่ร้องเรียกฝูงสุนัขจิ้งจอกออกมาจากป่า จากนั้นจึงจับฝูงแกะกินเป็นอาหารจนราบคาบ

    สำนวน "หยิ่นหลางรู่ซื่อ" หรือ "ชักนำจิ้งจอกเข้าห้องหับ" ใช้เปรียบเทียบกับการนำคนชั่วหรือศัตรูมาไว้ใกล้ตัวก็ไม่ต่างกับการนำเภทภัยมาไว้ข้างกาย สุดท้ายกลับส่งผลร้ายต่อตนเองเกินกว่าที่จะคาดคิด มีความหมายคล้ายคลึงกับคำว่า "ชักน้ำเข้าลึก ชักศึกเข้าบ้าน" ในภาษาไทย

    สำนวนนี้ใช้ในตำแหน่งภาคแสดง(谓语) หรือส่วนขยายนาม(定语)

    ตัวอย่างประโยค
    雇请保姆照顾老人要更加小心,要不会变成引狼入室
    การจ้างแม่บ้านมาดูแลคนแก่ต้องระวังให้มาก มิฉะนั้นจะกลายเป็น
    ~

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เมื่อการ "ขี้ลืม" ไม่ได้เป็นแค่เรื่องเล็กๆ
    Life & Family - Manager Online

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 มิถุนายน 2553 08:23 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=240 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=240>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ขอบคุณภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>เชื่อว่าหลายบ้าน คงเคยมีอาการเหล่านี้มาบ้างไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะบ้านที่มีผู้สูงวัย เริ่มตั้งแต่ หาโทรศัพท์ไม่เจอทั้งๆ ที่อยู่ในมือตัวเอง เดินหมุนตัวอยู่ในครัวเพราะจำไม่ได้ว่าจะมาหยิบอะไร หรือที่หนักกว่านั้นคือ ลืมบางเหตุการณ์ของเมื่อวานไปเสียสนิท

    เหตุการณ์ในทำนองนี้ เกิดขึ้นกับคุณ หรือคนในบ้านคุณบ่อยไหม? ถึงแม้จะเป็นอาการหลงลืมเล็กๆ น้อยๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่ในบางกรณีหากเกิดขึ้นบ่อยเกินไป ก็อาจจะไม่ใช่เรื่องเล็กๆ อีกต่อไป เพราะอาการดังกล่าว กำลังเข้าข่าย "อัลไซเมอร์" โดยไม่รู้ตัว

    วันนี้ทีมงาน Life and Family มีข้อมูลน่าสนใจ และเป็นประโยชน์จากโรงพยาบาลเวชธานีเกี่ยวกับเรื่องนี้มาฝากัน โดยคำว่า "อัลไซเมอร์" เป็นโรคอย่างหนึ่งที่มีการทำลายเซลล์สมองไปเรื่อยๆ มีอุบัติการณ์ตามอายุที่มากขึ้น มักพบกับคนในบ้านที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป เป็นหนึ่งในโรคที่พบบ่อยของกลุ่มโรคผิดปกติทางสมอง "Dementia" ซึ่งมีการถดถอยในหน้าที่ของสมอง จำเหตุการณ์และช่วงเวลาได้ไม่แน่นอน ความจำเสื่อม มีปัญหาเรื่องการคิดอ่าน หาเหตุผล มีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างแปลกๆ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่เหมาะสม อารมณ์จะไม่สม่ำเสมอ เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ

    ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาดได้ เป็นการให้การรักษาตามอาการ และชะลออาการของโรคไม่ให้ลุกลามไปอย่างรวดเร็วเท่านั้น จึงทำให้โรคอัลไซเมอร์แตกต่าง และรุนแรงกว่าอาการสมองเสื่อมที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ วิธีการที่ดีที่สุดคือ ป้องกันจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ส่งเสริมให้เกิดอัลไซเมอร์ โดยการควบคุมโรคหัวใจ งดการสูบบุหรี่ และดื่มของมึนเมา ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงอาหารมัน รับประทานผักผลไม้ และอาหารที่อุดมไปด้วย วิตามินบี 6 บี 12 และกรดโฟลิค พร้อมกับฝึกสมาธิ และคิดคำนวณ บริหารจัดการความเครียด และอย่าลืมตรวจสุขภาพเป็นประจำ

    อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น อายุที่มากขึ้น ประวัติในครอบครัว และการผ่าเหล่าทางพันธุกรรม โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการของ Down's Syndrome มักจะเกิดอัลไซเมอร์ก่อนอายุ 40 ปี


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=240 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=240>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ขอบคุณภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ใครในบ้านที่เสี่ยงเป็น "อัลไซเมอร์" บ้าง?

    1. ผู้สูงอายุ

    ยิ่งอายุมากขึ้น ยิ่งมีโอกาสเป็นมากขึ้น โดยพบว่าร้อยละ 25 ของผู้ป่วยอายุ 85 ปีเป็นโรคนี้ ดังนั้นคิด และคำนวณเกี่ยวกับตัวเลขอยู่บ่อยๆ เช่น คำนวณเวลา คำนวณราคาซื้อขาย หรือถ้าเป็นไปได้อยากให้ทำคณิตคิดเร็ว เป็นการฝึกสมองได้เป็นอย่างดี

    2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง

    จะทำให้ผู้ป่วยเสียความทรงจำ การรักษาความดันจะทำให้ความดันดีขึ้น

    3. หญิงวัยหมดประจำเดือน

    ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ลดลงในวัยหมดประจำเดือนของผู้หญิงจะเพิ่มปัจจัยเสี่ยงให้เกิดโรคนี้ได้

    4. กรรมพันธุ์

    ถ้ามีบุคคลในครอบครัวป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ หรือปัญญาอ่อน จะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น

    5. ภาวะขาดสารอาหารที่มีแอนตี้ออกซิแดนท์ (Antioxidant) ที่ช่วยป้องกันการเสื่อมของเซลล์

    6. ภาวะที่สมองได้รับการกระทบกระเทือน

    รู้ได้อย่างไรว่ากำลังจะเป็น "อัลไซเมอร์"

    1. อาการหลงลืม เช่น หลงลืมสิ่งของ ลืมนัด จำเหตุการณ์ หรือคำพูดที่เพิ่งผ่านมาไม่ได้

    2. สับสนเรื่องเวลา สถานที่ กลับบ้านไม่ถูก

    3. จำบุคคลที่เคยรู้จัก เพื่อน หรือสมาชิกภายในครอบครัวไม่ได้ คิดว่าเป็นคนแปลกหน้า

    4. มีปัญหาเรื่องการพูด ลืม หรือเรียกสิ่งของไม่ถูก พูดคำ หรือประโยคซ้ำๆ

    5. ไม่สนใจในสิ่งที่เคยสนใจ เช่น กิจกรรมประจำวัน งานอดิเรก

    6. มีปัญหาเรื่องการนับ หรือถอนเงิน การใช้โทรศัพท์

    7. มีพฤติกรรมที่อาจเกิดปัญหายุ่งยาก เช่น ออกจากบ้านเวลากลางคืน พฤติกรรมก้าวร้าว

    8. ไม่สนใจดูแลความสะอาดของตัวเอง เช่น แปรงฟันไม่เป็น อาบน้ำไม่เป็น

    หากพบว่า ผู้สูงอายุในครอบครัวมีปัญหาดังกล่าวข้อใดข้อหนึ่ง หรือมากกว่า อาจเป็นไปได้ว่ามีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคอัลไซเมอร์แล้ว หรืออาจมีปัญหาด้านสุขภาพอื่นๆ ควรมาพบแพทย์อายุรกรรมระบบประสาท เพื่อรับการตรวจโดยละเอียด และวินิจฉัยแยกโรค เนื่องจากมีโรคหลายอย่างที่มีอาการความจำเสื่อม ซึ่งรักษาให้หายได้ เช่น โรคไทรรอยด์ ซิฟิลิสขึ้นสมอง หรือโรคขาดวิตามินบี 12 เป็นต้น และหากตรวจพบว่า เป็นอัลไซเมอร์ก็จะได้รีบให้การรักษา เพื่อชะลออาการของโรคออกไปให้ได้นานที่สุด


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สวนโมกข์ใน กทม. เปิด 1 สิงหาคม
    หอจดหมายเหตุพุทธทาส เตรียมเปิด 1 ส.ค.นี้

    [​IMG]
    หอจดหมายเหตุพุทธทาส


    สวนโมกข์ในกทม.เปิด1สิงหา. เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนธรรม (ไทยโพสต์)

    เตรียมจัดงานเปิดตัวหอจดหมายเหตุพุทธทาส วันที่ 1 ส.ค.นี้ หลังการก่อสร้างอาคารใกล้เสร็จสมบูรณ์ เหลือตกแต่งรายละเอียด เชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรมดื่มด่ำธรรมะจากสวนโมกข์แห่งกรุงเทพฯ พร้อมให้บริการห้องสมุดหนังสือธรรมะ ผลงานท่านพุทธทาสไว้ศึกษาค้นคว้า

    เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน นพ.บัญชา พงษ์พานิช กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ กล่าวถึงความคืบหน้าการก่อสร้างหอจดหมายเหตุพุทธทาส ว่า ใกล้จะเสร็จสมบูรณ์ 100% แล้ว เหลือเพียงการตกแต่งรายละเอียดเล็กน้อย เช่น ระบบไฟและการปรับปรุงภูมิทัศน์ คาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในเดือนมิถุนายนนี้ จากนั้นเราจะเข้าไปบริหารจัดการพื้นที่ให้พร้อมเปิดให้บริการ โดยมีกำหนดการจัดพิธีทำบุญเปิดหอจดหมายเหตุพุทธทาสในวันที่ 1 สิงหาคม และเปิดให้ประชาชนเข้าใช้บริการห้องสมุดและจัดกิจกรรมต่างๆ ได้ ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการจะกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ในภายหลัง

    นพ.บัญชากล่าวว่า การก่อสร้างหอจดหมายเหตุพุทธทาส ณ สวนวชิรเบญจทัศน์ (สวนรถไฟ) เกิดความล่าช้าเล็กน้อย เพราะมีปัญหาอุปสรรคต่างๆ จึงต้องเลื่อนกำหนดการเปิดให้บริการออกไปจากเดิมในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา

    สำหรับในวันที่ 1 สิงหาคมนี้ จะมีพิธีเปิดตั้งแต่เช้า เริ่มเวลา 08.00 น. ตักบาตรสาธิตและถวายภัตตาหารแบบพุทธกาล บริเวณลานหินโค้งแห่งใหม่ จากนั้นเปิดห้องหนังสือและสื่อธรรม ลานนิทรรศการ เวทีกิจกรรมมหรสพทางปัญญา การแสดงธรรมกถาสมโภชพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสำริด และภาพปูนปั้นพุทธประวัติจากสวนโมกขพลาราม โดยพระไพศาล วิสาโล

    ในช่วงบ่ายจะมีการนำปฏิบัติธรรม โดยพระอาจารย์โพธิ์ จันทสโร ต่อด้วยการเปิดนิทรรศการนิพพานชิมลอง ซึ่งเป็นการนำสื่อผสมมาจัดแสดงให้ผู้ใช้บริการได้ลิ้มรสสัมผัสภาวะนิพพานว่าเป็นอย่างไร การจัดแสดงภาพศิลปะบูชาพุทธทาสของบรรดาศิลปิน กิจกรรมมหรสพทางวิญญาณ เช่น ดนตรีจีวันแบนด์ ละครมะขามป้อม ดนตรีเพื่อปัญญา นำพาสุขสู่สังคม อ่านบทกวีโดยนายอังคาร กัลยาณพงศ์ และนายเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ

    "การสร้างหอจดหมายเหตุพุทธทาสตั้งอยู่บนแนวความคิดที่ว่า เป็นการนำสวนโมกข์เข้าหาสาธารณชน เป็นศูนย์กลางธรรมะในกรุงเทพฯ ที่สมบูรณ์แบบ เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนธรรม และเป็นโรงมหรสพทางวิญญาณที่เป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าวิจัยผลงานท่านพุทธทาสทั้งหมด" นพ.บัญชา กล่าว

    สำหรับแนวคิดในการออกแบบตัวอาคารหอจดหมายเหตุพุทธทาส เน้นความเรียบง่ายตามแนวคิดท่านพุทธทาส โดยใช้สีที่เป็นธรรมชาติของวัสดุและไม่มีสิ่งแปลกปลอมกับอาคาร ชั้นล่างจะมองเห็นสวนรถไฟอยู่ด้านหน้า ส่วนชั้นสองออกแบบให้ลมพัดเข้าออกได้ตลอดทั้งวัน บรรยากาศสงบเงียบและเย็นสบาย เหมาะแก่การนั่งสมาธิ ทั้งนี้ สัญลักษณ์ที่โดดเด่นของหอจดหมายเหตุพุทธทาสก็คือ สระนาฬิเกร์ ซึ่งเป็นปริศนาธรรมของท่านพุทธทาส โดยมีที่มาจากเพลงกล่อมเด็กของภาคใต้ที่มีมาแต่โบราณ เป็นการสอนลูกหลานให้มุ่งสู่นิพพาน ส่วนสถาปัตยกรรมของหอจดหมายเหตุ ก็ยึดเอารูปแบบของโรงมหรสพทางวิญญาณที่สวนโมกข์มาสร้าง

    นพ.บัญชา กล่าวอีกว่า ตัวอาคารหอจดหมายเหตุพุทธทาสมี 3 ชั้น ชั้นล่างสุดมีลักษณะโล่งกว้าง สำหรับนั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรม มีลานหินโค้ง ภาพแกะสลักนูนต่ำ ส่วนหนึ่งยกจากสวนโมกข์มาติดตั้งที่นี่ ห้องสมุดหนังสือธรรมะให้บริการยืมและค้นคว้าทำสำเนาไปใช้ในงานศึกษาวิจัย หรือจัดพิมพ์เป็นหนังสือเล่ม ชั้นกลางของหอจดหมายเหตุมีการนำเสนอภาพปริศนาธรรม ศูนย์ปฏิบัติธรรม อบรม สัมมนา และโรงมหรสพทางวิญญาณเพื่อนิพพานชิมลอง มีภาพยนตร์จอโค้งฉายหนังให้คนดูขบคิด เพื่อปฏิบัติมุ่งสู่นิพพาน ภาพยนตร์เรื่องแรกที่จะนำมาฉายสร้างโดยนายเป็นเอก รัตนเรือง ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง

    ชั้นที่สามถือเป็นหัวใจของหอจดหมายเหตุพุทธทาส เรียกว่าเป็นขุมปัญญาพุทธทาส เพราะเป็นห้องเก็บรวบรวมเอกสารต้นฉบับ ผลงานการศึกษาค้นคว้าและสื่อธรรมะของท่านพุทธทาสที่มีมากกว่า 20,000 รายการ โดยห้องนี้จะปรับอุณหภูมิไว้ไม่ให้หนังสือหรือเอกสารอื่นได้รับความเสียหาย

    "หอจดหมายเหตุแห่งนี้ถือเป็นมิติใหม่ของการสร้างศาสนอาคาร โดยก้าวข้ามการสร้างโบสถ์ วิหาร และเจดีย์เหมือนอดีต แต่จะเป็นต้นแบบให้วัดอื่น ๆ ได้นำรูปแบบไปปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเผยแพร่ทางธรรมต่อไป" เลขานุการคณะกรรมการมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ กล่าวสรุป

    ขอขอบคุณข้อมูลจาก ไทยโพสต์
    [​IMG]
    ขอขอบคุณภาพประกอบจาก มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ประโยชน์จากโยเกิร์ต

    โยเกิร์ตเป็นอาหารที่อร่อย แถมยังมีประโยชน์มากมาย วันนี้เดลินิวส์ออนไลน์มีเรื่องนี้มาฝาก

    - เวลาท้องเสียเป็นเพราะมีเชื้อจุลินทรีย์อยู่ในลำไส้ แต่เชื้อจุลินทรีย์ในโยเกิร์ตสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียชนิดเลวทั้งหลาย การกินโยเกิร์ตจึงทำให้อาการท้องเสียทุเลาอย่างรวดเร็ว ทำให้ถ่ายน้อยลงหรือหยุดถ่าย

    - โยเกิร์ตมีไขมันชื่อคอนจูเกตเต็ดไลโนเลอิก ช่วยป้องกันโรคหัวใจ

    - โยเกิร์ตไขมันต่ำ 1 ถ้วย เป็นแหล่งรวมของสารอาหารถึง 11 ชนิด และแต่ละชนิดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับร่างกาย อย่างไอโอดีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินบี 2 โปรตีน วิตามินบี 12 ทริปโทฟาน โพแทสเซียม โมลิปเดนัม สังกะสี และวิตามินบี 5

    - โยเกิร์ตให้โปรตีนและแคลเซียมสูงกว่านมธรรมดา เพราะลำไส้ย่อยนมไม่ได้ แต่สำหรับโยเกิร์ตสามารถทำได้ เพราะในโยเกิร์ตมีกรดแลกติกที่จะช่วยย่อยแคลเซียมให้เล็กลง ทำให้ร่างกายดูดซึมไปใช้ได้

    - จุลินทรีย์ทั่วไปอาจทำร้ายร่างกายแต่แลคโตบาสิลัสในโยเกิร์ตเป็นจุลินทรีย์ชนิดดีที่ร่างกายต้องการ เพราะจะไปหยุดการเจริญเติบโตของเชื้อ "เฮลิโคแบคเตอร์ เอชไพโลไร" ที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะ ลดการอักเสบของลำไส้และไขข้อ แถมยังทำตัวเป็นนักปราบปรามจุลินทรีย์ที่จะทำให้เป็นมะเร็งปากมดลูก ช่วงที่มีรอบเดือนผู้หญิงจึงควรทานโยเกิร์ตเป็นประจำ

    - แคลเซียมสูงที่ได้จากโยเกิร์ตจะช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน ความดันสูง มะเร็งลำไส้ และยังกระตุ้นระบบเผาผลาญทำให้ผอมเองโดยไม่ต้องเหนื่อย

    - ทำให้ปากสะอาด กำจัดกลิ่นปากและโรคเหงือก

    - เพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกาย เพราะแบคทีเรียในโยเกิร์ตทำให้ร่างกายสังเคราะห์วิตามินเคและบีในลำไส้ได้ดีขึ้น

    รู้อย่างนี้แล้ว หันมารับประทานโยเกิร์ตเป็นประจำกันดีกว่า เพื่อร่างกายที่แข็งแรง.

    Daily News Online > โทรโข่ง > หน้าเกร็ดความรู้ > ประโยชน์จากโยเกิร์ต

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...