กรรมของคนกินเนื้อหมา...

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย apichai53, 22 ธันวาคม 2009.

  1. joeycoles

    joeycoles เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    572
    ค่าพลัง:
    +457
    ไม่ต้องสุนัขหรอกครับ อะไรก็ตามที่เบียดบังชีวิตทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำเพื่อผลประโยชน์ตัวเองแล้วย่อมมีผลกรรมเท่ากันทั้งนั้นแหละครับ ฉะนั้นพยายามหลียเลี่ยงการฆ่าสัตว์กันดีกว่าครับ
     
  2. ข้างฟ้าง

    ข้างฟ้าง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +33
    น่าสงสารหมานะ

    เพราะเค้าก้อมีชีวิตเหมือนกับเรา

    ใครๆๆก้อห่วงชีวิตตัวเองกันทั้งนั้น
     
  3. pailin

    pailin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มกราคม 2006
    โพสต์:
    64
    ค่าพลัง:
    +426
     
  4. apichai53

    apichai53 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    630
    ค่าพลัง:
    +2,261
    ข่าวที่เกี่ยวกับการส่งออกหนังสุนัข

    ปัญหาการทารุณกรรมสุนัขและแมวในประเทศไทย

    กระทรวงการต่างประเทศ -- พฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2000 09:17:09 น.
    กรุงเทพฯ--27 เม.ย.--กระทรวงการต่างประเทศ

    วันนี้ (26 เมษายน 2543) นายดอน ปรมัตถ์วินัย โฆษกกระทรวงการต่างประเทศได้แถลงข่าวต่อสื่อมวลชนว่า ด้วยในช่วงที่ผ่านมาสื่อมวลชนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปและอเมริกา ได้รายงานข่าวเกี่ยวกับการทารุณกรรมสุนัขและแมวในประเทศไทย เพื่อนำมาบริโภคและนำหนังและขนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบสินค้าเกี่ยวกับหนังและขนสัตว์ส่งออกไปยังสหรัฐฯ ทำให้มีชาวต่างประเทศจำนวนมากได้ร้องเรียนผ่านสถานเอกอัครราชฑูต/สถานกงสุลใหญ่ของไทยในต่างประเทศอย่างต่อเนื่องนั้น
    กระทรวงการต่างประเทศได้รายงานให้ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีทราบว่าเรื่องดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของไทยในต่างประเทศ และสถานเอกอัครราชฑูต/สถานกงสุลใหญ่ของไทยมีภาระที่ต้องชี้แจงข้อเท็จจริง รวมทั้งการดำเนินการแก้ไขในเรื่องนี้ให้สื่อมวลชนและสาธารณชนต่างประเทศได้เข้าใจ ประกอบกับการที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ได้มีความพยายามที่จะเสนอร่างกฎหมาย The Dog and Cat Protection Act of 1999 เข้าสู่การพิจารณาของวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ซึ่งขณะนี้ร่างกฎหมายดังกล่าวยังอยู่ระหว่างรอการพิจารณาของคณะกรรมาธิการในรัฐสภา และการพิจารณาสารัตถะของร่างกฎหมายนี้ จะเปิดให้มีการทำประชาพิจารณ์ในเดือนพฤษภาคม ศกนี้ และคาดว่าจะเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาภายในสมัยประชุมนี้ ซึ่งมีกำหนดจะสิ้นสุดในเดือนกันยายน 2543 ซึ่งหากมีผลใช้บังคับเมื่อใด อาจส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์หนังสัตว์ของไทย เนื่องจากสหรัฐฯ อาจใช้กฎหมายนี้กีดกันสินค้าผลิตภัณฑ์หนังสัตว์จากไทยที่สงสัยว่าอาจผลิตมาจากหนังสุนัขหรือแมวได้
    ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี จึงได้มีการบัญชาให้กระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยงานกลางในการจัดประชุมหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาหาแนวทางและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศได้กำหนดจะจัดประชุมในวันที่ 9 พฤษภาคม 2543 นี้
    --จบ--

    ที่มา ปัญหาการทารุณกรรมสุนัขและแมวในประเทศไทย
     
  5. ราคุเรียวซาย

    ราคุเรียวซาย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    2,940
    ค่าพลัง:
    +8,515
    หมาบ้านเพื่อนเราอยู่สกลนคร
    ไอ้หนำเลี้ยบ พอถึงวันโกนวันพระมันจะงดข้าวทั้งวันเลย
     
  6. pharm.taung

    pharm.taung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    945
    ค่าพลัง:
    +432
    เฮ้อ...

    ของอย่างอื่นที่ทานได้ไม่เบียนเบียนผู้อื่นมีมากมาย

    ...ทำไมไม่ทาน???
     
  7. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ

    พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ


    <CENTER>พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยกับมังสะวิรัติ

    พระพุทธพจน์นี้ทำให้สรุปได้ว่า การเกิดมาในโลกในระดับโลกิยะ มีปัญหาติดตัวมามาก สัตว์บางตนเกิดมาอยู่ในฐานะเป็นอาหารของสัตว์อื่น เช่น หมู ปลา ไก่ สัตว์บางตนเกิดมาอยู่ในฐานะต้องกินสัตว์เป็นอาหารอย่างเดียว โดยที่ตัวเองมีเนื้อเป็นพิษสำหรับสัตว์อื่น แม้แต่มนุษย์ที่ชอบกินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร เนื้อของมนุษย์เองก็เป็นอาหารของสัตว์อื่นบางจำพวก นี่คือสังสารวัฏ

    ชาวประมงมีพาอาชีพหาปลาขาย ฆ่าปลาเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน พวกเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย แต่พวกเขาทำผิดหลักธรรมข้อสุจริต ล่วงละเมิดศีลข้อปาณาติบาต และวิถีชีวิตของพวกเขาไม่ยุติธรรมสำหรับปลา แม้กระนั้นชาวประมงก็ยังต้องดำรงชีพโดยการจับปลาขายต่อไป เกษตรกรเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลาก็อยู่ในฐานะเดียวกัน คนที่มีอาชีพฆ่าหมูเพื่อชำแหละเนื้อออกขายในท้องตลาดก็อยู่ในฐานะเดียวกัน นี่คือข้อจำกัดหรือโทษของสังสารวัฏ

    ในระดับโลกุตตระ วิถีชีวิตบริสุทธิ์จากข้อจำกัดเหล่านี้ สัมมาอาชีวะหรือสัมมาอาชีพซึ่งเป็นองค์หนึ่งในมรรคมีองค์ ๘ จึงหมายถึง การดำรงชีพที่ชอบเว้นจากอาชีพที่เป็นการเบียดเบียนชีวิต เช่น การค้าอาวุธแม้จะถูกต้องตามกฎหมาย การค้าแรงงานมนุษย์ การค้ายาพิษ การค้าน้ำเมา

    ประเด็นเกี่ยวกับมังสวิรัติก็เช่นเดียวกัน การกินหรือไม่กินเนื้อสัตว์เป็นเรื่องของแต่ละบุคคล ประเด็นสำคัญคืออย่าฆ่าสัตว์ เมื่อพระเทวทัตต์เข้าไปเฝ้ากราบทูลขออนุญาตวัตถุ ๕ ประการ วัตถุข้ออื่น ๆ พระพุทธเจ้าตรัสกับพระเทวทัตต์ "อย่าเลยเทวทัตต์ ภิกษุใดปรารถนาก็จงทำไปเถิด เช่น ภิกษุใดปรารถนาก็จงอยู่ป่า" ส่วนข้อที่เกี่ยวกับการฉันปลาและเนื้อ พระพุทธเจ้าตรัสตอบพระเทวทัตต์ว่า "เราอนุญาตปลาและเนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ (๑) ไม่ได้เห็น (๒) ไม่ได้ยิน (๓) ไม่ได้รังเกียจ" จะเห็นว่า พระพุทธเจ้าไม่ทรงใช้คำว่า "ผู้ใดปรารถนาก็จงฉันปลาและเนื้อ" พระพุทธดำรัสนี้มีนัยสำคัญอย่างยิ่ง ถามว่า "อะไรคือนัยสำคัญแห่งพระพุทธดำรัสนี้ ?"

    พระพุทธดำรัสว่า "เราอนุญาตและเนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ ๓ อย่าง ..." หมายถึง ไม่ได้ตั้งข้อกำหนดไว้ วางไว้เป็นกลาง ๆ ไม่ได้กำหนดแม้แต่จะบอกว่า "ผู้ใดปรารถนาก็จง ..." เพราะฉะนั้น เรื่องที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้เป็นกลาง ๆ อย่างนี้ ในทางปฏิบัติ จะเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม จะถูกหรือผิด พระภิกษุต้องเทียบเคียงกับหลักที่เรียกว่า "มหาปเทศ" ๒ ข้อ คือ


    (๑) สิ่งใดที่ไม่ได้ห้ามไว้ว่า "สิ่งนี้ไม่ควร" ถ้ามีแนวโน้มหรือจัดอยู่ในกลุ่มสิ่งที่ไม่ควร แย้งกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควร
    (๒) สิ่งใดที่ไม่ได้ห้ามไว้ว่า "สิ่งนี้ไม่ควร" ถ้ามีแนวโน้มหรือจัดอยู่ในกลุ่มสิ่งที่ควร แย้งกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควร

    เมื่อพระภิกษุเทียบเคียงถือปฏิบัติอย่างนี้ ย่อมไม่ผิดพระวินัย แต่อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า วิถีชีวิตระดับโลกิยะ มีโทษมาก มีข้อบกพร่องมาก เช่นกรณีการกินเนื้อสัตว์ แม้จะเป็นเนื้อที่ไม่ต้องห้าม ต้องพิจารณาก่อนฉัน ถ้าไม่พิจารณาย่อมผิดพระวินัย ซึ่งต้องการให้พระภิกษุหรือแม้แต่คนที่ไม่ใช่พระภิกษุสำนึกอยู่เสมอว่า การกินเนื้อสัตว์แม้จะไม่ได้ฆ่าสัตว์ก็ถือว่มีส่วนทำให้ชีวิตถูกทำลาย ถ้าไม่กินจะดีกว่าหรือไม่ ? ส่วนวิถีชีวิตระดับโลกุตตระนั้น ย่อมบริสุทธิ์จากอกุศลเจตนาทุกประการ พระพุทธศาสนาสรุปชัดเจนในประเด็นว่า ฆ่าสัตว์ผิดศีลผิดวินัย บางกรณีผิดกฎหมายบ้านเมือง กินเนื้อสัตว์ ถ้าเป็นคฤหัสถ์ไม่ผิด ถ้าเป็นพระภิกษุฉันผิดเงื่อนไข ผิดพระวินัย ถ้าไม่ผิดเงื่อนไข ไม่ผิดพระวินัย นั่นเป็นเรื่องของศีลของคฤหัสถ์และพระวินัยของพระภิกษุ แต่อย่าลืมว่า ฆ่าสัตว์กับกินเนื้อสัตว์เป็นคนและประเด็น กินเนื้อสัตว์ในกรณีที่แม้จะไม่ผิดศีลหรือพระวินัย แต่ส่งผลต่อคน/สัตว์รอบข้างและอุปนิสัยจิตใจของผู้กินแน่นอน

    ในลังกาวตารสูตรแสดงเหตุผลที่ไม่ควรกินเนื้อสัตว์ สรุปได้ว่า "ในสังสารวัฏ คนที่ไม่เคยเป็นบิดามารดา ไม่เคยเป็นพี่น้องกัน ไม่มี สัตว์ทุกตัวตนมีความสัมพันธ์ทั้งสิ้นไม่ชาติใดก็ชาติหนึ่ง" เพราะฉะนั้น กินเนื้อสัตว์วันนี้ เราอาจกำลังกินเนื้อของสัตว์ที่เคยเป็นบิดามารดาของเราในชาติที่แล้วมาหรือในอีก ๕ ชาติข้างหน้าก็ได้ นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงผลเสียของการกินเนื้อสัตว์ไว้ เช่น ทำให้เป็นที่หวาดกลัวของสัตว์ ต่าง ๆ ทำให้กลิ่นตัวเหม็น ทำให้ชื่อเสียงไม่ดีกระจายไป...



    โดย...พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ (วันจันทร์)
    ป.ธ.๙, ศษ.บ.,พธ.ม.(พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Buddhist Studies)
    คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย




    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
     
  8. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ข้อคิดสำหรับศีลข้อที่หนึ่ง

    ข้อคิดสำหรับศีลข้อที่หนึ่ง
    [​IMG]

    <!-- detail -->
    <CENTER>[SIZE=+2]ตัดตอนมาจากหนังสือ "ชุมนุมข้อคิดอิสระ" โดย ท่านพุทธทาสภิกขุ[/SIZE]</CENTER>
    <WBR>..........<WBR>ทำไมเราจึง<WBR>ไม่ควรกินเนื้อสัตว์<WBR> (ในเมื่อไม่จำเป็น)?<WBR> เพราะว่า เป็นการทำ<WBR>เพื่อยึดเอาประโยชน์<WBR>ทั้งฝ่ายโลก<WBR>และฝ่ายธรรม<WBR> เป็นการก้าว<WBR>หน้าของสัมมาปฏิบัติ<WBR>อันหนึ่ง ซึ่ง<WBR>ได้ผลมาก<WBR>แต่ลงทุน<WBR>ทางฝ่าย<WBR>วัตถุน้อย<WBR>ที่สุด ไปมาก<WBR>อยู่ทางฝ่ายใจ<WBR> ซึ่งจะแยก<WBR>อธิบายดังนี้
    ฝ่ายธรรมเช่น :

    [​IMG]1. เป็นการ<WBR>เลี้ยงง่าย<WBR>ยิ่งขึ้น เพราะผัก<WBR>หาง่าย<WBR>ในหมู่คนยาก<WBR>จนเข็ญใจ<WBR> มีการปรุง<WBR>อาหารด้วย<WBR>ผักเป็นพื้น<WBR> นักเสพผัก<WBR>ย่อมไม่มี<WBR>เวลา<WBR>ที่ต้อง<WBR>กระวน<WBR>กระวาย<WBR>เพราะอาหาร<WBR>ไม่ถูกปาก<WBR>เลย ส่วน<WBR>นักเสพเนื้อ<WBR>ต้องเลียบ<WBR>เคียงเพื่อได้<WBR>อุทิศมังสะ<WBR>บ่อยๆ ทายก<WBR>เสียไม่ได้<WBR>โดยในที <WBR>ก็พยายาม<WBR>หามาให้<WBR> ทายกที่มี<WBR>ใจเป็นกลาง<WBR>เคยปรารภ<WBR>กับข้าพเจ้า<WBR>เองหลายต่อ<WBR>หลายนักแล้ว<WBR> ว่าสามารถ<WBR>เลี้ยงพระได้ตั้ง<WBR> 50 องค์ <WBR>โดยไม่ต้องมี<WBR>การรู้สึก<WBR>ลำบากอะไร<WBR>เลย ถ้าไม่<WBR>เกี่ยวกับปลา<WBR>กับเนื้อ<WBR> ซึ่งบางคราว<WBR>ต้องฝืนใจ<WBR>ทำไม่รู้<WBR>ไม่ชี้กัน<WBR>มากๆ มิใช่<WBR>เห็นแก่การ<WBR>ที่มีราคา<WBR>แพงกว่าผัก<WBR> แต่เป็น<WBR>เพราะรู้ดี<WBR>ว่ามันจะ<WBR>ต้องถูกฆ่า<WBR>เพื่อการเลี้ยง<WBR>พระของเรา<WBR> มีอีกหลาย<WBR>คนทีแรก<WBR>ที่ค้านว่า<WBR> อาหารผัก<WBR>ล้วนทำให้วุ่น<WBR>วาย<WBR>ลำบาก<WBR> แต่เมื่อได้<WBR>ลองเพียง<WBR>สองสามครั้ง<WBR> กลับสารภาพ<WBR>ว่า เป็นการ<WBR>ง่ายยิ่งกว่า<WBR>ง่าย เพราะ<WBR>บางคราว<WBR>ไม่ต้องติด<WBR>ไฟเลยก็มี<WBR>ตัณหาของ<WBR>นักเสพ<WBR>ผักกับนัก<WBR>เสพเนื้อ<WBR> มีแปลก<WBR>กันอย่างไร<WBR>จักกล่าว<WBR>ในข้อหลัง<WBR> เฉพาะข้อ<WBR>นี้ขอจงทราบ<WBR>ไว้ว่า คน<WBR>กินเนื้อ<WBR>เพราะแพ้<WBR>รสตัณหา,<WBR> กินเพราะ<WBR>ตัณหา,<WBR> ไม่ใช่<WBR>เพราะให้<WBR>เลี้ยงง่าย
    [​IMG]2. เป็นการฝึก<WBR>ในส่วน<WBR>สัจธรรม<WBR> คนเรา<WBR>ห่างจาก<WBR>ความพ้น<WBR>ทุกข์ เพราะ<WBR>มีนิสัย<WBR>เหลวไหล<WBR>ต่อตัวเอง<WBR> สัจจะใน<WBR>การกิน<WBR>ผักเป็น<WBR>แบบฝึก<WBR>หัด<WBR>ที่<WBR>น่า<WBR>เพลิน<WBR> บริสุทธิ์<WBR>สะอาด<WBR> ได้ผลสูง<WBR>เกินที่คน<WBR>ไม่เคยลอง<WBR>จะคาดถึง<WBR> มันเป็นอาหาร<WBR>ที่จะหล่อเลี้ยง<WBR> "ดวงความ<WBR>สัจจะ" <WBR>ในใจของ<WBR>เรา<WBR>ให้<WBR>สม<WBR>บูรณ์ <WBR>แข็งแรง<WBR> ยิ่งกว่า<WBR>แบบฝึกหัด<WBR>อย่างอื่น<WBR> ซึ่งเป็น<WBR>แบบฝึกหัด<WBR>ที่ค่อน<WBR>ข้างง่าย<WBR>โดยมาก<WBR> หรือยาก<WBR>ที่จะได้ฝึก<WBR> เพราะไม่<WBR>สามารถนำ<WBR>มาเป็น<WBR>เกมฝึก<WBR>หัดประจำ<WBR>ทุกๆ วัน<WBR> เราต้อง<WBR>ฝึกทุกวัน<WBR> จึงจะได้ผล<WBR>เร็ว การฝึก<WBR>ใจด้วย<WBR>เรื่องอาหาร<WBR> อันเป็น<WBR>สิ่งที่เรา<WBR>บริโภค<WBR>ทุกวัน<WBR> จึงเหมาะมาก<WBR> อย่าลืมพุทธ<WBR>ภาษิตที่มี<WBR>ใจความว่า<WBR> สัจจะเป็น<WBR>คู่กับผ้า<WBR>กาสาวพัสตร์<WBR>
    [​IMG]3. เป็นการ<WBR>ฝึกในส่วน<WBR>ทมธรรม (การข่ม<WBR>ใจให้อยู่<WBR>ในอำนาจ) <WBR>คนเรา<WBR>เกิดมี<WBR>ทุกข์<WBR>เพราะตัณหา<WBR>หรือ<WBR>ความ<WBR>อยาก<WBR>ที่ข่ม<WBR>ไว้ไม่<WBR>อยู่ ข้อ<WBR>พิสูจน์<WBR>เฉพาะ<WBR>เรื่องผัก<WBR>กับเนื้อ<WBR>ง่ายๆ<WBR> เช่น<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เห็นชาว<WBR>ตำบล<WBR>ป่าดอน<WBR>สูงๆ ขึ้น<WBR>ไป อุตส่าห์<WBR>หาบอาหาร<WBR>ผักลง<WBR>มาแลก<WBR>ปลาแห้งๆ<WBR> ทางบ้าน<WBR>แถบริม<WBR>ทะเล<WBR> ขึ้นไป<WBR>รับประทาน<WBR> ทั้งที่ต้อง<WBR>เสียเวลา<WBR>เป็นวันๆ<WBR> และทั้งที<WBR>่กลางบ้าน<WBR>ของเขา<WBR>มีอาหาร<WBR>ผักพวก<WBR>เผือก<WBR> มัน<WBR> มะพร้าว<WBR> ผัก<WBR> ฟัก<WBR> ฯลฯ <WBR>อย่างสมบูรณ์<WBR> และทั้งที<WBR>อาหาร<WBR>เหล่านั้น<WBR>ยังเป็น<WBR>ของสด<WBR>รสดี<WBR> สามารถ<WBR>บำรุง<WBR>ร่างกาย<WBR>ได้มาก<WBR>กว่าปลา<WBR>แห้งๆ<WBR> จนราจับ<WBR> ที่อุตส่าห์<WBR>หาบหิ้ว<WBR>ขึ้นไป<WBR>ไว้เป็น<WBR>เสบียงกรัง<WBR>เป็นไหนๆ<WBR> ผู้ที่<WBR>ไม่มี<WBR>การข่ม<WBR>รสตัณหา<WBR> จักต้อง<WBR>เป็นทาส<WBR>ของความ<WBR>ทุกข์ และ<WBR>ถอยหลัง<WBR>ต่อการ<WBR>ปฏิบัติธรรม<WBR> การข่ม<WBR>จิตด้วย<WBR>อาหาร<WBR>การกิน<WBR>ก็เหมาะมาก<WBR> เพราะอาจ<WBR>มีการข่ม<WBR>ได้ทุกวัน<WBR>ด้งกล่าวแล้ว<WBR> การข่มจิต<WBR>เสมอเป็น<WBR>ของคู่กับ<WBR>ผ้ากาสาวพัสตร์<WBR> ควรทราบ<WBR>ว่า มัน<WBR>เป็นการ<WBR>ยากอย่างยิ่ง<WBR> ที่คน<WBR>แพ้ลิ้น<WBR>จะข่มตัณหา<WBR>โดยเลือก<WBR>กินแต่ผัก<WBR> จากจาน<WBR>อาหาร<WBR>ที่เขา<WBR>ปรุงด้วย<WBR>เนื้อและผัก<WBR>ปนกันมา!<WBR> จงยึดเอา<WBR>เกมที่เป็น<WBR>เครื่องชนะตน<WBR> อันนี้เถิด<WBR> ในการ<WBR>เลี้ยงพระ<WBR>ของงาน<WBR>ต่างๆ<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เคยเห็น<WBR> เคยได้ยิน<WBR>เสียงเรียก<WBR>เอ็ดแต่<WBR>อาหาร<WBR>เนื้อ ส่วน<WBR>อาหารผัก<WBR>ล้วนดู<WBR>เหมือนเป็น<WBR>การยาก<WBR>ที่จะได้<WBR>ถูกเรียก<WBR>กับเขา<WBR> แล้วยัง<WBR>เหลือกลับ<WBR>ไปอีก<WBR> แม้อาหาร<WBR>ที่ปรุงประเคน<WBR> ก็หายไป<WBR>แต่ชิ้นเนื้อ<WBR> ผักคง<WBR>เหลือติด<WBR>จานไป<WBR>ก็มี<WBR> และยิ่ง<WBR>กว่านั้น<WBR>ก็คือ<WBR> ควรทราบ<WBR>ว่าแม่<WBR>ครัวหรือ<WBR>เจ้าภาพ<WBR>เขารู้ตัว<WBR>ก่อนด้วยซ้ำ<WBR> เขาจึง<WBR>ปรุงอาหาร<WBR>เนื้อไว้มาก<WBR>กว่าอาหาร<WBR>ผักหลาย<WBR>เท่านัก<WBR> ทั้งนี้<WBR> ก็เพราะ<WBR>ตัณหา<WBR>ทั้งของ<WBR>ฝ่ายทายก<WBR>และปฏิคาหก<WBR> ร่วมมือกัน<WBR> "เบ่งอิทธิพล"<WBR>
    [​IMG]4. เป็นการฝึก<WBR>ในส่วน<WBR>สันโดษ<WBR> (การพอใจ<WBR>เท่าที่<WBR>มีที่ได้)<WBR> ชีวิต<WBR>พระย่อม<WBR>ได้อาหาร<WBR>ชั้นพื้นๆ<WBR> โดยมาก<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เคยเห็น<WBR>บรรพชิต<WBR>บางคน<WBR>เว้นไม่<WBR>รับอาหาร<WBR>จากคน<WBR>ยากจน<WBR> เพราะเลว<WBR>เกินไป<WBR> คือเป็นเพียง<WBR>ผักหรือ<WBR>ผลไม้ชั้นต่ำ<WBR> แม้จะ<WBR>รับมาก็เพื่อทิ้ง<WBR> นี่เป็น<WBR>ตัวอย่าง<WBR>ที่ไม่มี<WBR>ความสันโดษ<WBR> หรือถ่อมตน<WBR> การฝึก<WBR>เป็นนัก<WBR>เสพผัก<WBR>อย่างง่ายๆ<WBR> จะแก้ปัญหา<WBR>นี้ได้หมด<WBR> สันโดษ<WBR>เป็นทรัพย์<WBR>ของบรรพชิต<WBR>อย่างเอก
    [​IMG]5. เป็นการ<WBR>ฝึกใน<WBR>ส่วนจาคะ<WBR> (การสละ<WBR>สิ่งอันเป็น<WBR>ข้าศึก<WBR>แก่ความสงบ<WBR>หรือพ้นทุกข์)<WBR> นักเสพ<WBR>ผักมีดวงจิต<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ผ่องใส<WBR> เกินกว่า<WBR>จะนึกอยาก<WBR>ในเมื่อเดิน<WBR>ผ่านร้าน<WBR>อาหาร<WBR>นอกกาล<WBR> หรือถึง<WBR>กับนึก<WBR>ไปเอง<WBR>ในเรื่อง<WBR>ที่จะบริโภค<WBR>ให้มีรส<WBR>หลากๆ<WBR> เพราะผัก<WBR>ไม่ยั่ว<WBR>ในการ<WBR>บริโภคมาก<WBR>ไปกว่า<WBR>เพียงเพื่อ<WBR>อย่าให้ตาย<WBR> ต่างกับ<WBR>เนื้อสัตว์<WBR>ซึ่งยั่ว<WBR>ให้ติดรส<WBR>และมัวเมา<WBR>อยู่เสมอ<WBR> ความอยาก<WBR>ในรสที่<WBR>เกินจำเป็น<WBR>ของชีวิต<WBR> ความหลงใหล<WBR>ในรส<WBR> ความหงุดหงิด<WBR> เมื่อไม่มี<WBR>เนื้อที่<WBR>อร่อยมา<WBR>เป็นอาหาร<WBR> ฯลฯ<WBR> เหล่านี้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>รับรอง<WBR>ได้ว่า<WBR> ไม่มีใน<WBR>ใจของ<WBR>นักกินผัก<WBR>เลย ส่วน<WBR>นักเสพ<WBR>เนื้อนั้น<WBR> ย่อมทราบ<WBR>ของท่าน<WBR>ได้เอง<WBR> เป็นปัจจัตตังค์<WBR>เช่นเดียว<WBR>กับธรรมะ<WBR>อย่างอื่น<WBR>
    [​IMG]6. เป็นการ<WBR>ฝึก<WBR>ใน<WBR>ส่วน<WBR>ปัญญา (ความ<WBR>รู้<WBR>เท่า<WBR>ทัน<WBR>ดวง<WBR>จิต<WBR>ที่<WBR>กลับ<WBR>กลอก<WBR>) การ<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>จะ<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ได้<WBR>นั้น ผู้<WBR>กิน<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>แต่<WBR>เพียง<WBR>ว่า "กิน<WBR>อาหาร<WBR>" (ไม่<WBR>ใช่<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>หรือ<WBR>เนื้อ คาว<WBR>หรือ<WBR>หวาน<WBR>) และ<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>บริสุทธิ์ การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ปรับปรุง<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>ละวาง<WBR>ความ<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ว่า เนื้อ<WBR>-ผัก<WBR>-หวาน<WBR>-คาว<WBR>-ดี<WBR>-ไม่<WBR>ดี ฯลฯ เหล่า<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>แบบ<WBR>ฝึก<WBR>หัด<WBR>ที่<WBR>ยาก แต่<WBR>ถ้า<WBR>ใช้<WBR>ปัญญา<WBR>พิจารณา<WBR>ให้<WBR>เห็น<WBR>โทษ<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ใน<WBR>ชื่อ<WBR>อาหาร<WBR>มา<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สำคัญ<WBR>เพียง<WBR>ว่า<WBR>เป็น "อาหาร<WBR>" ที่<WBR>บริสุทธิ์<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>บริโภค<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>แล้ว นี่<WBR>ก็<WBR>เป็นการ<WBR>ก้าว<WBR>ใหญ่<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม ไม่<WBR>มี<WBR>อะไร<WBR>ดี<WBR>ไป<WBR>กว่า<WBR>อาหาร<WBR>ผัก ที่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>อารมณ์<WBR>บังคับ ให้<WBR>ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>ปัญญา<WBR>พิจารณา<WBR>มัน<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>ทุก<WBR>มื้อ เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>หลง<WBR>รส ผัก<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ต้อง<WBR>ยก<WBR>ใจ<WBR>ขึ้น<WBR>หา<WBR>รส เหมาะ<WBR>แก่<WBR>สันดาน<WBR>ของ<WBR>สัตว์ ซึ่ง<WBR>มี<WBR>กิเลส<WBR>ย้อม<WBR>ใจ<WBR>จับ<WBR>แน่น<WBR>เป็น<WBR>น้ำ<WBR>ฝาด<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>เดิม แต่<WBR>ปัญญา<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>ว่า ไม่<WBR>ใช่<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>เพราะ<WBR>กิน<WBR>ผัก เป็น<WBR>เพียง<WBR>การ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>เท่า<WBR>นั้น ไว้<WBR>นานๆ จะ<WBR>ทดลอง<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ใน<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ว่า จะ<WBR>บริสุทธิ์<WBR>สะอาด<WBR>พอ<WBR>หรือ<WBR>ยัง ด้วย<WBR>การ<WBR>ลอง<WBR>รส<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>ยั่ว<WBR>ลิ้น<WBR>เสีย<WBR>คราว<WBR>หนึ่ง คือ<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>ปรุง<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>รส<WBR>วิเศษ<WBR>นั่น<WBR>เอง ก็<WBR>ได้
    ข้าพเจ้า<WBR>เอง ไม่<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เห็น<WBR>ว่า ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>ต้อง<WBR>เป็น<WBR>ผัก ความ<WBR>จริง<WBR>มัน<WBR>ควร<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>ชั้น<WBR>เลวๆ ไม่<WBR>ประณีต<WBR>ก็<WBR>พอ<WBR>แล้ว แต่<WBR>เมื่อ<WBR>ใคร่<WBR>ครวญ<WBR>ดู<WBR>ไปๆ ก็<WBR>มา<WBR>ตรง<WBR>กับ<WBR>อาหาร<WBR>ผัก เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>อย่างไร<WBR>เสีย<WBR>ก็<WBR>ชวน<WBR>กิน<WBR>อยู่<WBR>ตาม<WBR>ธรรมชาติ แม้<WBR>เพียง<WBR>แต่<WBR>ต้ม<WBR>เฉยๆ มัน<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>ยั่ว<WBR>ตัณหา<WBR>อยู่<WBR>นั่น<WBR>เอง เพราะ<WBR>ฉะนั้น ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ปราบ<WBR>ตัณหา<WBR>จึง<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>เกียรติยศ<WBR>ของ<WBR>ผัก คือ<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ข่ม<WBR>ตัณหา<WBR>ได้ และ<WBR>มี<WBR>แต่<WBR>ทาง<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ยอ<WBR>ย่าง<WBR>เดียว<WBR>โดย<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>การ<WBR>ระวัง<WBR>เลย<WBR>ก็<WBR>ได้ เหมาะ<WBR>สำหรับ<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ระแวง<WBR>ภัย<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>ประมาท<WBR>อยู่<WBR>เสมอ
    [SIZE=+2]ฝ่าย<WBR>โลก เช่น :[/SIZE]
    [​IMG] 1. ผัก<WBR>มี<WBR>คุณ<WBR>แก่<WBR>ร่าง<WBR>กาย<WBR>ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>เนื้อ<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>วิทยาศาสตร์<WBR>ปัจจุบัน ก็<WBR>พอ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>รับ<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>โรค<WBR>ภัย<WBR>น้อย มี<WBR>กำลัง<WBR>แข็ง<WBR>แรง มีด<WBR>วง<WBR>จิต<WBR>สงบ<WBR>กว่า<WBR>เนื้อ<WBR>สัตว์ (ชาว<WBR>อินเดีย<WBR>ด้วย<WBR>กัน ที่<WBR>เป็น<WBR>พวก<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>ดุ<WBR>ร้าย<WBR>กว่า<WBR>พวก<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>พราหมณ์ ไม่<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>โดย<WBR>กำเนิด<WBR>) มี<WBR>ความ<WBR>หื่น<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>อยาก<WBR>-ความ<WBR>โกรธ<WBR>- ความ<WBR>มัว<WBR>เมา<WBR>น้อง<WBR>ลง<WBR>เป็น<WBR>อัน<WBR>มาก
    [​IMG]2. ทาง<WBR>เศรษฐกิจ<WBR> ราคา<WBR>ผัก<WBR>กับ<WBR>เนื้อ ทราบ<WBR>กัน<WBR>อยู่<WBR>แล้ว<WBR>ว่า<WBR>ผิด<WBR>กัน<WBR>เพียง<WBR>ไร ของ<WBR>ดี<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>มี<WBR>หลัก<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>แพง<WBR>เสมอ<WBR>ไป แต่<WBR>ของ<WBR>แพง<WBR>คือ<WBR>ของ<WBR>สำหรับ<WBR>คน<WBR>โง่ คน<WBR>ทะเยอ<WBR>ทะยาน ของ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>คุณภาพ<WBR>สม<WBR>ค่า<WBR>หรือ<WBR>เกิน<WBR>ค่า ไม่<WBR>ใช่<WBR>ของ<WBR>แพง<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>เท่า<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ตาม และ<WBR>เป็น<WBR>ของ<WBR>สำหรับ<WBR>คน<WBR>ฉลาด อาหาร<WBR>เลวๆ ไม่<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>โง่<WBR>ลง<WBR>เลย ยิ่ง<WBR>เนื้อ<WBR>และ<WBR>ผัก<WBR>แล้ว เนื้อ<WBR>เสีย<WBR>อีก<WBR>กลับ<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ไห้<WBR>โง่ คือ<WBR>หลง<WBR>รส<WBR>ของ<WBR>มัน<WBR>จน<WBR>เคย<WBR>ชิน คนๆ เดียว<WBR>กัน<WBR>นั่น<WBR>เอง ถ้า<WBR>เขา<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง มี<WBR>ใจ<WBR>มั่น<WBR>คง ไม่<WBR>โยก<WBR>เยก<WBR>รวน<WBR>เร ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>เนื้อ (กิน<WBR>ผัก<WBR>มาก<WBR>ที่สุด<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>แต่<WBR>เล็ก<WBR>น้อย<WBR>เท่า<WBR>ที่<WBR>จำเป็น<WBR>จริงๆ ก็<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก ผัก<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>ผล<WBR>ไม้ น้ำตาล<WBR>สด ขนม ฯลฯ แม้<WBR>จะ<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>นม<WBR>ด้วย<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>)
    [​IMG]3. ธรรมชาติ<WBR>แท้ๆ ต้อง<WBR>การ<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR> ขอ<WBR>จง<WBR>คิด<WBR>ให้<WBR>ลึก<WBR>หน่อย<WBR>ว่า ธรรมชาติ<WBR>สร้าง<WBR>สรรค์<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รัก<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>ทุกๆ คน เรา<WBR>ควร<WBR>เห็น<WBR>อก<WBR>ของ<WBR>สัตว์<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ด้วย<WBR>กัน มิฉะนั้น<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ธรรม<WBR>เสีย<WBR>เลย ลอง<WBR>ส่ง<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>กลางๆ ไป<WBR>ทั่ว<WBR>ใจ<WBR>สัตว์<WBR>ทุก<WBR>ตัว ที่<WBR>ต้อง<WBR>พราก<WBR>ผัว<WBR>-เมีย<WBR>-ลูก<WBR>-แม่<WBR>-พ่อ ฯลฯ โดย<WBR>ถูก<WBR>ฆ่า<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>แล้ว<WBR>ลอง<WBR>เทียบ<WBR>ถึง<WBR>ใจ<WBR>เรา<WBR>บ้าง ถ้า<WBR>มี<WBR>พวก<WBR>ยักษ์<WBR>ใหญ่<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>แก่<WBR>เรา<WBR>เช่น<WBR>นั้น เรา<WBR>จะ<WBR>รู้สึก<WBR>อย่างไร<WBR>? เรา<WBR>จะ<WBR>ถึง<WBR>กับ<WBR>ร้อง<WBR>ให้<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ช่วย<WBR>หรือ<WBR>ไม่ ถ้า<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>เจ้าที่<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>ได้<WBR>? และ<WBR>คิด<WBR>สืบ<WBR>ไป<WBR>ว่า เมื่อ<WBR>เรา<WBR>อาจ<WBR>ช่วย หรือ<WBR>อาจ<WBR>เสีย<WBR>สละ<WBR>รส<WBR>ที่<WBR>ปลาย<WBR>ลิ้น<WBR>เพื่อ<WBR>ช่วย<WBR>ชีวิต<WBR>สัตว์<WBR>อื่น หรือ<WBR>ผู้<WBR>อื่น<WBR>ได้<WBR>แล้ว ธรรม<WBR>ของ<WBR>มนุษย์ (สัตว์<WBR>มี<WBR>ใจ<WBR>สูง<WBR>) จะ<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ทำ<WBR>เพื่อ<WBR>เห็น<WBR>แก่<WBR>อก<WBR>เขา<WBR>และ<WBR>อก<WBR>เรา<WBR>บ้าง<WBR>เทียง<WBR>หรือ แม้<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>บำเพ็ญ<WBR>พระ<WBR>เมตตา<WBR>บารมี<WBR>อย่าง<WBR>กว้าง<WBR>ขวาง ทำไม<WBR>เรา<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ไร<WBR>เมื่อ<WBR>เรา<WBR>รู้<WBR>ว่า<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ฐานะ<WBR>ที่<WBR>ช่วย<WBR>ได้ แม้<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>บาป<WBR>ก็<WBR>ตาม<WBR>?
    ธรรมชาติ<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ผัก<WBR>หญ้า<WBR>และ<WBR>ผล<WBR>ไม้ พอ<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>บริโภค<WBR>พอ<WBR>เพียง<WBR>เสมอ มนุษย์<WBR>มาก<WBR>ขึ้นๆ ทุก<WBR>ปี ส่วน<WBR>สัตว์<WBR>มี<WBR>น้อย<WBR>ลงๆ ทุก<WBR>ปี โลก<WBR>มนุษย์<WBR>ขยาย<WBR>ตัว<WBR>ออก โลก<WBR>สัตว์<WBR>เดรัจฉาน<WBR>หด<WBR>สั้น<WBR>เข้า ใน<WBR>ที่สุด<WBR>เนื้อ<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>กัน<WBR>กิน ต้อง<WBR>เลี้ยง<WBR>เป็น<WBR>สัตว์<WBR>เลี้ยง ก็<WBR>ที่<WBR>ดิน<WBR>ขนาด<WBR>เท่า<WBR>กัน สามารถ<WBR>เลี้ยง<WBR>สัตว์<WBR>พอ<WBR>เพื่อ<WBR>มนุษย์ น้อย<WBR>กว่า<WBR>ปลูก<WBR>ผัก<WBR>เพื่อ<WBR>มนุษย์ คิด<WBR>ดู แต่<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>เพื่อ<WBR>เลี้ยง<WBR>วัว 1 ตัว สำหรับ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ และ<WBR>ต้อง<WBR>หลาย<WBR>ปี ปัญหา<WBR>จึง<WBR>ไป<WBR>ตก<WBR>หนัก<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>เนื้อ<WBR>สัตว์<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ หา<WBR>ใช่<WBR>ที่<WBR>ผัก<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ไม่ แม้<WBR>ปลา<WBR>ใน<WBR>มหา<WBR>สมุทร ก็<WBR>บอก<WBR>สถิติ<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>อยู่<WBR>เรื่อยๆ มา<WBR>แล้ว<WBR>ว่า จะ<WBR>ต้อง<WBR>ขาด<WBR>มือ<WBR>ลง แต่<WBR>ข้อ<WBR>สำคัญ<WBR>ที่สุด<WBR>นั้น<WBR>คือ<WBR>มัน<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>คุณ<WBR>ไป<WBR>กว่า<WBR>ผัก<WBR>เลย
    มี<WBR>นัก<WBR>ปราชญ์<WBR>ทาง<WBR>วิทยาศาสตร์<WBR>คำนวณ<WBR>ว่า เนื่อง<WBR>จาก<WBR>เกิด<WBR>ใหม่<WBR>มาก<WBR>กว่า<WBR>การ<WBR>ตาย<WBR>ใน<WBR>เวลา<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>พล<WBR>โลก<WBR>เพิ่ม<WBR>ขึ้น<WBR>ถึง<WBR>ปี<WBR>ละ 21 ล้าน<WBR>คน แต่<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>จะ<WBR>เพิ่ม<WBR>มาก<WBR>ทวี<WBR>ขึ้น<WBR>อีก ถ้า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>เหตุ<WBR>ใด<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>จำนวน<WBR>น้อย<WBR>ลง เป็น<WBR>ต้น<WBR>ว่า การ<WBR>สงคราม<WBR>หรือ<WBR>โรค<WBR>ภัย<WBR>ที่<WBR>ร้าย<WBR>แรง<WBR>มา<WBR>ลด<WBR>จำนวน<WBR>ลง<WBR>เสีย<WBR>มากๆ เป็น<WBR>พิเศษ ใน<WBR>อีก<WBR>ร้อย<WBR>ปี<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>คน<WBR>ถึง 5,000 ล้าน (ห้า<WBR>พัน<WBR>ล้าน<WBR>) คน ใน<WBR>เวลา<WBR>นั้น<WBR>พื้น<WBR>ดิน<WBR>ทุกๆ แห่ง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>เพาะ<WBR>ปลูก เพื่อ<WBR>ได้<WBR>อาหาร<WBR>มา<WBR>เลี้ยง<WBR>มนุษย์ ไม่<WBR>มี<WBR>ที่<WBR>ดิน<WBR>และ<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>พอ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>เลี้ยง<WBR>สัตว์ มนุษย์<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>และ<WBR>ข้าว<WBR>โดย<WBR>ตรง แทน<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็นการ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>โดย<WBR>ทาง<WBR>อ้อม มหา<WBR>เศรษฐี<WBR>จึง<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>นม<WBR>และ<WBR>เนื้อ<WBR>กิน โดย<WBR>เลี้ยง<WBR>วัว<WBR>ไว้<WBR>บน<WBR>ตึก<WBR>ชั้น<WBR>สุด<WBR>ยอด<WBR>หรือ<WBR>ใน<WBR>สวน<WBR>ข้างๆ บ้าน
    เวลา<WBR>นี้<WBR>มี<WBR>คน<WBR>เพียง<WBR>ประมาณ 2,000 ล้าน<WBR>คน เรา<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>อด<WBR>อยาก<WBR>อยู่<WBR>มาก<WBR>มาย<WBR>เพียง<WBR>ไร<WBR>? อีก<WBR>ร้อย<WBR>ปี<WBR>ข้าง<WBR>หน้า<WBR>เมื่อ<WBR>มี<WBR>คน<WBR>ถึง 5,000 ล้าน<WBR>คน ภาวะ<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>จน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>อย่างไร ความ<WBR>จำเป็น<WBR>จะ<WBR>บังคับ<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>ต้อง<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>และ<WBR>เมล็ด<WBR>ข้าว<WBR>เท่า<WBR>นั้น
    สำหรับ<WBR>ภิกษุ ไม่<WBR>จำเป็น<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>รับ<WBR>รู้<WBR>มา<WBR>ถึง<WBR>เหตุผล<WBR>ของ<WBR>ฝ่าย<WBR>โลก<WBR>ดัง<WBR>กล่าว<WBR>มา<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>จริง แต่<WBR>เพราะ<WBR>เป็น<WBR>เพศ<WBR>นำ<WBR>ของ<WBR>เพศ<WBR>อื่น จึง<WBR>ควร<WBR>ดำรง<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>อาการ<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ฝ่าย<WBR>ข้าง<WBR>พ้น<WBR>ทุกข์<WBR>สงบ<WBR>เยือก<WBR>เย็น<WBR>อยู่<WBR>เสมอ ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ดื้อ<WBR>ต่อ<WBR>เหตุผล ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>เลี้ยง<WBR>ยาก ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ละเลย<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ของ<WBR>ธรรมดา<WBR>ฝ่าย<WBR>ต่ำ มี<WBR>การ<WBR>เห็น<WBR>แก่<WBR>ตัว<WBR>หรือ<WBR>ความ<WBR>อร่อย<WBR>ของ<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>ต้น ไม่<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>หา<WBR>ข้อ<WBR>แก้<WBR>ตัว<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>ตี<WBR>โวหาร<WBR>ฝี<WBR>ปาก แต่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>รัก<WBR>ความ<WBR>ยุติธรรม รัก<WBR>ความ<WBR>สงบ แผ่<WBR>เมตตา<WBR>ไม่<WBR>จำกัด<WBR>วง ไม่<WBR>จำกัด<WBR>ความ<WBR>รับ<WBR>ผิด<WBR>ชอบ พร้อม<WBR>ด้วย<WBR>เหตุผล<WBR>อยู่<WBR>เสมอ เพราะ<WBR>ฉะนั้น ภิกษุ<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>ควร<WBR>นิ่ง<WBR>เฉย<WBR>ต่อ<WBR>อารมณ์<WBR>ที่<WBR>เกื้อ<WBR>กู<WBR>ล<WBR>แก่<WBR>ความ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ใน<WBR>ส่วน<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>แม้<WBR>แต่<WBR>น้อย
    การ<WBR>เว้น<WBR>บริโภค<WBR>เนื้อ ไม่<WBR>ใช่<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>ห<WBR>ร้า<WBR>หรือ<WBR>ฝ่า<WBR>ฝืน<WBR>พระ<WBR>บัญญัติ<WBR>สำหรับ<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ประสงค์<WBR>เพื่อ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>- ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>เอา<WBR>คน<WBR>นอก<WBR>ส่วน<WBR>มาก<WBR>เป็น<WBR>ประมาณ<WBR>-ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>แพ้<WBR>ลิ้น<WBR>-ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>ประสงค์<WBR>การ<WBR>ตี<WBR>โวหาร การ<WBR>ไม่<WBR>บริโภค<WBR>เนื้ อ<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ธุดงค์<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ธุดงค์<WBR>อื่นๆ ซึ่ง<WBR>ทรง<WBR>ตรัส<WBR>ไว้<WBR>ว่า<WBR>เป็นการ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส แต่<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ทรง<WBR>บังคับ<WBR>กะ<WBR>เกณฑ์<WBR>ให้<WBR>ใคร<WBR>ถือ แต่<WBR>เมื่อ<WBR>ใคร<WBR>ถือ<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>สรรเสริญ<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>มาก เช่น ทรง<WBR>สรรเสริญ<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>กัสสป ธุดงค์ 13 อย่าง บาง<WBR>อย่าง<WBR>เช่น เนสัช<WBR>ชิ<WBR>กัง<WBR>คะ ก็<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ใคร<WBR>เชื่อ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>พุทธ<WBR>ภาษิต<WBR>นัก แม้<WBR>จำนวน<WBR>สิบ<WBR>สาม<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>จำนวน<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>แต่ง<WBR>ตั้ง เมื่อ<WBR>เช่น<WBR>นั้น การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>เว้น<WBR>เนื้อ<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>รวม<WBR>ลง<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ธุดงค์ หรือ<WBR>มัชฌิมาปฏิปทา<WBR>นั้น<WBR>เอง เพราะ<WBR>เข้า<WBR>กัน<WBR>ได้<WBR>กับ<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>อนุญาต<WBR>ใน<WBR>ฝ่าย<WBR>ธรรม มิ<WBR>ใช่<WBR>ฝ่าย<WBR>ศีล<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็นการ<WBR>บังคับ
    ท่าน<WBR>คง<WBR>ประหลาด<WBR>ใจ<WBR>หรือ<WBR>สงสัย<WBR>ว่า ข้าพเจ้า<WBR>เห็น<WBR>แต่<WBR>สนับสนุน<WBR>มติ<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>เอง จึง<WBR>ส่ง<WBR>เสริม<WBR>ให้<WBR>ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ด้วย<WBR>อาหาร<WBR>ผัก ข้อ<WBR>นี้<WBR>ขอ<WBR>ตอบ<WBR>ว่า เพราะ<WBR>เป็น<WBR>โอกาส<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ฝึก<WBR>ฝน<WBR>ทดลอง ขูด<WBR>เกลา ได้<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>นั่น<WBR>เอง วิธี<WBR>อย่าง<WBR>อื่น<WBR>โดย<WBR>มาก<WBR>เรา<WBR>ต้อง<WBR>คอย<WBR>ระลึก<WBR>ขึ้น<WBR>มา ไม่<WBR>ได้<WBR>ผ่าน<WBR>มา<WBR>เฉพาะ<WBR>หน้า<WBR>เรา<WBR>ทุก<WBR>วันๆ เช่น<WBR>อาหาร และ<WBR>อีก<WBR>อย่าง<WBR>หนึ่ง<WBR>คน<WBR>ธรรมดา<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>ติด<WBR>รส<WBR>อาหาร<WBR>กัน<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>ทดลอง หรือ<WBR>วัด<WBR>น้ำ<WBR>ใจ<WBR>เรา เปรียบ<WBR>เหมือน<WBR>ออก<WBR>สงคราม<WBR>ต่อ<WBR>สู้<WBR>ข้า<WBR>ศึก<WBR>อยู่<WBR>เสมอ ถ้า<WBR>ไม่<WBR>กลัว<WBR>ว่า<WBR>มัน<WBR>เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>ทดลอง<WBR>วัด<WBR>น้ำ<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>เกิน<WBR>ไป<WBR>แล้ว ท่าน<WBR>คง<WBR>เห็น<WBR>พัอง<WBR>กับ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ที<WBR>เดียว<WBR>ว่า<WBR>เรา<WBR>ควร<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>ประจำ<WBR>วัน<WBR>บท<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>แน่ เพราะ<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>เตือน<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ฝึก<WBR>มัน<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>ที<WBR>เดียว เป็น<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>ที่<WBR>ยาก แต่<WBR>เปิด<WBR>โอกาส<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ฝึก<WBR>ได้<WBR>ทุกๆ วัน
    ท่าน<WBR>อาจ<WBR>ถาม<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ว่า เรา<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>กัน<WBR>หรือ<WBR>? ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>อาจ<WBR>ตอบ<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>ย้อน<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ตอบ<WBR>ใน<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า เรา<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>ต้อง<WBR>ออก<WBR>บวช<WBR>เป็น<WBR>บรรพชิต<WBR>เท่า<WBR>นั้น<WBR>แล<WBR>หรือ<WBR>? ถ้า<WBR>ท่าน<WBR>ตอบ<WBR>ว่า<WBR>การ<WBR>บวช<WBR>เป็น<WBR>เพียง<WBR>การ<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>เร็ว<WBR>เข้า<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ฆราวาส<WBR>ก็<WBR>บรรลุ<WBR>มรรคผล<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>แล้ว ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>พิสูจน์<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ทันที<WBR>ว่า<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ก็<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กัน เพราะ<WBR>เป็นการ<WBR>ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>การ<WBR>ชำนะ<WBR>ตัณหา<WBR>เร็ว<WBR>เข้า ดัง<WBR>กล่าว<WBR>ง<WBR>แล้ว ถ้า<WBR>ใคร<WBR>จะ<WBR>พยายาม<WBR>พิสูจน์<WBR>ว่า กิน<WBR>ผัก<WBR>เพราะ<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>ไม่<WBR>ฉัน<WBR>เนื้อ หรือ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>เป็น<WBR>บาป<WBR>แล้ว ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>เห็น<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>เหตุผล<WBR>เพียง<WBR>พอ<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ท่าน เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ไม่<WBR>บาป และ<WBR>พระองค์<WBR>ก็<WBR>ฉัน<WBR>เนื้อ
    ถ้า<WBR>ท่าน<WBR>ยัง<WBR>แย้ง<WBR>ว่า การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เป็นการ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม ข้าพเจ้า<WBR>มี<WBR>คำ<WBR>ตอบ<WBR>แต่<WBR>เพียง<WBR>ว่า ท่าน<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>รู้จัก<WBR>ตัว<WBR>ปฏิ<WBR>บิ<WBR>ติ<WBR>ธรรม<WBR>เสีย<WBR>เลย ท่าน<WBR>จะ<WBR>รู้จัก<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>อุปกรณ์<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม<WBR>อย่างไร<WBR>ได้
    ขอ<WBR>ให้<WBR>ทราบ<WBR>ว่า "การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ถือ<WBR>เป็น<WBR>ลัทธิ<WBR>หรือ<WBR>บัญญัติ<WBR>" เรา<WBR>ฝึก<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>นี้ โดย<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>สมาทาน หรือ<WBR>ปฏิญาณ อย่าง<WBR>สมาทาน<WBR>ลัทธิ หรือ<WBR>ศีล มัน<WBR>เป็น<WBR>ข้อ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ฝ่าย<WBR>ธรรม<WBR>ทาง<WBR>ใจ ซึ่ง<WBR>เรา<WBR>อาศัย<WBR>หลัก<WBR>กา<WBR>ลาม<WBR>สูตร หรือ<WBR>โค<WBR>ต<WBR>มี<WBR>สูตร เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>มือ<WBR>ตัดสิน<WBR>แล้ว ก็<WBR>พบ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>แต่<WBR>ฝ่าย<WBR>ถูก ฝ่าย<WBR>ให้<WBR>คุณ<WBR>โดย<WBR>ส่วน<WBR>เดียว เป็นการ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ซึ่ง<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>สรรเสริญ แต่<WBR>ถ้า<WBR>ใคร<WBR>ทำ<WBR>เพราะ<WBR>ยึด<WBR>มั่น ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>สี<WBR>ลัพพต<WBR>ปรามาส<WBR>ยิ่ง<WBR>ขึ้น และ<WBR>ถ้า<WBR>บังคับ<WBR>กัน<WBR>ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>ลัทธิ<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>เท<WBR>วทัต ที่<WBR>จริง<WBR>หลัก<WBR>มัชฌิมาปฏิปทา สอน<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ทำ<WBR>ตาม<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>ด้วย<WBR>ปัญญา<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>เพื่อ<WBR>ความ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>เสมอ แต่<WBR>เรา<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>แล้ว<WBR>ไม่<WBR>ทำ ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>เรา<WBR>ไม่<WBR>ปรารถนา<WBR>ดี<WBR>ไป<WBR>เอง ส่วน<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>มอง<WBR>ไม่<WBR>เห็น<WBR>นั้น<WBR>ไม่<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>วง<WBR>นี้ มัชฌิมาปฏิปทา<WBR>คือ<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>ดี<WBR>โดย<WBR>วง<WBR>กว้าง<WBR>!
    วัน<WBR>นี้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>เขียน<WBR>มาก จน<WBR>คาด<WBR>ว่า<WBR>บรรณาธิการ<WBR>จะ<WBR>รังเกียจ<WBR>เพราะ<WBR>จะ<WBR>แย่ง<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>ของ<WBR>เรื่อง<WBR>แผนก<WBR>อื่น<WBR>ไป จึง<WBR>ขอ<WBR>ไว้<WBR>อธิบาย<WBR>เพิ่ม<WBR>เติม<WBR>ใน<WBR>โอกาส<WBR>หลัง<WBR>บ้าง แต่<WBR>ขอ<WBR>อย่าง<WBR>ลืม<WBR>หลัก<WBR>สั้นๆ ว่า เรา<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เสพ<WBR>ผัก<WBR>เพื่อ<WBR>เอา<WBR>ชื่อ<WBR>เสียง<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก (Vegetarian) เลย เรา<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ใจ<WBR>เพื่อ<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>ประโยชน์<WBR>อัน<WBR>เกิด<WBR>แต่<WBR>การ<WBR>มี<WBR>กิเลส<WBR>เบา<WBR>บาง<WBR>อีก<WBR>ส่วน<WBR>หนึ่ง<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ฉะนั้น เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>จะ<WBR>วิเคราะห์<WBR>เหตุผล<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า โปรด<WBR>ใช้<WBR>กฎ<WBR>ประจำ<WBR>ใจ<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>เข้า<WBR>ผสม<WBR>ด้วย<WBR>เสมอ และ<WBR>อย่า<WBR>ลืม<WBR>ว่า<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ฝ่าย<WBR>โลก<WBR>นาถ<WBR>ภิกษุ หรือ<WBR>ฝ่าย<WBR>ใคร นอกจาก<WBR>ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>เหตุผล แล้ว<WBR>และ<WBR>ตั้ง<WBR>หน้า<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ด้วย<WBR>ความ<WBR>เชื่อ<WBR>ความ<WBR>นับถือ<WBR>ตน<WBR>เอง<WBR>เท่า<WBR>นั้น และ<WBR>ข้อ<WBR>สำคัญ<WBR>ที่สุด<WBR>ก็<WBR>คือ ข้าพเจ้า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ขอ<WBR>ร้อง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>ผัก เป็น<WBR>แต่<WBR>แสดง<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>เห็น<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้ ขอ<WBR>ร้อง<WBR>เพียง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>นำ<WBR>ไป<WBR>คิด<WBR>ดู เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>คิด<WBR>แล้ว<WBR>ใน<WBR>กาล<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ท่าน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>ผัก<WBR>หรือ<WBR>นัก<WBR>เนื้อ ก็<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>เหตุผล<WBR>ของ<WBR>ท่าน พุทธ<WBR>บุตร<WBR>ที่<WBR>แท้<WBR>จริง<WBR>คือ "คน<WBR>มี<WBR>เหตุผล<WBR>" ที่<WBR>จริง<WBR>นัก<WBR>เนื้อ<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>ผู้<WBR>อัน<WBR>ใคร<WBR>จะ<WBR>พึง<WBR>รังเกียจ เช่น<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ผู้<WBR>ไม่<WBR>สามารถ<WBR>ทาน<WBR>ธุดงค์<WBR>อย่าง<WBR>อื่น เช่น ทรง<WBR>ไตร<WBR>จีวร หรือ<WBR>อยู่<WBR>โค<WBR>น<WBR>ไม้<WBR>เหมือน<WBR>กัน เพราะ<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>บังคับ<WBR>.
    <CENTER>[​IMG]</CENTER><!-- links -->
    <CENTER>[SIZE=+1][ หน้าแรก[/B][/SIZE] | นิยามมังสวิรัติ[/B] | เหตุใดต้องเป็นมังสวิรัติ[/B] | อาหารหลักสี่หมู่[/B] | โครงสร้างทางสรีระ[/B] | รายงานการวิจัย[/B]
    | หลักการกินมังสวิรัติ[/B] | คำสอนทางศาสนา[/B] | คนดังนักมังสวิรัติ[/B] | ไขข้อข้องใจ[/B] | นานาสาระ[/B] | Link[/B] ] </CENTER><!-- footer -->
    <CENTER> </CENTER>​
     
  9. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ฟันธงกิน"เนื้อแดง"มาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ

    ฟันธงกิน"เนื้อแดง"มาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานใหม่ยืนยันว่า การกินเนื้อแดงและเนื้อแปรรูปในปริมาณที่มากเกินไปส่งผลเสียต่อสุขภาพ

    นักวิจัยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ศึกษาและเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคกว่า 500,000 คน พบว่า ผู้ที่กินเนื้อแดง (เรดมีต) หรือเนื้อแปรรูปประมาณ 160 กรัมต่อวัน หรือเทียบเท่ากับสเต๊ก 6 ออนซ์ มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเสียชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะโรคมะเร็งและโรคหัวใจ เมื่อเทียบกับผู้ที่กินเนื้อแดง หรือเนื้อแปรรูปแค่วันละ 25 กรัม หรือเทียบเท่ากับเบคอนชิ้นเล็กๆ บางๆ เพียงชิ้นเดียว

    ในทางตรงกันข้าม กลุ่มที่กินเนื้อขาว (ไวต์มีต) จำพวกเนื้อสัตว์ปีกและเนื้อปลา จะมีความเสี่ยงลดลงที่จะเสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บดังกล่าว ผลการคำนวณยังพบว่า ร้อยละ 11 ของการเสียชีวิตในผู้ชาย และร้อยละ 16 ของการเสียชีวิตในผู้หญิงสามารถป้องกันได้ ถ้าพวกเขาหันมาบริโภคเนื้อแดงให้เหลือแค่วันละ 25 กรัม หรือเท่ากับเบคอนชิ้นบางๆ เล็กๆ 1 ชิ้น

    นักวิจัยระบุด้วยว่า สารก่อมะเร็งจะเกิดขึ้นในช่วงที่นำเนื้อแดงไปปรุงเป็นอาหารด้วยอุณหภูมิร้อนจัด เนื้อแดงประกอบไปด้วยไขมันอิ่มตัว ซึ่งมีส่วนเชื่อมโยงกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ การบริโภคเนื้อแดงแต่น้อยจึงทำให้ความเสี่ยงเป็นมะเร็งน้อยลง และลดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจ เพราะการกินเนื้อแดงน้อย จะส่งผลให้ความดันเลือดและระดับคอเลสเตอรอลลดลง

    ข้อมูลจาก นสพ มติขน รายวัน
    1 เมษายน 2552

    ฟันธงกิน"เนื้อแดง"มาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ - สาเหตุทำไมชาวอเมริกันมีผู้ป่วยโรคมะเร็ง และ หัวใจ สูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    เวปน่าสนใจ มีสาระ เพื่อสุขภาพที่ดีกว่า เพื่อลด ความเสี่ยงจากโรคมะเร็งร้าย


    http://www.watisan.com/showdetail.asp?boardid=1080

    เอกสาร งานวิจัย ที่น่าสนใจจาก ตปท เพื่อสุขภาพที่ดี กว่า ลดความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งร้าย

    for your healthy life เพื่อสุขภาพที่ดี กว่า ลดความเสี่ยงจากโรคมะเร็งร้าย โรคหัวใจ

     
  10. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    พระธรรมเทศนา ดร โลกนาถภิกขุ ว่าด้วยเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์

    Subject: พระธรรมเทศนา ดร โลกนาถภิกขุ ว่าด้วยเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์


    <TABLE class=tborder id=post1506863 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_1506863 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER>[​IMG]

    พระธรรมเทศนา ดร โลกนาถภิกขุ ว่าด้วยเรื่องการบริโภคเนื้อสัตว์

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message --><TABLE><TBODY><TR vAlign=top><TD>[​IMG]</TD><TD>ดร.โลกนาถภิกขุ พ.ศ. ๒๔๗๖
    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส
    พุทธศาสนา-ศาสนาแห่งความเมตตา
    “พุทธมามกะทั้งหลาย จงอย่าเสพเนื้อสัตว์เลย”


    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <HR width="40%">
    ในประเทศอินเดีย ชาวฮินดูมักพากันถามอาตมาเสมอๆ ว่า “ทำไมพวกอุบาสกอุบาสิกาในพม่า ลังกา และสยาม จึงรับประทานเนื้อสัตว์? สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มิได้เทศนาหลักแห่งความเมตตากรุณาไว้ดอกหรือว่า อหิงสา ปรมา ธมฺมา ความไม่เบียดเบียนกันเป็นธรรมะสูงสุด”

    เมื่ออาตมาได้ฟังคำพูดเช่นนั้น ทำให้อาตมาต้องอึ้งเสมอ อาตมาต้องนิ่ง อาตมาไม่มีคำตอบ สัมปชัญญะบอกอาตมาว่า คำกล่าวหาของพวกเหล่านั้นเป็นความจริง แล้วอาตมาปลอบตนเองด้วยความคิดที่ว่า สมเด็จพระพุทธองค์มิได้ทรงอุบัติขึ้น เพื่อบุคคลทั่วไปที่จมอยู่ในกองกิเลส พระองค์ทรงโปรดได้แต่เฉพาะบางคน ที่มีจิตบริสุทธิ์พอที่จะสำเร็จได้เท่านั้น
    ขอให้เรามาแยกแยะปัญหาข้อนี้ให้ถี่ถ้วน ขอให้มาแสวงหาความจริงโดยไม่ต้องเกรงกลัวอะไร เพราะความจริงเป็นของดีที่สุดถึงแม้จะทำให้รู้สึกเจ็บบ้าง คมมีดของนายศัลยแพทย์ก็จำเป็นจะต้องใช้ตัดเอาเนื้อร้ายออกเสียจนได้

    ทำไมคนทั่วไปจึงสมคบกันอย่างเงียบๆ ละเมิดศีลข้อ ๑ ที่ว่า ปาณาติปาตาเวรมณีฯ งดเว้นจากการทำชีวิตให้ตกล่วงไปอยู่ ดังนี้คนทุกคนชอบเสพเนื้อสัตว์ ดังนั้น แต่ละคนจึงจงใจให้คนอื่นเชื่อไปว่า สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าของเรานั้นทรงอนุญูาตให้เสพเนื้อสัตว์ได้ ขอให้เปิดช่องให้มนุษย์แต่น้อยเดียวเถิด! แล้วมนุษย์จะกระโดดเข้าขยายช่องนั้น กว้างออกไปจนโตเต็มความพอใจของตน “อกุศลเจตนาของมนุษย์นั้นไม่มีที่สิ้นสุดได้” เขาจะถือเอาความผ่อนผันของสมเด็จพระศาสดาจารย์ไปใช้โดยไม่มีจำกัดขีดขั้น มนุษย์จะยกเอาพุทธานุญาตขึ้นมาบังหน้า แล้วระเริงกันไปโดยไม่มีการเหนี่ยวรั้ง หมู่มนุษย์นั้นจะถือว่า บรรลุสภาพบุคคลแล้วยังไม่ได้ เป็นเพียงแต่ทารกต้องใช้ไม้เรียวอยู่เสมอ
    สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรานั้น ทรงอนุญาตให้ภิกษุบริโภคเนื้อสัตว์ได้ต่อเมื่อไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน หรือไม่สงสัยว่าสัตว์นั้นถูกฆ่าเฉพาะเพื่อภิกษุนั้น ภิกษุเป็นผู้ปราศจากสมบัติ จะซื้อหรือขายอะไรไม่ได้ ฉะนั้นภิกษุจะต้องรับเอาอาหารใดๆ ที่จะพึงได้โดยดุษณีภาพ จะเป็นอาหารดีหรือเสีย มากหรือน้อย ผักหรือเนื้อ ก็ต้องรับทั้งสิ้น

    แต่หลักข้อนี้ใช้แก่ภิกษุเป็นส่วนมาก ไม่ใคร่ใช้สำหรับอุบาสกอุบาสิกา เป็นธรรมดาอยู่เองที่ฆราวาสจะเถียงว่า “ก็เมื่อพระภิกษุซึ่งเป็นอาจารย์และผู้นำของเราบริโภคเนื้อสัตว์ได้ เหตุไรเราจะเอาอย่างไม่ได้? เรากินเนื้อสัตว์กันเถิด” คารมเหตุผลนั้นถูก แต่ความหมายสุดท้ายนั้นผิด…
    ภิกษุไม่มีเงิน ดังนั้นภิกษุจะต้องบริโภคตามแต่จะได้ ไม่ใช่ตามแต่จะชอบ แต่อุบาสกอุบาสิกามีเงิน กินอะไรได้ตามประสงค์ผักหรือเนื้อ

    ในเรื่องอาหารนี้ ภิกษุมีเสียงไม่ได้ แต่อุบาสกอุบาสิกามีเสียงได้เต็มที่ ภิกษุเลือกอะไรไม่ได้ อุบาสกอุบาสิกาเลือกได้ทุกประการ ถ้าภิกษุบริโภคเนื้อสัตว์ ก็เป็นกรรมที่ไม่มีเจตนา ภิกษุเลือกชนิดอาหารที่จะรับไม่ได้ เมื่อภิกษุบริโภคเนื้อสัตว์บ้าง ก็บริโภคด้วยความไม่เต็มใจยิ่ง แต่ถ้าอุบาสกอุบาสิกาเสพเนื้อสัตว์ โดยมากเป็นกรรมที่มีเจตนา เพราะอุบาสกเลือกชนิดอาหารได้ อุบาสิกามีเงิน จะซื้ออาหารอย่างไรก็ได้ตามชอบ ผัก หรือ เนื้อ

    เพราะฉะนั้น เรื่องของภิกษุจึงต่างกับเรื่องของอุบาสก ภิกษุที่แท้จริงนั้นหวังจะบริโภคแต่ผัก เพราะฉะนั้น ฆราวาสผู้ประสงค์จะได้บุญมากต้องถวายผักแก่ภิกษุ อย่าถวายเนื้อสัตว์เลย ผู้ที่ถวายเนื้อสัตว์แก่ภิกษุนั้น ได้บุญน้อย หรือไม่ได้เลย ฆราวาสผู้ถวายอาหารที่เป็นผักแก่พระภิกษุจะได้บุญมากมาย
    <!-- / message --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1506863")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right><!-- controls --> <!-- / controls --></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- post 1506863 popup menu --><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=thead></TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR><!--############# AWCoding Back-End created by AWNetwork, Inc. ######################################## Version 3.0.8 ##############################--><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR><!--######################## Statsuser Popup Template ######################################## Copyright 2008 all rights reserved ##################--><TR><TD class=vbmenu_option></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- / post 1506863 popup menu --><!-- / close content container --><!-- / post #1506863 --><!-- post #1506984 --><!-- open content container -->
    <!-- this is not the last post shown on the page --><TABLE class=tborder id=post1506984 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"><!-- status icon and date --><!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1506984", true); </SCRIPT>



    [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1506984 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title --><CENTER>การรับประทานเนื้อสัตว์นั้น เสี่ยงภัยต่อโรคร้ายแรงหลายชนิด

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->การรับประทานเนื้อสัตว์นั้น ทำให้มีความสงสัย แม้เราจะไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ว่าเนื้อนั้นไม่ได้ทำสำหรับเราโดยเฉพาะก็ดี แต่เราก็สงสัยอยู่เสมอ เนื้อสัตว์จะต้องทำเพื่อผู้บริโภคเสมอไป ฉะนั้น การรับประทานเนื้อสัตว์ก็เป็นการผิดศีล สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรานั้น ทรงสั่งสอนให้รับประทานผักโดยทางอ้อม ทำไมไม่สอนโดยตรงเล่า ก็เพราะว่าหลักทุกหลักต้องมีข้อยกเว้น สมเด็จพระศาสดาทรงเป็นบรมมหาปราชญ์แห่งปราชญ์ทั้งหลาย

    ทำไมจึงมีชีวิตอยู่ในความสงสัยตลอดไปเล่า? เป็นผู้เสพแต่ผักเสียเถิด แล้วความสงสัยก็จะหมดสิ้นไป จะได้อยู่ในทางที่ปราศจากภัย จะได้มีชีวิตอยู่โดยจิตใจบริสุทธิ์
    สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรานั้น ต้องการให้เราปฏิบัติเมตตาและกรุณา ศีลข้อ ๑ นั้นชัดมาก มิได้หมายความแต่เฉพาะว่า เราจะต้องไปฆ่า หรือทำร้ายสัตว์มีชีวิต แต่หมายความด้วยว่า เราจะต้องไม่ทำให้มีการฆ่าหรือทำร้ายสัตว์มีชีวิตใดๆ ด้วย
    พระธรรมบทกล่าวไว้ว่า :-

    คนใดหรือสัตว์ใด จะเป็นใครก็ตามที
    แม้ตนโทษกรณ์มี ก็ย่อมหวาดขลาดต่อทัณฑ์
    เหตุว่าสัตว์ทั้งหลาย ย่อมกลัวตายทั่วหน้ากัน
    ลองเอาใจเรานั้น ใส่ใจเขาเข้าก็เห็น
    (เหตุนี้ขอทีเถิด! อย่าละเมิดซึ่งศีลเบญจ์)
    ผลาญสัตว์จึงควรเว้น หรืออย่าเข่นให้ฆ่ากัน

    คนใดหรือสัตว์ใด จะเป็นใครก็ตามที
    แม้ตนโทษกรณ์มี ก็ย่อมหวาดขลาดต่อทัณฑ์
    เหตุว่าสัตว์ทุกผู้ ย่อมต้องรู้รักชีวัน
    จงประพฤติแก่ท่านนั้น ดุจต้องการให้เราเป็น
    (เหตุนี้ขอทีเถิด! อย่าละเมิดซึ่งศีลเบญจ์)
    ผลาญสัตว์จึงควรเว้น หรืออย่าเข็นให้ฆ่ากัน
    แม้นใครจักทำลำเค็ญ ให้แก่สัตว์เป็น ผู้ต้องการสุขทุกคน
    เพื่อหวังบำเรอสกล ให้สุขแก่ตน ตัวเองจักต้องเวทนา
    ดับจิตไปแล้วเถิดหนา กรรมนั้นจักมา สนองให้ไม่พบสุขเอย
    การซื้อเนื้อสัตว์ในตลาดนั้นทำให้มีการฆ่าสัตว์ เพราะการจำหน่ายย่อมต้องให้พอเพียงแก่ความต้องการ ฉะนั้น การซื้อเนื้อในตลาดก็เป็นการผิดศีลข้อ ๑
    ดร.โสนิ เขียนไว้ว่า “สำหรับข้าพเจ้านั้น ถ้าคำว่า ‘อย่าฆ่าสัตว์’ มิได้หมายความไปถึงว่า ‘อย่าเสพเนื้อสัตว์’ ด้วยแล้ว ศีลห้าก็จะศูนย์ค่าและความหมายไปสิ้น ข้าพเจ้าถือข้อนี้เคร่งนัก ความตัดสินใจมั่นในข้อนี้ ได้ทำให้ข้าพเจ้าเว้นจากการรับประทานเนื้อสัตว์มา ๑๑ ปีแล้ว และความเชื่อมั่นข้อนี้พร้อมด้วยความสัตย์จริงเป็นกำลังหนุนอยู่ จักทำให้ข้าพเจ้าได้อุปการะแก่สัตว์อันน่าสงสารได้บ้างในบางกาล ขณะนี้ ข้าพเจ้ากำลังคิดตั้งสมาคมสำหรับผู้ที่ปลงใจจะเว้นจากการเสพเนื้อสัตว์ในสภาพใดๆ อยู่”
    จริงทีเดียว ศีลห้าจะศูนย์ค่าและความหมายสิ้น ถ้าคำว่า ‘อย่าฆ่าสัตว์’ มิได้หมายความไปถึงว่า ‘อย่าเสพเนื้อสัตว์’ ด้วย ทั้งนี้เพราะว่าจะมีการเสพเนื้อสัตว์ไม่ได้เลย ถ้าไม่มีการฆ่าสัตว์เสียก่อน กินเนื้อสัตว์ทำให้เกิดการฆ่าสัตว์ ฉะนั้นอย่าฆ่าสัตว์หมายถึงอย่ากินเนื้อสัตว์ด้วย

    ดร.โสนิ เขียนต่อไปว่า “การเสพเนื้อสัตว์ได้ฝังรากลงในประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเสียแล้ว จนกระทั่งไม่รู้สึกกันว่าเป็นของชั่วร้าย จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า จะต้องมีคนฉลาดการคัดค้านในข้อนี้” จริงทีเดียวเราจะได้ฟังพุทธศาสนิกชนกล่าวความเช่นว่า “เนื้อสัตว์ตายในตลาดเป็นของบังสุกุล อาจรับประทานได้” ดังนี้! เพื่อนพุทธศาสนิกชนทั้งหลายเอ๋ย! อาตมาขอคัดค้านในข้อนี้ “เนื้อสัตว์ตายในตลาดไม่ใช่ของบังสุกุล ทำไมไม่ใช่ ก็เพราะว่าการจำหน่ายย่อมต้องให้พอกับความต้องการ เนื้อบังสุกุลต้องเป็นเนื้อที่มีขึ้นด้วยเหตุสุดวิสัย เป็นต้นว่าเนื้อของสัตว์ที่ตายเอง ตราบใดที่มีการจำหน่ายให้พอกับความต้องการแล้ว จะไม่มีเนื้อบังสุกุลเลย ถ้าไม่มีความต้องการก็จะไม่มีเนื้อสัตว์ที่ถูกฆ่าตาย เพราะฉะนั้นท่านจะต้องรับผิดในการที่เขาจำหน่าย ท่านจะต้องรับผิดในการที่เขาฆ่าสัตว์ตาย ท่านละเมิดศีลข้อ ๑ ปาณาติปาตาเวรมณีฯ นั้น
    การจำหน่ายย่อมเป็นไปตามส่วนของความต้องการ
    ความต้องการเป็นเหตุ
    การจำหน่ายเป็นผล
    ถ้าไม่มีเหตุ ก็ไม่มีผล
    ถ้าไม่มีความต้องการ ก็ไม่มีการจำหน่าย และไม่มีการฆ่าสัตว์
    (ซ. ต. พ.)
    ถ้าไม่มีคนกินเนื้อสัตว์หรือคนซื้อ ผู้ฆ่าสัตว์ก็จะต้องเลิกอาชีพหรือต้องเปลี่ยนไปทำกิจการอื่นๆ ที่น่านับถือกว่า โอ้ … ท่านผู้ชอบกินเนื้อทั้งหลาย คนฆ่าสัตว์นะเป็นผู้สมคบกับท่านด้วยน่ะ! ท่านให้เงินเขาเป็นสินจ้าง ท่านจ้างเขาฆ่าสัตว์ซึ่งไม่รู้เดียงสา เพื่อกระเพาะของท่าน

    พุทธศาสนิกชนบางท่านลวงตนเองอย่างใหม่ คือ สับปลา หรือเนื้อนั้นเป็นชิ้นเล็กๆ เล็กที่สุดจนมองไม่เป็นเนื้อ ด้วยศิลปเหล่านั้น เขาอาจลวงตนเองได้ แต่จะลวงกรรมนั้นไม่ได้ดอก ปาณาติบาตฯ ก็คือ ปาณาติบาตฯ จะทำเนื้อเป็นอย่างใด ชิ้นเล็กหรือชิ้นใหญ่ ก็ไม่พ้นกรรมร่วมอยู่นั่นเอง

    สมเด็จพระศรีสรรเพ็ชร์พุทธเจ้าของเรานั้นอุบัติมาในโลก เพื่อคัดค้านการบูชายัญด้วยเลือดเนื้อ ซึ่งกระทำกันอยู่ในสมัยของพระองค์ แต่มาบัดเดี๋ยวนี้ เรากลับบูชายัญด้วยเลือดเนื้อ เพื่อเอาใส่กระเพาะของเราให้เต็ม โลหิตในโรงฆ่าสัตว์นั้นไหลหลั่งดุจอุทกธาร อาตมาอยากทราบนักว่า ในสมัยโบราณที่เขาใช้บูชายัญต่อพระเจ้า กับสมัยนี้ที่บูชาต่อกระเพาะนั้นต่างกันอย่างไร? อาตมาว่าท้องก็คือพระเจ้านั่นเอง

    ท้องนั้นเมื่อใส่อาหารเข้าไปเต็มแล้ว ก็คือความเปล่าด้วยความโง่เขลา (อวิชชา) ทำให้เกิดสังสารโลกขึ้น เหตุนี้จงปล่อยให้ท้องว่าง โดยรับประทานอาหารแต่มื้อเดียว แล้วท่านก็จักทำลายสังสารโลกเสียได้ โดยสำเร็จเป็นพระอรหันต์ นี่คือวิธีของพระมหากัสสปะเถระ และธุดงค์บัญญัติ ๑๓ ข้อของท่าน อดอาหารและทรมานตน นุ่งห่มแต่น้อย และอยู่กลางแจ้ง นำความสำเร็จเป็นพระอรหันต์ และนิพพานมาให้ได้เป็นตัวอย่าง

    ถ้าเมื่อใดพุทธศาสนิกชนละการเสพเนื้อสัตว์เสียได้แล้ว เมื่อนั้นความต้องการเนื้อสัตว์ก็จะน้อยลง ขอให้อุบาสกอุบาสิกาทุกคนจงบังคับตนเอง อย่าไปติผู้อื่นเขา แม้คนคนเดียวไม่อาจช่วยชีวิตสัตว์ทั้งโลกได้ก็ดี แต่คนคนนั้นก็ยังอาจช่วยชีวิตสัตว์ที่เขาสามารถจะช่วยได้อยู่ การทำตัวอย่างนั้นติดต่อกันไปได้ เริ่มรับประทานแต่ผักขึ้นคนเดียว จะยังผลให้ผู้อื่นเห็นเกิดกุศลจิตอีกหลายคนกระทำตาม “การปฏิบัติเป็นตัวอย่างนั้นดีกว่าออกบัญญัติ”
    ขอให้คิดดู ชีวิตสัตว์ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ (สองแสน) ตัว จะต้องถูกฆ่าเพื่อคนคนหนึ่งมีชีวิตอยู่ ๖๐ ปี น่าสลดใจไหมเล่า? ดูซิคนคนเดียวกินอะไรบ้างในชีวิต ๖๐ ปี :-
    <TABLE><TBODY><TR><TD>นก เป็ด ไก่</TD><TD>๒๐,๐๐๐ ตัว</TD></TR><TR><TD>ไข่</TD><TD>๖๐,๐๐๐ ฟอง</TD></TR><TR><TD>กุ้ง ปลา ฯลฯ</TD><TD>๑๒๐,๐๐๐ ตัว</TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตว์อื่นๆ ( สุกร โค ฯลฯ)</TD><TD>๓,๐๐๐ ตัว <HR></TD></TR><TR vAlign=top><TD>รวมทั้งสิ้น (สองแสนสามพันชีวิต)</TD><TD>๒๐๓,๐๐๐ ตัว <HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>* ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขโดยประมาณ แต่ปัจจุบันเชื่อว่าจะมากกว่านี้ เพราะมีการใช้เครื่องมือทันสมัยมาช่วยมากขึ้น และจากอิทธิพลของอาหารแบบฟาสต์ฟู้ด ที่ทะลักเข้ามาในประเทศ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ในวันหนึ่งๆ เรากินสัตว์ที่ถูกฆาตกรรมดูก็เล็กน้อย แต่เมื่อรวมเข้าซิ! จะเป็นเรื่องสำคัญนัก “น้ำทีละหยดยังทำให้ถังเต็มได้ฉันใด คนพาลจะมีบาปหนาก็ด้วยกระทำทีละน้อยๆ ฉันนั้น”
    ท่านมีอำนาจเหนือสัตว์อยู่ ๒๐๐,๐๐๐ (สองแสน) ตัว ท่านจะเว้นชีวิตให้เพื่อความเมตตาไม่ได้เจียวหรือ? หรือท่านจะฆ่ามันเพื่อลิ้นของท่าน ท่านจะมีสุขใจได้อย่างไร? ในเวลาที่เสพเนื้อสัตว์โดยรู้อยู่ว่า รสโอชะนั้นได้ประกอบขึ้นด้วยความรับทุกขเวทนาของสัตว์อื่นๆ

    สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรานั้นทรงเสวยแต่ผักผลไม้ต่างๆ คนชอบเสพเนื้อสัตว์บางคนพยายามพิสูจน์ว่า พระองค์เข้าสู่ปรินิพพานโดยเสวยเนื้อสุกร เหลวไหลอะไรเช่นนั้น สมเด็จพระพุทธองค์ทรงบริโภคแต่ผลาหารมาจนตลอดพระชนม์ชีพ จะว่าเสด็จเข้าสู่ปรินิพพานด้วยการเสวยเนื้อสุกรอย่างไรได้ พระองค์ทรงเสวยผักผลไม้ต่างๆ จนตลอดกาลอวสาน พระองค์เสด็จสู่ปรินิพพานโดยเสวย “เห็ดที่เป็นพิษต่างหาก” อินเดียนักบุญไม่เสพเนื้อสัตว์หมด มาจนถึงทุกวันนี้

    ต่อหน้าที่ 3
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
    <!-- / attachments --><!-- edit note --><HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    กลอนสะกิดใจ

    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="85%" height="100%">กลอนสะกิดใจ



    สัพเพ สัตตา เสียงร้องขอ ชีวิตจิตหวั่นไหว

    เสียงห่ำหั่น เข่นฆ่า น่าสยอง

    เสียงซวบซาบ ดาบคมเชือด เลือดไหลนอง

    เสียงกรีดร้อง สะท้านจิต สะกิดใจ

    เสียงสัพเพ สัตตา พาให้คิดว่าชีวิตนี้ มีค่า กว่าสิ่งไหน

    อเวรา อย่ามีเวร อย่ามีภัย
    ชีวิตใคร ใครก็หวง อย่าล่วงเกิน

    ท่องสัพเพ สัตตา มาแต่ไหน ยังเข้าใจ ในเนื้อแท้ ้แค่ผิวเผิน

    ยังฆ่าบ้าง กินบ้าง อย่างเพลิดเพลิน ยังใช้เงิน ซื้อชีวิต อนิจจา

    สัตว์เกิดกาย มาใช้กรรม ที่ทำไว้ เป็นเป็ดไก่ กุ้งปลา ูและหมูหมา

    ตามเหตุต้น ผลกรรม ที่ทำมา มิใช่ฟ้า ประทานมา ให้คนกิน

    มีปัญญา แต่ไฉน จึงไม่คิด
    มองชีวิต กลับเห็น เป็นทรัพย์สิน

    เสียงกรีดร้อง ก่อนตาย ใครได้ยิน น้ำตาริน เมื่อถูกเฉือด เลือดกระเซ็น

    พูดว่าเขา เกิดมา เป็นอาหาร เขาลนลาน หนีตาย ใครมองเห็น

    เขาจนใจ พูดไม่ได ้เถียงไม่เป็น ช่างเลือดเย็น เข่นฆ่า ไม่ปราณี

    มีพืชผัก มากมาย นับไม่ถ้วน ทุกกลิ่นรส สดใส หลายหลากสี

    ธรรมชาติ วางไว้ อย่างดิบดี สัตว์วิ่งหนี พืชเต็มใจ ให้กินมัน

    เพราะเรากิน เขาจึงฆ่า เอามาขาย เราสบาย แต่สัตว์โลก ต้องโศกศัลย์

    ท่องสัพเพ สัตตา มาทุกวัน
    เมตตากัน โปรดอย่าฆ่า และอย่ากิน



    ประพันธ์โดย
    คุณประวิทย์ ชัยศิริสัมพันธ์

    ใครๆ ก็ไม่รักผม

    หนีกันเถอะ

    ให้โลกเราสวยพวกเราต้องช่วยกั<WBR>นไม่เบียดเบียนกันแล้วโลกนี้<WBR>จะสดใส

    ------------------------------<WBR>------------------------------<WBR>-----------------------
    อ้างอิงจากเวป

    ชีวิตในวฎสงสาร ต่างเวียนว่าย วัฏฏะชาติ อนาถภพ " แด่ชีวิตเพื่อนร่วมโลก ต่างเวียนว่าย วัฏฏะชาติ อนาถภพ
    บ้างประสบ ถูกเขาฆ่า บ้างฆ่าเขา
    ยุติธรรม คือกรรม ที่ตามเรา
    วิบากเก่า ไม่ลืมชาติ ไม่ขาดอายุความ

    ชีวิต ในวฎสงสาร

    ต่างเวียนว่าย วัฏฏะชาติ อนาถภพ
    บ้างประสบ ถูกเขาฆ่า บ้างฆ่าเขา
    ยุติธรรม คือกรรม ที่ตามเรา
    วิบากเก่า ไม่ลืมชาติ ไม่ขาดอายุความ อ่านจากเวปข้างล่าง น่าสนใจ


    http://www.watsai.net/webb/<WBR>view.php?No=126&visitOK



    </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom width="85%"><TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" colSpan=2><HR width="100%" SIZE=1>[​IMG]
    [​IMG] fish.jpg )
    [​IMG]
    [​IMG] pig.jpg
    [​IMG]
    [​IMG] squid.jpg
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. shinui

    shinui สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +3
    อ่านแล้วหดหู่มากครับ
    สลดเลยไม่อยากกินสัตว์อื่นด้วยเลย
     
  13. apichai53

    apichai53 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    630
    ค่าพลัง:
    +2,261
    เส้นทางหมายเลข 8 : เส้นทางการค้า เส้นทางขนส่งสุนัข

    ...... เส้นทางหมายเลข 8 เป็นเส้นทางอีกเส้นทางหนึ่งที่เชื่อมไทย ลาว และเวียดนาม และเป็นเส้นทางที่มีความสำคัญอีกเส้นทางหนึ่ง ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง เส้นทางหมายเลข 8 นี้เป็นเส้นทางที่พาดผ่านในลาวและเวียดนามอยู่ในพื้นที่ของแขวงคำม่วน และแขวงบอลิคำไซในลาว และในพื้นที่ของจังหวัดห่าติ๋งห์ (Ha Tinh) ในเวียดนาม
    <O:p</O:p
    หากเริ่มต้นจากนครพนม การจะใช้เส้นทางหมายเลข 8 จะต้องเริ่มต้นจากเมืองท่าแขก แขวงคำม่วน โดยใช้เส้นทางหมายเลข 13 (ซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมลาวเหนือกับลาวใต้) ก่อน และไปเชื่อมต่อเส้นทางหมายเลข 8 ที่ทางแบ่งหลักซาว <?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:metricconverter>100 กม. จากเมืองท่าแขก) จากนั้นจึงมุ่งสู่ชายแดนลาว-เวียดนาม

    เส้นทางหมายเลข 8 ในปัจจุบันเป็นทั้งเส้นทางการค้าและเส้นทางท่องเที่ยว ในด้านการท่องเที่ยว เส้นทางเส้นนี้มีทิวทัศน์ที่สวยงามยิ่ง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย เพียงแต่ยังไม่ได้รับการพัฒนา เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ เส้นทางหมายเลข 8 ยังนำไปสู่สถานที่ท่องเที่ยวในหลายๆ จังหวัดในภาคกลางตอนเหนือของเวียดนาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ้านเกิดของโฮจิมินห์ในจังหวัดเหงะอาน

    ในด้านการค้า เส้นทางนี้เป็นเส้นทางที่นำสินค้าไทยไปสู่เวียดนามอีกเส้นทางหนึ่ง สินค้าหลัก ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภค ผลไม้ เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
    นอกจากนี้เส้นทางหมายเลข 8 ยังเป็นเส้นทางที่ขนส่งสุนัขที่มีชีวิตออกไปยังเวียดนาม ซึ่งเป็นตลาดที่บริโภคสุนัข

    ทำให้บางทีผู้เขียนเรียกเส้นทางหมายเลข 8 นี้ว่า เส้นทางขนส่งสุนัข หรือบางทีก็เรียกว่า เส้นทางสุนัข แต่หนักหน่อย ก็เรียกว่า เส้นทางหมา การที่เห็นการขนส่งสุนัขกันเป็นประจำบนเส้นทางนี้ ก็เพราะปลายของเส้นทางหมายเลข 8 ในเวียดนามเป็นตลาดใหญ่ที่รับซื้อ และบริโภคเนื้อสุนัข โดยอีกปลายข้างหนึ่งที่เชื่อมต่อประเทศไทย ก็มีจุดส่งออกสุนัข

    การขนส่งสุนัขเส้นทางหมายเลข 8
    สําหรับผู้รักสุนัข หากได้เห็นภาพของการขนส่งสุนัข ภาพที่สุนัขเบียดเสียดกันอยู่ในกรงบนรถบรรทุก 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ หรือภาพของการขนถ่ายสุนัขจากรถลาวมายังรถเวียดนามที่ด่านพรมแดนลาว-เวียดนามและเสียงร้องของสุนัข ภาพเหล่านี้คงสะเทือนใจไม่น้อย

    สุนัขในกรงหลายตัวมีความน่ารักและมองเราด้วยสายตาที่ขอความเห็นใจด้วยสภาพร่างกายที่อ่อนเพลียเพราะถูกขนส่งมาจากทางไกล เบียดเสียดอัดทับกันมาในขณะที่เราได้แต่ยืนมอง

    ผู้เขียนไปยืนนับกรงขังสุนัขที่บริเวณด่านพรมแดนลาว-เวียดนาม หากเป็นรถบรรทุก 10 ล้อ จะบรรทุกกรงสุนัขได้ไม่น้อยกว่า 288 กรงๆละไม่น้อยกว่า 12 ตัว ดังนั้น รถบรรทุก 10 ล้อ 1 คัน จะขนสุนัขได้ไม่น้อยกว่า 3,456 ตัว และหากมีราคาส่งจากไทยตัวละ 300-350 บาท จะมีมูลค่าถึง 1,036,800 บาท โดยประมาณ ทั้งนี้ ยังไม่คิดในราคาที่ซื้อขายกันในประเทศลาว และราคาที่แหล่งบริโภคในเวียดนาม

    สำหรับชาวเวียดนามไม่ถือว่าการนำเข้าสุนัขเป็นสินค้าผิดกฎหมาย แต่ถือว่าเป็นสัตว์เลี้ยงและสัตว์เลี้ยงเพื่อการบริโภค ชาวเวียดนามถือว่าการบริโภคเนื้อสุนัขเป็นเรื่องปกติและเป็นวัฒนธรรมการบริโภคแบบหนึ่ง เนื้อสุนัขเป็นสินค้าที่มีราคา และใช้บริโภคในโอกาสพิเศษ โดยทั่วไปคนเวียดนามนิยมบริโภคในฤดูหนาว เพราะเนื้อสุนัขให้ความอบอุ่นกับร่างกาย อุดมไปด้วยโปรตีน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติในขณะนี้คนเวียดนามนิยมบริโภคสุนัข เมื่ออยากรับประทานโดยไม่ต้องรอโอกาสพิเศษใดๆ

    ช่วงตรุษญวน หรือ ตรุษจีน เนื้อสุนัขจะขายดีมาก เนื้อสุนัขเป็นอาหารโปรดของคนเวียดนามมานานแล้ว เหตุผลไม่ใช่แค่เป็นอาหารที่มีสรรพคุณบางประการ แต่คนเวียดนามยังถือว่าการบริโภคเนื้อสุนัขจะลบล้างเรื่องไม่ดี ในช่วงสิ้นเดือนหรือสิ้นปีได้<O:p</O:p
    ช่วงเวลาใกล้ตรุษนี้ การนำเข้าสุนัขจากเมืองไทยเข้าเวียดนามอาจเพิ่มขึ้นเป็น 30,000 ตัวต่อเดือน หรือมากกว่านั้น
    <O:p</O:p
    กลุ่มคนที่ทำธุรกิจสุนัขในไทยอยู่ที่ใด<O:p</O:p
    ตามแหล่งข่าวของผู้ค้าเนื้อสุนัขในเวียดนาม ธุรกิจการนำเข้าเนื้อสุนัขจากไทยและลาวนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างพ่อค้าในจังหวัดบางจังหวัดในอีสาน กับพ่อค้าขายส่งที่บ้านท่าแร่ จังหวัดสกลนคร โดยพ่อค้าปลีกในบางจังหวัดจะส่งสุนัขให้กับพ่อค้าที่ท่าแร่ สุนัขเหล่านี้ถูกจับมาจากจังหวัดไม่ไกลจากกรุงเทพฯ เช่น ลพบุรี ราชบุรี ปราจีนบุรี ฯลฯ<O:p</O:p
    พวกกลุ่มคนขายปลีกสุนัขจะไม่ส่งสุนัขไปลาวและเวียดนามโดยตรง แต่จะส่งให้กลุ่มคนขายส่งที่บ้านท่าแร่ <O:p</O:pธุรกิจนี้นับตั้งแต่ขั้นตอนการค้นหา การรับส่งสินค้าจนถึงการส่งออกได้ดำเนินการเป็นขบวนการ
    <O:p</O:p
    ช่องทางส่งออกสุนัขไปยังเวียดนาม<O:p</O:p
    แหล่งข่าวในเวียดนามบอกว่า ช่องทางส่งออกสุนัขจากไทยนั้นเป็นเส้นทางชายแดนทั้งหลายที่ติดกับลาว ดังเช่น หนองคาย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่จังหวัดนครพนม
    ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตรงแยกปากทางแบ่ง บอกว่าสุนัขที่ถูกขนผ่านเส้นทางหมายเลข 8 นั้น ส่วนใหญ่มาขึ้นฝั่งที่ด้านใกล้ๆ กับแยกทางแบ่งหลักซาว
    ซึ่งเป็นทางแยกจากเส้นทางหมายเลข 13 เข้าสู่เส้นทางหมายเลข 8 ในแขวงบอลิคำไซ<O:p</O:p
    ตลาดเนื้อสุนัขทางภาคเหนือและภาคกลางตอนเหนือของเวียดนาม

    สุนัขที่ขนผ่านเส้นทางหมายเลข 8 จะถูกส่งไปยังจังหวัดกว่างบิ่ง ห่าติ๋ง เหงะอาน แท็งหวา ห่าเต็ย นามดิ่ง นิงบิ่ง กรุงฮานอย และอาจที่จังหวัดอื่นๆ อีกที่ผู้เขียนไม่ทราบ จังหวัดแท็งหวาเป็นจังหวัดหนึ่งซึ่งเป็นที่พักสุนัขที่ขนมาจากเส้นทางหมายเลข 8 ผู้ค้าสุนัขในกรุงฮานอยบอกว่า สุนัขส่วนใหญ่ที่นำเข้ามักจะขายอยู่ในเวียดนามไม่เหลือที่จะส่งต่อไปขายยังจีน เพราะความต้องการเนื้อสุนัขในเวียดนามมีสูง
    <O:p</O:p
    หมู่บ้านเซินดง อำเภอเห่าหลก จังหวัดแท็งหวาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นศูนย์กลางนำเข้าส่งออกเนื้อสุนัขที่ใหญ่ที่สุดของเวียดนาม ปัจจุบันหมู่บ้านเซินดงมีผู้ค้าขายเนื้อสุนัขประมาณ 30 ราย โดยมีลงเลวันเตี๋ยนเป็นผู้ริเริ่ม คนในหมู่บ้านนี้ขายเนื้อสุนัขตั้งแต่เหนือจรดใต้ของเวียดนาม
    <O:p</O:p
    เจ้าของกิจการของเวียดนามได้จ้างคนไทยค้นหาซื้อสุนัขไทยโดยตั้งเงินเดือนให้เดือนละ 3,000,000 ด่ง หรือ 6,000 บาท ต่อเดือน (470-500 ด่งต่อ 1 บาท) ว่ากันว่า คนในหมู่บ้านนี้ได้เช่าที่ดินเพื่อเก็บพักสุนัขอยู่ในเมืองไทยเพื่อรอการขอส่งออกต่อไป แต่ก็ไม่สามารถทราบได้ว่า อยู่ ณ ตำบล อำเภอ หรือ จังหวัดใดในประเทศไทย คงต้องสืบกันต่อไป
    <O:p</O:p
    นอกจากการนำเข้าสุนัขแล้ว หมู่บ้านเซินดงยังเลี้ยงสุนัขเอง การเลี้ยงสุนัขที่เพิ่มมากขึ้นในหมู่บ้านเซินดง ก่อให้เกิดมูลพิษในหมู่บ้าน จนทำให้หมู่บ้านข้างเคียงต้องฟ้องร้อง ในที่สุด ผู้บริหารพื้นที่ก็ได้จัดพื้นที่เลี้ยงสุนัขของหมู่บ้านเซินดงไว้ที่เชิงเขาแห่งหนึ่ง
    ในพื้นที่เลี้ยงสุนัข ขณะนี้มีฟาร์มเลี้ยงสุนัข 25 แห่ง แต่ละฟาร์มมีสุนัขสำรองประมาณ 1 ตันสำหรับแต่ละวัน คนในหมู่บ้านบอกว่า หมู่บ้านนี้จะส่งเนื้อสุนัขให้กับฮานอยเป็นจำนวน 10 ตัน ต่อวัน
    <O:p</O:p
    ที่หมู่บ้านกาวหะ จังหวัดห่าเต็ยไม่ไกลจากกรุงฮานอย ก็เป็นแหล่งค้าขายเนื้อสุนัขเช่นกัน แค่การบริโภคในหมู่บ้าน และตำบลเดียวกันและข้างเคียง ก็มีจำนวนถึง 500 กิโลกรัมต่อวันแล้ว นี่ยังไม่นับจำนวนที่ส่งไปยังตลาดในฮานอย<O:p</O:p
    สุนัขที่นำมาบริโภคนั้นจะเป็นสุนัขพันธุ์ธรรมดา ไม่ใช่สุนัขพันธุ์ฝรั่ง นักบริโภคเนื้อสุนัขบอกว่า สุนัขพันธุ์สวยๆ นั้นเนื้อไม่อร่อยและเหนียว
    <O:p</O:p
    อายุและสีขนของสุนัขมีผลต่อความนิยม โดยอันดับที่ 1 ได้แก่ สุนัขขนสีขาวซึ่งถือว่าเป็นสุนัขเนื้อชั้นดี มีเนื้ออร่อย ไขมันน้อย สุนัขลักษณะนี้หายากและราคาสูง<O:p</O:p
    รองลงมา ได้แก่ สุนัขที่มีขนสีน้ำตาลอ่อนค่อนไปทางเหลือง รองลงมา ได้แก่ สุนัขที่มีขนเป็นวงกลมบนหลัง และสุนัขที่มีจุดดำบนหลัง<O:p</O:p
    สำหรับสุนัขที่มีขนสีดำจะไม่เป็นที่นิยมบริโภค เพราะถือว่าเป็นสุนัขนำโชคร้าย และสุนัขที่จะนำมาบริโภคนั้นต้องมีอายุระหว่าง 1 ปีถึง 1 ปีครึ่งเนื้อจึงจะไม่เหนียว
    <O:p</O:p
    จำนวนและราคาสุนัข<O:p</O:p
    ว่ากันว่า ราคาขายส่งสุนัขเนื้อที่บ้านท่าแร่ตัวละ 250 บาท แต่ราคาขายปลีก คือ 350 บาท ราคาจะเพิ่มเป็น 600 บาท เมื่อถึงลาวและสามารถซื้อขายกันด้วยราคาสูงถึง 2,000 บาท หรือมากกว่านั้นเมื่อถึงเวียดนาม<O:p</O:p
    แหล่งข่าวบางรายบอกว่า ราคาอาจสูงถึงตัวละ 3,500 บาท ทั้งนี้ ราคาจะสูงเท่าใดขึ้นอยู่กับพันธุ์และคุณภาพของเนื้อ และขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดในช่วงเวลานั้นๆ
    <O:p</O:p
    ขณะนี้ราคาสุนัขมีชีวิตในตลาดกรุงฮานอยราคากิโลกรัมละไม่น้อยกว่า 70,000-90,000 ด่ง สำหรับครอบครัวที่มีสมาชิก 10 คน จะซื้อเนื้อสุนัขประมาณ <st1:metricconverter w:st="on" ProductID="12 กิโลกรัม">12 กิโลกรัม</st1:metricconverter> แต่การบริโภคเนื้อสุนัขนี้ก็มิได้ทำกันบ่อยๆ จะบริโภคในโอกาสพิเศษเท่านั้น<O:p</O:p
    สุนัขของไทยเป็นที่ชื่นชอบเพราะเนื้อแน่นไม่ผอมเหมือนสุนัขที่รับมาจากหมู่บ้านต่างๆ ในเวียดนามและจากลาว
    <O:p</O:p
    ธุรกิจขายเนื้อสุนัขนำรายได้มหาศาลมาให้ผู้ค้าทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของผู้ค้าดีขึ้น ถึงขนาดมีการลงทุนซื้อเครื่องถอนขนสุนัขซึ่งมีราคาถึง 6 ล้านด่ง หรือ 12,400 บาท โดยประมาณ และตู้เย็นแช่เนื้อสุนัข ซึ่งมีราคาถือ 10 ล้านด่ง หรือ 20,000 บาท โดยประมาณ
    <O:p</O:p
    ความต้องการบริโภคเนื้อสุนัขมีมากขึ้นในเวียดนามทั้งๆ ที่มีราคาแพง อาจเป็นเพราะชาวเวียดนามมีกำลังซื้อมากขึ้น และการนำเข้าสุนัขมีชีวิตนี้มิได้มีที่มาจากประเทศไทยและลาวเท่านั้น แต่มาจากกัมพูชาด้วย ทั้งนี้ ทางใต้ของเวียดนามก็บริโภคเนื้อสุนัขด้วยเช่นกัน
    <O:p</O:p
    ความนิยมในการบริโภคเนื้อสุนัขนั้นเป็นความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ที่บางกรณีก็เชื่อมโยงกับความเชื่อต่างๆ นานา รวมทั้งความเชื่อในสรรพคุณของเนื้อสุนัข จีนก็เป็นอีกประเทศที่บริโภคเนื้อสุนัข และเนื้อของชนิดสัตว์อื่นๆ รวมทั้งอวัยวะส่วนอื่นๆ ของสัตว์ชนิดนั้นๆ
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่รักสุนัขและรักสัตว์คงยอมรับได้ยาก หรือยอมรับไม่ได้อย่างแน่นอน จึงขอเอาเรื่องที่พบเห็นระหว่างการทำงานวิจัย ในพื้นที่บนเส้นทางหมายเลข 8 ที่ผ่านทั้งลาว และเวียดนามที่เป็นทั้งเส้นทางการค้า เส้นทางการท่องเที่ยวและ "เส้นทางขนส่งสุนัข" มาเล่าสู่กันฟัง
    <O:p</O:p
    บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ "การศึกษาเส้นทางหมายเลข 8 : เส้นทางการค้าและเส้นทางการท่องเที่ยว?" ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ความเห็นในบทความนี้เป็นของผู้วิจัย สกว.ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป……………………..
    <O:p</O:p
    โดย ธัญญาทิพย์ ศรีพนา สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ที่มา http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q4/2008october07p10.htm<O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2010
  14. โกวิทชัย

    โกวิทชัย สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2010
    โพสต์:
    3
    ค่าพลัง:
    +4
    มนุษย์เบียดเบียนสัตว์แร้วสำนึกผิดหรือแกล้งทำเป็นอินโนเซ็นต์ ยังไงก็รับกรรมอยู่ดี แระคับ รับกรรมไปเหอะ แล้วสอนลูกสอนหลานว่าทีหลังอย่าทำ
     
  15. สุภาพรกิ่งนอก

    สุภาพรกิ่งนอก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2008
    โพสต์:
    405
    ค่าพลัง:
    +1,536
    ดิฉันไม่กล้าอ่านค่ะ ที่บ้านก็เลี้ยงไว้ตอนแรกสองตัว (ตัวผู้และเมีย)
    ตั้งแต่ได้มาเลี้ยง เขาก็ค้ำคูณค่ะ ตอนนี้มีลูกสามตัว ก็จะเลี้ยงเอาไว้ทั้งหมด ไม่คิดให้ใครเพราะเมตตาเขาและรักเขาค่ะ เราเองก็ต้องมีกรรมต่อกันมาจึงได้มาเลี้ยงดูกัน เขามีความกตัญญูเพียงแต่พูดไม่ได้เท่านั้น

    มาคิดดูแล้วหมาเหล่านี้มาเกิดชดใช้กรรม กรรมดีต้องมีอยู่บ้าง จึงเกิดมาเป็นหมาชั้นดี จึงได้มาเกิดให้เราได้ดูแลค่ะ
     
  16. apichai53

    apichai53 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    630
    ค่าพลัง:
    +2,261
    หมาเป็นสัตว์เลี้ยงที่ใกล้ชิดเรามากที่สุด เหมือน
    กับเป็นสมาชิกคนหนึ่ง ในครอบครัวเลยที่เดียว
    มันมีความรู้สึก มีจิตใจเหมือนเรา เพียงแต่มัน
    พูดไม่ได้เหมือนคุณสุภาพรว่า....... และเวปนี้
    ก็เป็นช่องทางหนึ่งในการช่วยกันรณรงค์
    เพื่อให้การฆ่าหมาเป็นอาหารลดน้อยลงได้บ้าง
    ..แม้จะยากเสียเหลือเกิน..แต่ก็จะพยายามกันต่อไป
    ....ขอให้เจริญในธรรมครับ
     
  17. นิพ_พาน

    นิพ_พาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    1,984
    ค่าพลัง:
    +7,810
    มนุษย์เกิดมาเป็นสัตว์ประเสริฐอยู่แล้ว
    ทำไมถึงต้องไปเบียดเบียนชีวิตสัตว์เดรัจฉานกัน
    สุนัขนี่นับว่าเป็นสัตว์แสนรู้และเป็นเพื่อนที่ดีที่สุด
    ใครที่คิดจะขายสุนัขยังชีพเลิกเถอะค่ะ
    สร้างทั้งบาปและกรรมหยุดกันเถอะค่ะ

    มีหมาเป็นเพื่อน ดีกว่ามีเพื่อนหมาๆ
     
  18. apichai53

    apichai53 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    630
    ค่าพลัง:
    +2,261
    มีหมาเป็นเพื่อน ดีกว่ามีเพื่อนหมาๆ
    เห็นด้วยครับ.....
     
  19. anm618

    anm618 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    17
    ค่าพลัง:
    +33
    ก่อนหน้านี้เคยเผลอทานเนื้องู (สมัยเด็กๆ) แต่ไม่มีเจตนา จะบาปมากไหมครับ
     
  20. apichai53

    apichai53 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    630
    ค่าพลัง:
    +2,261

    ถ้างูที่เราทานนั้นเราไม่ได้ฆ่า ก็ไม่บาปครับ
    อย่าไปกังวลเลย ดูที่เจตนาของการฆ่าเป็นหลัก ..ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...