เจตสิก ๕๒ เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต รู้อารมณ์เดียวกับจิต อาศัยวัตถุเดียวกับจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 14 กรกฎาคม 2012.

  1. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    เอาคำนี้ละกาน คำเดียว น่าจะพอ

    คำนี้ ผมก็ระลึกถึง พระโสดาบันขึ้นไป ที่ยังไม่สำเร็จ อรหัตถผล อะสิ

    ท่านมี ภาวนามัยปัญญา เพราะ พระโสดาบัน มีสมาธิเล็กน้อย( มีสมาบัติได้โดยง่าย
    ไม่ลำบาก ไม่ต้องเสียใจภายหลังว่าเข้าสมาบัตไม่ได้ ) แต่ความที่ ท่านยังไม่ สำเร็จ
    อรหัตถผล จึงจัดว่า ยังมีอาสวะ
     
  2. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ตรงนี้ กลับไปที่ คำถาม ที่ จิตใจเลิฟ แกล้งเลิกทวงถาม ก็ได้

    คือ คำว่า "มรรคส่วนตบแต่งขันธ์"

    พระโสดาบัน มีภาวนามัยปัญญาแล้วบางส่วน แต่ ส่วนที่ยังมีอาสวะเหลือ
    อันนั้น ก็ยังต้องอาศัย "มรรคแบบตบแต่งขันธ์" ต่อไป

    ส่วน มรรคที่เป็นโลกุตระ อันนั้น ทำกิจ ประหานกิเลสไปเรียบร้อยแล้ว
    เกิดขึ้นแล้ว และ ดับไปแล้ว เพราะ หมดเหตุ(กิเลสส่วนที่ต้องดับ ดับไป
    แล้ว เหตุดับ )
     
  3. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ถูกแล้ว ดีแล้ว บ่อน้ำนี้ไม่เคยเหือดแห้ง

    ใช้ตักดื่มชุ่มเย็นได้เฉพาะตน ^^
     
  4. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    กลับไปที่จุดเริ่มต้น ที่น้องโหน่งเลือกติดกระดุมเม็ดแรก

    เอ้ากลับมา กลับมาที่จุดเริ่มต้น
     
  5. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075

    ตรงนี้ใช่ไหมที่พยายามเอามาเป็นประเด็น

    คล้ายๆ น้าเอกไปสำนักต่างๆฟังธรรม พิจารณา เห็นตามจริง นั้นเป็นแล ปัญญาเกิดจากพิจารณา

    นี่ก็ยกเรื่องโยนิโสมาให้แล้ว นี่ต้องแยกนะ อย่าเอาไปปะปน

    ส่วนภาวนนาปัญญา ก็ยกมาให้แล้ว สนใจอ่านบ้างไหม

    สภาวะธรรม รูปนามที่ปรากฏอยู่ขณะนี้ ไม่ใช่เรื่องไปตรึกอะไรแล้ว
     
  6. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ต้องการจะสื่ออะไร

    นี่คุยมาหลายโพส วลอยู่ที่สัญญาเก่าๆ
     
  7. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    ฮึย นี่ยังเห็นว่า ผมปฏิเสธความสามารถ บรรดามี ของคุณอีกเหรอ

    เห็นคำว่า จึงได้ ในบทที่อธิบาย สุตมัยยปัญญา ไหม

    นั่นแหละ ผมคล้อยตามเลยว่า คุณฐานัฏฐ์หนะ ทำได้หมดทุกอย่าง
    ไม่ได้โกหก ไม่ได้กล่าวคำไม่จริงแต่ประการใด

    แต่ ทั้งหมดที่ทำได้นั่นหนะ หากเอาตาม อรรกถาจารย์ ท่านเรียกว่า
    สำเร็จโดยการฟัง เป็นเพียง สุตมัยยปัญญา เท่านั้น เป็น สาวกเท่านั้น
    เอง ไม่ได้ค้นพบตัวศาสนาเองโดยไม่ต้องอาศัยฟังจากพระพุทธเจ้า !!


    ************

    ส่วน ภาวนามัยยปัญญา จึงหมายถึง สำเร็จนิพพาน ตามประเภท ผล4
    อย่างใดอย่างหนึ่ง เข้าเป็นหนึ่งเดียวกับ พระพุทธองค์ แล้ว และจะแนบ
    สนิทยิ่งขึ้นหากพ้นจากอาสวะทั้งหมด ปรินิพพาน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2012
  8. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อาสวะ มันกว้างมาก

    อาสวะในที่นี้ คืออะไรหรือ ^^
     
  9. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    หึ๋ย ..สื่อไปแล้ว
    สุดท้าย ก็ขอพักก่อนละกานนะ^^
     
  10. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    บ้าหรือเปล่า

    ผมยกคำว่า อาสวะที่เหลือ โดยใช้คู่กับการ อ้างอิงถึง พระโสดาบัน

    ดังนั้น อาสวะที่เหลือของพระโสดาบัน คุณพิจารณาไม่ได้หรือ ถึงได้
    โยงออกไปเรื่อง กว้างมาก

    จะดึงออกนอก สาระ ที่สื่อสารไปแล้ว ทำไมครับ

    หลงละเมอสัญญาตัวไหน กลุ่มไหนอีกเหรอ

    ไหนลองว่ามาสิ อาสวะกว้างมากของคุณหนะ คืออะไร
     
  11. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ก็ขยายให้แล้วไง ฟังแล้วเป็นอย่างไร พิจารณาแล้วเป็นอย่างไร

    สมาบัติ ๘ ที่มีวิปัสสนา และไม่มีวิปัสสนาเป็นอย่างไร

    สติปัฏฐาน เป็น สมาบัติอย่างไร

    ผู้เจริญสติปัฏฐาน มีสติ สัมปชัญยะ และความเพียร ละอภิชชาและโทมนัสนั้น

    เป็นปัญญาในระดับใด


    การฟังมา แล้วพิจารณาจนเข้าใจ นี้ก็เข้าใจ ว่าปัญญาอะไร

    คล้ายๆ นายหลงชี้ นั้นไงแมว

    สมองน้าเอกก็คิดแต่แมว หันไปดูแล้ว รู้จัก อ๋อ นี่แมวเป็นแบบนี้

    ทั้ง ฟัง นึก พิจารณา เพ่ง สังเกตุ เข้าใจ ครบ



    มันต่างกับสติปัฏฐานมาก ^^
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012
  12. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อยากฟังจากน้าเอกนั้นแล จุดประเด็นไม่ใช่หรอ ^^

    เพราะ อาสวะพระเสขะ ไม่เท่า ปุถุชน
     
  13. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    เอ้า เดี่ยวผมจะ สรุป ล่อเป้า ให้

    โดยอ้างอิง อรรกถาเรื่อง สุตมัยยปัญญา จินตมัยยปัญญา และ ภาวนามัยยปัญญา นั่น

    สรุปก็คือ

    สาวก ทั้งหมด มี สุตมัยยปัญญา เท่านั้น เพราะ ต้องอาศัยการฟังธรรมจึงจะสำเร็จ

    มหาสัตว์ โพธิสัตว์ จะมี จินตมัยยปัญญา ขึ้นมาวิเศษกว่าสาวก คือ สามารถค้นคว้า
    ตัวศาสนาเองได้ ไม่ต้องอาศัยฟังจากใคร การเวียนว่ายตายเกิดเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ
    "อิทัปปจัยยาตา" ที่ทำให้มี จินตมัยยปัญญา นั้นๆ

    ส่วน "ภาวนามัยปัญญา" ก็ให้หมายถึง โสดาบันขึ้นไป จนถึงอรหันต์
    พระปัจเจกฯ และ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    เนี่ยะ สรุปตาม อรรกถาจารย์

    ซึ่งแน่นอนหละว่า ขัดแย้งกับ สุตมัยยปัญญา จินตมัยยปัญญา ที่ใช้กันเกร่อไปทั่ว

    อันนี้ผมก็เห็นอยู่ว่า ขัดแย้งกัน ดังนั้น คุณฐานัฏฐ์ไม่ต้องมาเสียเวลาไป ขนเอา ปฏิรูป
    ธรรมอื่นๆ มาแสดงนัยยะขัดแย้ง หรอก ผมย่อมทราบอยู่แล้วว่า มีการแสดงไว้แตกต่าง
    กัน ราวฟ้ากับเหว
     
  14. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ก็มองในส่วน โพธิสัตว์ ถูกไหม ที่พยายามจะยกอยู่ ข้อนี้เข้าใจ

    ทีนี้เห็นบ้างไหมว่า สื่อไปทางโยนิโสมนสิการ

    น้าเอกก็อาจจะบอกว่า นั้นเพราะเกิดจากฟังมา ได้ยินมา ไม่ได้คิดได้เอง นั้นก็ถูก

    แต่ต้องไม่ลืมว่า โยนิโสมี อโยนิโสก็มี ไม่งั้นจะทรงตรัสกาลามะสูตรไว้ทำไม


    และถ้าพูดถึงกฏอิทัจปัจยตาแล้วไซร์ ก็ต้องเชื่อกฏแห่งเหตุและผล ไม่มีอะไรเกิดขึ้นลอยๆ

    กรณีจินตมยปัญญาในพระโพธิสัตว์นั้น เกิดขึ้นเอง หรือมีปัจจัยการประชุมให้เกิดล่ะ
     
  15. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    คุณทำอะไรครับ !

    คุณเป็น มหาสัตว์หรือ ถึงได้ ชี้ชวนว่า รู้ถ้วนในเรื่องของ พุทธวิสัย

    หากเป็น สาวก ก็หัดเจียมๆ เอาไว้ดีกว่า ฟังธรรมไปเรื่อยๆ จนสำเร็จได้
    นั่นหนะ ดีอยู่แล้ว

    **************

    สมมติว่า จะย้อนแย้งผมว่า อ้าวแล้วผมยกมาทำไม

    ผมก็จะบอกอย่างเดิมว่า ยกมาให้ดูว่า พระไตรปิฏกใช้อย่างไร

    แล้ว ตำราชั้นหลังที่คุณสำรากรดพระไตรปิฏก ด้วยอาการอย่างไร

    ทีนี้

    ก็ตัดสินใจไปสิว่า จะเอายังไง

    จะเหยียบ กลบ พระไตรปิฏก ให้เสียอรรถสาระที่ตรง และ ครบถ้วนดีแล้วไป

    หรือว่า

    จะเอาสิ่งละอันพันละน้อยที่ ห่อล้อมด้วยกิเลสมารยาเข้าข้างตน ไปรดใส่จน พระไตรปิฏก
    เลือนหาย

    ดังนั้น

    โดยส่วนตัว ผมก็ขอกล่าวยืนตาม อรรกถาจารย์ไปก่อน ......ไปก่อนนะ ไม่ได้เชื่อโดยดุษฏี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2012
  16. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    พอจะคุยเรื่องเหตุผล เพื่อปฏิเสธทิฏฐิเกิดเองลอยๆก้ปัดเป็นเรื่องอื่นซะนี่ ^^

    มองไกลๆก็เป็นเรื่องสั่งสมบารมี



    และขอเถอะ ไม่จำเป็นต้องไปปรักปรำ กล่าวหาผู้นี้ย่ำยีพระธรรม ผู้นั้นไม่เคารพพระธรรม

    ด้วยเหตุที่ว่า เขาเหตุต่างจากเรา

    ให้มาถามนายหลงตรงๆเลย ว่ารู้สึกอย่างที่น้าเอกชี้น้ากล่าวตู่อยู่นี้รึเปล่า

    ก็คุยกันที่เหตุผลนั้นแล ทิฏฐิในตนไม่จำเป็นต้องแสดงก็ได้
     
  17. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    กระหยิ่มใจ ย่ามใจอยู่รึเปล่า พญาตีน

    นี่คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่หรือ ^^
     
  18. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    ฮึยยย ไหนว่า ไม่เล่นตัวบุคคลแล้วไง แล้วนี่อะไรอะ !?
     
  19. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อันนี้ล่ะ จะว่าเล่นก็ได้ หากจะยึดอย่างนั้น

    จะว่าชี้ให้คิดก็ได้ หากจะมองอย่างนั้น

    ห้ามกันไม่ได้ถูกไหม ^^
     
  20. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    มาศึกษาเรื่องรูป ๒๘ กันบ้างดีกว่า

    [​IMG]
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD height=96>คำว่า รูป มีความหมาย ๒ นัย นัยที่ ๑ กล่าวไว้ว่า รูป หมายถึง ธรรมชาติที่แตกดับหรือเสื่อมสลายไป นัยที่ ๒ รูป หมายถึง ธรรมชาติที่แตกสลายไป ด้วยอำนาจของความร้อนและความเย็น ซึ่งทั้งสองนัยนี้สรุปได้ว่า รูปก็คือธรรมชาติที่แตกดับ นั่นเอง</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=2 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60 width=544>
    ลักขณาทิจตุกของรูป มี ๔ ประการ คือ



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=2 width=522><TBODY><TR><TD width=24 align=right>๑.</TD><TD width=127 align=middle>เป็นธรรมชาติที่ </TD><TD width=359>ต้องแปรปรวนแตกดับไป</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>๒.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>แยกออกจากจิต (นาม) ได้</TD></TR><TR><TD align=right>๓.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>เป็นอัพยากตธรรม คือ ไม่ใช่ธรรมชาติที่เป็นกุศลหรืออกุศล</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>๔.</TD><TD align=middle>"</TD><TD>มีวิญญาณเป็นเหตุใกล้ให้เกิด</TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ในส่วนที่เป็นรูป (รูปขันธ์) คือ ร่างกายของคนและสัตว์ทั้งหลายนั้น เมื่อนับโดยความเป็นรูปธรรมแล้ว มี ๒๘ รูปด้วยกัน </TD></TR><TR><TD height=*>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=467><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60 width=457>
    รูป ๒๘ แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=330><TBODY><TR><TD width=26 align=right>๑.</TD><TD width=290>มหาภูตรูป กับ อุปาทายรูป</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD align=right>๒.</TD><TD>นิปผันนรูป กับ อนิปผันนรูป</TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=421>
    <TABLE border=2 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60 width=700>
    รูป ๒๘ เป็น ประเภทเล็ก ๆ ได้ ๑๑ ประเภท มีรายละเอียดดังนี้ คือ



    </TD></TR><TR><TD height=347><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=690><TBODY><TR><TD bgColor=#f2f2ff width=167>๑. มหาภูตรูป ๔ </TD><TD bgColor=#f2f2ff width=30></TD><TD bgColor=#f2f2ff width=39 align=right>๑.</TD><TD bgColor=#ffecd0 width=128>มหาภูตรูป</TD><TD bgColor=#ffecd0 width=36>
    มี



    </TD><TD bgColor=#ffecd0 width=40>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0 width=42>
    รูป



    </TD><TD bgColor=#ffecd0 rowSpan=7 width=32>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffecd0 width=176></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 rowSpan=10>[​IMG]</TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๒.</TD><TD bgColor=#ffecd0>ปสาทรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๓.</TD><TD bgColor=#ffecd0>โคจรรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๔.</TD><TD bgColor=#ffecd0>ภาวรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>นิปผันนรูป ๑๘</TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๕.</TD><TD bgColor=#ffecd0>หทยรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2>๒. อุปาทายรูป ๒๔</TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๖.</TD><TD bgColor=#ffecd0>ชีวิตรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๗.</TD><TD bgColor=#ffecd0>อาหารรูป </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>



    </TD><TD bgColor=#ffecd0>
    "



    </TD><TD bgColor=#ffecd0></TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๘.</TD><TD bgColor=#e6ffe6>ปริจเฉทรูป</TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6 rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD bgColor=#e6ffe6 rowSpan=4>อนิปผันนรูป ๑๐</TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๙.</TD><TD bgColor=#e6ffe6>วิญญัติรูป</TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๑๐.</TD><TD bgColor=#e6ffe6>วิการรูป</TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#fffaf2 height=31></TD><TD bgColor=#fffaf2 align=right>๑๑.</TD><TD bgColor=#e6ffe6>ลักขณรูป </TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>



    </TD><TD bgColor=#e6ffe6>
    "



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]



    </TD></TR><TR><TD>มหาภูตรูป ๔ ได้แก่ ธาตุทั้ง ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ และ ธาตุลม ุซึ่งเป็นรูปใหญ่ที่ปรากฏชัด มีอยู่ในร่างกายของคนสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต มหาภูตรูป ๔ ได้ชื่อว่าเป็นแม่ธาตุ หรือ ต้นธาตุ ซึ่งเป็นประธานของรูปทั้งหลาย รูปอื่น ๆ จะเกิดขึ้นได้ก็ต้องอาศัยแม่ธาตุทั้ง ๔ นี้ เหมือนแผ่นดินเป็นที่อาศัยของสิ่งทั้งปวง ดังนั้น ธาตุทั้ง ๔ นี้ จะอยู่รวมกันเสมอไม่สามารถจะแยกออกจากกันได้เลย แม้ในธาตุทั้ง ๔ ก็ต้องอาศัยซึ่งกันและกันด้วย </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ธาตุดิน จะมีอยู่ได้ก็ต้องอาศัยธาตุอีก ๓ ธาตุ คือ ธาตุน้ำ ธาตุไฟ และธาตุลม</TD></TR><TR><TD>อุปาทายรูป ๒๔ หมายถึง รูปที่อาศัยมหาภูตรูปเกิด ถ้าไม่มีมหาภูตรูป รูปอื่น ๆ ก็จะเกิดขึ้นเองไม่ได้</TD></TR><TR><TD>นิปผันนรูป ๑๘ หมายถึง รูปที่มีสภาวะของตนเองโดยเฉพาะ เช่น ปฐวีธาตุ มีลักษณะแข็ง เตโชธาตุ มีลักษณะร้อน เป็นต้น</TD></TR><TR><TD>อนิปผันนรูป ๑๐ หมายถึง รูปที่ไม่มีสภาวะของตน ต้องอาศัยนิปผันนรูปเกิด จึงมีขึ้นได้ เช่น ปริจเฉทรูป คือช่องว่าง ระหว่างรูปต่อรูป หรือกลาปต่อกลาป ซึ่งจะได้ศึกษาในรายละเอียดต่อไป</TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 กรกฎาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...