หลวงปู่แหวนมาโปรดในนิมิตร(ฝัน)

ในห้อง 'หลวงปู่แหวน' ตั้งกระทู้โดย psombat, 18 มีนาคม 2010.

  1. Natachai

    Natachai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2009
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +937
    วาระโอกาสที่ดีในการร่วมทำบุญสร้างสถานที่ปฏิบัติธรรม ภูดานไห มีค่าใช้จ่ายจำนวนมาก
    ท่านใดที่ร่วมทำบุญ ตามเงื่อนไขที่กำหนด ผมขอมอบ พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์ เพื่อเป็นกำลังใจให้ท่านละ 1 องค์ เพื่อมีไว้สำหรับบูชา

    1. มียอดทำบุญรวมกันตั้งแต่ 7,000 บาทขึ้นไป
    2. นับจากวันที่ 24/02/2554ถึง วันที่ 7 มีนาคม 2555
    3. เคยหรือไม่เคยรับพระเครื่องจากญาติธรรมท่านอื่น หากต้องการรับพระจากผมยินดีมอบให้
    4. โอนเงินเข้าบัญชีตามรายละเอียดของลิงก์ และแจ้งรายละเอียดหลักฐานการโอนเงิน
    <!--4. โอนเงินเข้าบัญชี ตามรายละเอียดของลิงก์ [if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif][if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif][if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> ภูดานไห: 07: ช่องทางการทำบุญ
    5. การรับพระกริ่งปวเรศ จะมารับที่ผมใน กรุงเทพฯ หรือ ฝากญาติธรรมท่านอื่นมารับแทนก็ได้ หากไม่สะดวกให้ส่งพระกริ่งปวเรศไปให้ ยินดีสะดวกเช่นกัน

    ไฟล์รูปตัวอย่าง:พระกริ่งปวเรศแต่งขอบ.jpg - วิกิพีเดีย
    พระกริ่งปวเรศมีให้เลือก ต้องการพระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข จำนวน 1 องค์ สร้างวาระใด? โปรดแจ้ง... ถ้าหากไม่ได้แจ้งผมจะมอบสร้างวาระ พ.ศ.2434
    - พ.ศ.2394
    - พ.ศ.2397
    - พ.ศ.2411
    - พ.ศ.2434
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กุมภาพันธ์ 2012
  2. naicharty

    naicharty เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +394

    ขออนุโมทนาสาธุกับทุกๆ ท่านด้วยนะครับที่ได้ช่วยกันคนละไม้คนละมือ เสียสละสิ่งของรักของหวง และของที่มงคลสูงสุดซึ่งบุคคลทั่วไปคงจะละวางได้ยาก แต่เหล่านักรบธรรมทั้งหลายสามารถละวางได้เพื่อร่วมสร้างถาวรวัตถุภูดานไห ซึ่งน่าปลื้มปิติและน่าอนุโมทนาสาธุนัก ก็ขอให้บุญกุศลในครั้งจงเป็นพลปัจจัยส่งไปให้ผู้ใจบุญทุกๆ ท่านจงมีความสุข ความเจริญทั้งทางโลก และทางธรรมมีปัญญาในการพิจารณาธรรมตามหลักสัจธรรมความเป็นจริง จนถึงพระนิพพานด้วยเทอญ...สาธุ....
     
  3. ckj_tong

    ckj_tong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    483
    ค่าพลัง:
    +869
    [​IMG]
     
  4. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    บัณฑิตน้อยผู้แสวงหาธรรมอันยิ่งใหญ่




    ด้วยความยินดีและอนุโมทนากับความใฝ่ในธรรมของคุณแนนนะครับ

    การที่คุณได้เข้ามาอ่านกระทู้จนมาพบข้อความและเรื่องราวทั้งหลาย จนนำมาสู่ความศรัทธาต่อองค์พ่อแม่ครูอาจารย์ พ.สุรเตโช นั้น มิใช่ด้วยเหตุบังเอิญ นั่นเป็นเพราะบุญวาสนาที่ได้สร้างสมมาทางด้านพุทธะ และมีความผูกพันในสายธรรมเดียวกัน เมื่อถึงเวลาก็จะถูกดึงเข้าหากันทั้งหมด วงบุญวงนี้ใหญ่ยิ่งนัก แล้วคุณจะเห็นเอง

    ผู้เป็นบัณฑิต ย่อมแสวงหากัลยาณมิตรผู้เป็นบัณฑิต คำว่า "บัณฑิต" นั้น มิได้หมายความว่าผู้มีปริญญา แต่หมายถึงผู้มีจิตใจใฝ่หาคุณธรรม หรือเป็นผู้แสวงหาธรรม แสวงหาหนทางไปพบพระพุทธเจ้า และเพื่อแสวงหาวิธีหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งหลายทั้งมวล อีกทั้งบัณฑิต ก็ไม่ได้ถูกจำกัดด้วยเรื่องของอายุ เพศ หรือเชื้อชาติ ดั่งที่เราพบเห็นเรื่องราวในช่วงเวลากึ่งกลางพระพุทธศาสนานี้มากมาย อาทิเช่น ผมมักจะพบเด็กหญิงแลเด็กชายอายุตั้งแต่ 1 ขวบ เมื่อพูดได้ก็เริ่มรู้จักการสวดมนต์ เริ่มรู้จักไหว้พระ บางคนเกิดมาพร้อมกับมีรกพันคอพันตัว และไม่ยอมกินเนื้อสัตว์มาตั้งแต่แรกเกิด เด็กบางคนก็มีญาณติดตัวมาตั้งแต่เกิด ฝรั่งหลายๆคนที่พบกับผมก็มีญาณสัมผัสได้ สัมผัสพลังในพระเครื่องได้ และอีกหลายๆอย่างที่ผมพบเห็นในช่วงห้าหกปีที่ผ่านมา คุณก็เป็นหนึ่งในนั้น ที่เป็นบัณฑิตตั้งแต่วัยรุ่น เวลาในการบำเพ็ญของคุณเพื่อหนทางหลุดพ้นจึงมีมากกว่าหลายๆคน และบุญวาสนาจะพาคุณพบกับพ่อแม่ครูอาจารย์และกัลยาณมิตรที่แท้จริงได้เอง

    การภาวนาสมาธิของผู้เริ่มต้น สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ ให้เริ่มต้นภาวนาด้วย พุทโธ โดยการกำหนดจิตที่ลมหายใจเข้าออกที่รูจมูกหรือปลายจมูก เวลาหายใจเข้าให้ภาวนาว่า "พุท" เมื่อหายใจออกให้ภาวนาว่า "โธ" มีหน้าที่ภาวนาตามนี้อย่างเดียว ลมหายใจจะช้าจะเร็วก็ปล่อยให้มันดำเนินไปไม่ต้องไปบังคับให้มันเป็นจังหวะเดียว ไม่ต้องกังวลว่ามันจะสงบหรือเกิดอะไรขึ้น หากมันจะคิดอะไรก็ปล่อยมันไปก่อน อยากจะคิดก็ให้มันคิด มันเบื่อแล้วก็จะหยุดไปเอง หรือหากมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดปรากฏขึ้นไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ขอแค่เพียงรู้ แล้วก็วางมันลงไม่ต้องไปสนใจ ให้ภาวนาต่อไป อันนี้แค่เบื้องต้นก่อน เมื่อฝึกบ่อยเข้าแล้วคุณจะค้นพบจริตของคุณเองนะครับ

    อนึ่ง คุณเข้าไปสนทนากับพี่ๆเหล่านักรบธรรมในกระทู้หลวงปู่แหวนมาโปรดในนิมิต(ฝัน) ได้เลยนะครับ เผื่อพี่ๆเขาจะได้แนะนำเพิ่มเติมได้...และขอต้อนรับคุณแนนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของนักรบธรรมนับตั้งแต่บัดนี้ครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    25 กพ. 2555
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กุมภาพันธ์ 2012
  5. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    ขออนุโมทนาบุญกับท่าน ดร.ณัฐชัย เป็นอย่างยิ่งครับ
    ดร.ณัฐชัย นับเป็นผู้มีบุญและมีทรัพย์อันเป็นมงคลจำนวนมาก ด้วยจริตเก่าดั้งเดิมของท่านและบุญสัมพันธ์กัน จึงทำให้เรามาพบกัน ท่านมักบอกผมเสมอว่า แม้ท่านไม่ได้ไปกราบนมัสการองค์พ่อแม่ครูอาจารย์ พ.สุรเตโช แต่ท่านมักจะส่งจิตไปกราบพ่อแม่ครูอาจารย์เสมอ ผมก็ขออนุโมทนาด้วยนะครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    25 กพ. 2555
     
  6. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    การศึกษาพระเครื่องแบบอจินไตย
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนนต์ สิปปภากุล

    พระรูปหล่อหลวงพ่อเงิน พิมพ์นิยมฐานสูง

    เมื่อวาน (24 กพ. 255) มีเหตุให้ผมต้องไปอัญเชิญพระรูปหล่อหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ พิมพ์นิยมฐานสูง เสมือนถูกจัดวางไว้ เพราะมีเหตุดึงดูดผมเข้าไปยังแผงพระแผงหนึ่งที่มีชายหนุ่มชาวนครศรีธรรมราชและภรรยาเป็นคนโคราช เมื่อผมเข้าไปถึง ผมมองเห็นหลวงพ่อเงินทำไมแปลกๆแค่มองเห็นก็รู้สึกสัมผัสอะไรบางอย่างได้ จึงเอื้อมมือไปจับขึ้นมาดู ปรากฏว่ามีพลังมหาศาลวิ่งเข้ามา ถามในจิตก็บอกว่าใช่ จิตผมบอกว่า งานเข้าแล้ว ราคาเท่าไหร่น้อ...

    ที่จริงแล้ว การที่ผมไปที่นั่นในครั้งนี้ ก็เพื่อกิจบางอย่างเสมือนถูกจัดวางไว้ ให้ไปบอกกล่าวเรื่องอจินไตยบางอย่างแก่พวกเขา บอกถึงคุณงามความดีที่ต้องปฏิบัติ เพราะพวกเขามีญาณสัมผัสได้ทั้งคู่ ชายหนุ่มนั้นเกิดอาการปีติและอาการบางอย่างตลอดเวลาเมื่ออยู่ใกล้ผม เมื่อคุยกันได้เวลาพอสมควร ก่อนกลับผมจึงเอ่ยกับเขาว่า พระองค์นี้จะให้ผมบูชาเท่าไหร่ เขาตอบว่า แล้วแต่อาจารย์... ผมจึงมอบเงินจำนวนหนึ่งมากพอควรให้กับเขา และอนุโมทนา

    ท่านทั้งหลาย หลังจากนั้น ในตอนเย็นมีเหตุให้น้องสาวท่านหนึ่งคือ คุณอ้อและสามีของเธอ ทั้งคู่เป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อกัญหา สุขกาโม (หลานหลวงปู่ชา สุภัทโธ) พระอริยเจ้าแห่งวังน้ำเขียว มาพร้อมกับคุณโกศล มาพบผมที่บ้านเพื่อกิจบางอย่าง เธอมีญาณสัมผัสได้ลึกละเอียดพอสมควร เธอมาบอกกล่าวเกี่ยวกับพุทธรูปของผมทั้งสององค์ที่ได้อัญเชิญมาใหม่นั้น ข้างในของพระทั้งสองได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนไหปลาร้าของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ และมีสิ่งมงคลรวมเก้าอย่างอยู่ในนั้นด้วย ส่วนองค์เนื้อสัมฤทธิ์ยังมีพระพุทธรูปทองคำองค์เล็กถูกบรรจุอยู่ข้างในด้วย เป็นการยืนยันตรงกันกับผู้มีญาณอีกท่านหนึ่งที่ได้บอกผมไว้ก่อนแล้ว เธอบอกให้ผมจัดวางตำแหน่งพระพุทธรูปใหม่อีกครั้ง นี่คือภารกิจหลักที่เธอต้องเดินทางมาที่บ้านของผม หลังจากนั้น ผมขอให้เธอช่วยตรวจสอบพระรูปหล่อหลวงพ่อเงินองค์นี้บ้าง ปรากฏว่า เธอยิ้มพร้อมกับกล่าวว่า หลวงพ่อเงินท่านนั่งยิ้มและกำลังฉันหมากอยู่เลย ปากท่านแดงด้วยน้ำหมาก รวมทั้งมีพลานุภาพสูงและเย็นมากๆ ขณะเดียวกันผมก็หยิบรูปหล่อหลวงพ่อเงินอีกองค์ให้คุณโกศลลองสัมผัสดู ปรากฏว่าก็เห็นหลวงพ่อเงินนั่งฉันหมากยิ้มอยู่เช่นกัน และยังได้ตรวจสอบพระเครื่องและสร้อยประคำเหล็กไหลไพลดำอีกหลายรายการ

    ดังนั้นจึงขอสรุปให้ทุกท่านได้ทราบว่า รูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จ.พิจิตร พิมพ์นิยม (ฐานสูง) องค์นี้ เป็นพระแท้ที่หลวงพ่อเงินเป็นผู้อธิษฐานจิตเอง ซึ่งเป็นการยืนยันด้วยญาณในอีกประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง ขอยืนยันในรูปลักษณะทางด้านกายภาพที่สามารถดูด้วยตาว่า เป็นลักษณะที่ถูกต้องตามวงการเขาคือ เนื้อโลหะเป็นสีทองคำผสมทองเหลืองสุกมันวาว แต่หมดน้ำยางโลหะ(ภาษาเซียน) มีความแห้งสนิท สนิมดำเทาออกน้ำตาล และสนิมเขียวบางจุด ตามซอกจะเห็นกระแสทองที่เรียกว่า เกล็ดกระดี่ ปรากฏเล็กน้อย น้ำหนักพอดี จุดตำหนิของพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ฐานสูง (พิมพ์นิยมมีหลายพิมพ์หลายขนาด) พระองค์นี้ส่วนฐานมีเนื้อเกินออกมารอบด้าน ด้านข้างไม่มีรอยตะไบ เพราะหล่อแบบช่อ ใต้ฐานจึงมีรอยตัดช่อ หน้าแข็งบนเป็นลำค่อนข้างตรงไม่บุ๋มลงไป ฝ่าเท้าล่างเรียวเล็กและคมชัด และอีกหลายๆจุด ก็ลองศึกษาและจดจำเอาเองนะครับ นี่เป็นการศึกษาแบบนอกกำมือเซียนครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    25 กพ. 2555



    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]



    พระรูปหล่อหลวงพ่อเงิน (องค์ล่าง) พิมพ์นิยมอีกองค์ที่คุณโกศลช่วยตรวจสอบด้วยญาณใน และได้ยืนยันว่าหลวงพ่อเงินเป็นผู้อธิษฐานจิตเอง อีกทั้งดูด้วยตาตามหลักการของเซียน ก็ยืนยันได้เป็นอย่างดี ลองชมดูนะครับ


    [​IMG]



    พระปิดตาคณะหลวงปู่ใหญ่เทพโลกอุดร

    พระผงปิดตาหลวงปู่เทพโลกอุดรที่สร้างโดยวังหน้า คุณอ้อช่วยยืนยันอีกครั้ง หลังจากที่ผมเคยตรวจสอบแล้ว ปรากฏว่า มีหลวงปู่เทพโลกอุดรสองพระองค์เป็นผู้อธิษฐานจิตคือ หลวงปู่ใหญ่ที่มีเส้นพระเกศาเป็นสีขาวประทับยืนอยู่ กับอีกองค์มีมือและเท้าใหญ่ประทับนั่งอยู่ หลายๆคนคงรู้แล้วว่าเป็นพระองค์ใดบ้าง


    [​IMG]



    พระสมเด็จวังหน้า

    พระสมเด็จชุดวังหน้าที่ท่านศรีทอง (นามสมมุติ) ส่งมาให้ผม เพื่อจะนำมาให้ผู้ใจบุญได้บูชาเพื่อนำปัจจัยไปสร้างวัดภูดานไห หลังจากที่ผมเคยตรวจสอบแล้วครั้งหนึ่ง เพื่อความแน่นอนผมจึงให้คุณอ้อและคุณโกศลช่วยตรวจสอบและยืนยันอีกครั้ง ปรากฏว่า เป็นพระที่หลวงปู่โต พรหมรังสี เป็นผู้อธิษฐานจิต นอกจากนั้น คุณโกศลยังเห็นหลวงปู่ใหญ่เทพอุดรด้วยอีกหนึ่งองค์ ในอนาคตผมจะนำมาให้ทุกท่านบูชาในภายหลังนะครับ


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กุมภาพันธ์ 2012
  7. ckj_tong

    ckj_tong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    483
    ค่าพลัง:
    +869
    [​IMG]
     
  8. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    พระแก้วรัตนที่เสด็จมาแบบอจินไตย

    วันนี้ญาติธรรมคือ คุณหนุ่ม ได้ส่งภาพพระแก้วรัตน (ผมไม่รู้จะเรียกท่านว่ากระไร) ที่พึ่งได้รับจากพระอาจารย์ปรีชา ซึ่งเป็นลูกศิษย์หลวงปู่ใหญ่เทพโลกอุดร ท่านอยู่ที่วัดแห่งหนึ่งในอำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ผมเคยไปที่วัดท่านมาแล้วครั้งหนึ่ง ท่านพาผมไปดูจุดที่ท่านลงไปในถ้ำที่อยู่ใต้ดินข้างกำแพงโบสถ์ (ผมมองไม่เห็นอะไรมีแต่พื้นดินธรรมดา) ภายในถ้ำลึกนั้น มีพญานาคดูแล บางครั้งหลวงปู่ใหญ่เทพโลกอุดรท่านก็เสด็จลงไปที่นั่น ภายในถ้ำจะมีสมบัติมากมายอาทิเช่น ทองคำ ลูกแก้วพญานาค เพ็ชรนาคา เหล็กไหล และยังมีพระพุทธรูปทั้งเก่าและใหม่ ที่แปลกมากๆก็คือ มีพระพุทธรูปแบบของใหม่บนโลกมนุษย์ มีตัวอักษรแบบปัจจุบัน บางองค์ก็เขียนว่า ฉลองครบสองร้อยปี ซึ่งผมสัณนิษฐานว่า สิ่งใดก็ตามที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อพระพุทธศาสนา เมื่อนำไปฝากกรุหรือเก็บไว้ใต้ดิน เหล่าพญานาคต้องมาทำหน้าที่ดูแลทรัพย์สินทั้งหมดที่อยู่ใต้ดิน ด้วยภาระหน้าที่ทั้งหมดถูกกำหนดมาตั้งแต่อดีตกาลมานมนานแล้ว ดังนั้น ไม่ว่าจะเก่าหรือใหม่ เมื่อถูกนำลงกรุและลงใต้พื้นดินแล้ว ก็หมดหน้าที่ของมนุษย์ ภาระการดูแลทั้งหมดจึงเป็นของเหล่าพญานาค...

    ในครั้งนั้น(เมื่อปีที่แล้ว) พระอาจารย์ปรีชากระซิบกับผมว่า เดี๋ยวโยมก็ได้ลงไปในถ้ำ ผมยังได้เย้าแหย่กับญาติธรรมที่ไปด้วยว่า ใครจะตามผมลงไปบ้าง ทุกคนส่ายหน้าเพราะกลัวไม่ได้กลับขึ้นมา

    ปล. พระแก้วรัตนองค์นี้เสด็จขึ้นมาด้วยบารมีของพระอาจารย์ปรีชา จึงขอสงวนรายละเอียดและเรื่องอจินไตยทั้งหลายไว้แต่เพียงเท่านี้ ไม่ต้องจินตนาการว่าจริงหรือไม่จริง ก็ลองชมแค่ความสวยงามก็พอนะครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    25 กพ. 2555


    [​IMG]

    [​IMG]

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. ckj_tong

    ckj_tong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    483
    ค่าพลัง:
    +869
    [​IMG]
     
  10. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    ขอขอบคุณและโมทนาสาธุในกุศลจิตท่าน ดร.ครับ
    พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขสมพระนามเด๊อ!
     
  11. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157



    ขออนุโมทนาในจิตอันเป็นมงคลของคุณ จิตที่มีจริตในทางธรรม มักอ่อนน้อม มีปีติเป็นอารมณ์ มีความระลึกถึงความดีเป็นที่ตั้ง ลดมานะทิฏฐิในใจเพื่อใฝ่แสวงหาธรรม มีความมุ่งมั่นในธรรม จิตจึงสว่างไสว นี่คือคุณสมบัติของบัณฑิตครับ ขอให้ตั้งใจมั่น ค่อยๆผึกฝนแบบทางสายกลางนะครับ พร้อมกับรับผิดชอบในการเรียนให้เป็นปรกติไปก่อน เมื่อถึงเวลาจริงๆ ค่อยปลีกวิเวก หากคุณปรารถนาพระนิพพานในภพนี้นะครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    26 กพ.2555
     
  12. หมวดซุบ

    หมวดซุบ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +20
    ต้องขออนุโมทนาบุญกุศลที่ท่าน อ.นนต์ ได้ทำไปแล้วทุกประการสำหรับการทำบุญร่วมกับพ่อแม่ครูอาจารย์ พ.สุรเตโช สิ่งที่ท่านอาจารย์ได้ทำไปแล้วย่อมเกิดมหากุศล ปรารถนาพระองค์ใด หรือสิ่งใดๆแล้ว ท่านอาจารย์จึงสมหวังทุกประการ:cool:
     
  13. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    [FONT=Verdana, sans-serif]ข้อความเดิมของคุณ Wisdom จากเว็บพลังจิต http://palungjit.org/threads/พระแก้วคู่บารมีพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์.327873/[/FONT]​



    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วคู่บารมีพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์[/FONT]​


    [FONT=Verdana, sans-serif][​IMG] [/FONT]​


    [FONT=Verdana, sans-serif]พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะมีพระแก้วประจำองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]และมีได้ตั้งแต่ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่และจะปรากฎชัดขึ้น[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ตามความเข้มข้นของบารมีที่สร้าง[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ยุคพระศรีก็จะมีพระแก้วแดงทำจากทับทิมแดง[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif](คล้ายพระพุทธรูปในภาพเหตุที่ใช้ว่า "คล้าย" เพราะองค์จริงงดงามกว่ามาก)[/FONT]​
    [FONT=Verdana, sans-serif]ส่วนพระแก้วขององค์ปฐมนั้นจะเป็นองค์สีขาว [/FONT]

    [FONT=Verdana, sans-serif]ยกตัวอย่างพระแก้วคู่บารมีพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัทรกัปนี้ [/FONT]

    [FONT=Verdana, sans-serif]1. พระกกุสันธพุทธเจ้า หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า เมื่อสมัย เป็นพระโพธิสัตว์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากนั้น 8 อสงไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีกประมาณ 37,024 พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นศรัทธาพุทธเจ้า อายุไขย 40,000 พรรษา [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 40 ศอก หรือ 20 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 10 เดือน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปไกล 10 โยชน์ (160 กิโลเมตร) [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วขาว หน้าตักกว้าง 20 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]2. พระโกนาคมพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 8 อสงไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีกประมาณ 37,024 พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นศรัทธาพุทธเจ้า อายุไขย 30,000 พรรษา [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 30 ศอก หรือ 15 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 1 เดือน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปไกล ตามแต่พระประสงค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วเหลือง หน้าตักกว้าง 15 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]3. พระกัสสปพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 8 อสงไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีกประมาณ 37,024 พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นศรัทธาพุทธเจ้า อายุไขย 20,000 พรรษา [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 20 ศอก หรือ 10 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปไกล ตามแต่พระประสงค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วน้ำเงิน หน้าตักกว้าง 10 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]4. พระศากยมุนีโคดมพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 4 องไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีก 24 พระองค์ ซึ่งน้อยมาก [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นปัญญาพุทธเจ้า อายุไขย 80 พรรษา [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 4 ศอก หรือ 2 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 6 ปี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปข้างละ 1 วา เป็นปกติ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วเขียว(เขียวมรกต) หน้าตักกว้าง 5 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]5. พระอริยเมตตรัยพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 16 อสงไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีกประมาณ 477,029 พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นวิริยะพุทธเจ้า อายุไขย 80,000 พรรษา [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 80 ศอก หรือ 40 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปไกล ยังกำหนดไม่ได้[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วแดง และทรงเครื่องบรมหาจักรพรรดิ หน้าตักกว้าง 20 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะมีพระแก้วประจำองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]และมีได้ตั้งแต่ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่และจะปรากฎชัดขึ้น[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ตามความเข้มข้นของบารมีที่สร้าง[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ยุคพระศรีก็จะมีพระแก้วแดงทำจากทับทิมแดง [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ปัจจุบันนี้ประดิษฐานเตรียมไว้แล้ว ณ ภูมิทิพย์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ซึ่งซ้อนอยู่กับ สถานที่แห่งหนึง[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]และพระแก้วแดงจะปรากฎออกมา เมื่อถึงยุคพระศรี[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วคู่บารมีของพระพุทธเจ้า องค์ปัจจุบันก็คือพระแก้วมรกต [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ส่วนพระแก้วคู่บารมีของพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นพุทธนิมิตอยู่ที่พระนิพพานคู่วิมานพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]วันหนึ่งหลวงปู่ดู่ได้เล่าถึงการปฏิบัติครั้งคุมสมาธิศิษย์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ยกใจความมาตอนหนึงว่า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]วันหนึ่งหลวงพ่อได้เล่าถึงการปฏิบัติ โดยท่านเป็นผู้บอกว่า “เมื่อไปถึงวิมานแก้วได้แล้ว เป็นวิมานแก้วของพระพุทธเจ้าก็เหมือนกุฏิของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ก็มีวิมานพระธรรม อยู่ไปทางขวามือของพระพุทธเจ้ามีตู้พระไตรปิฎกอยู่หลายตู้ เขียนเป็นภาษาบาลีอักษรขอม ถ้าอยากรู้แปลว่าอะไรให้ถามหลวงปู่ทวด ซ้ายมือเป็นวิมานของพระสงฆ์ มีพระสงฆ์อยู่พระพุทธเจ้าเป็นประธาน แกเดินจิตให้ดีจากวิมานแก้วจะไปถึงพระพุทธรูป 4 องค์ของกัปป์นี้ มีลักษณะหน้าตักกว้างไม่เท่ากันตามบารมี องค์แรกเป็นของพระกกุสันโธมีหน้าตักกว้าง 20 วา องค์ที่สองพระโกนาคม หน้าตัก 15 วา องค์ที่สาม ของพระกัสสปหน้าตัก 10 วา องค์ที่สี่ หน้าตัก 5 วา ถ้าเป็นพระศรีอริย์องค์ที่ห้า ยังไม่ปรากฎถ้าอธิษฐาน ขอดูจะพบว่ามีหน้าตักเท่ากับองค์แรก เพราะท่านสร้างบารมีมาถึง 16 อสงไขยกับแสนมหากัปป์"[/FONT]​


    [FONT=Verdana, sans-serif]........................................................[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ข้อความของคุณ Yenpatz[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]พระศากยมุนีโคดมพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 4 องไขยแสนกัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีก 24 พระองค์ ซึ่งน้อยมาก [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นปัญญาพุทธเจ้า อายุไขย 80 พรรษา [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสรีระสูง 4 ศอก หรือ 2 เมตร [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 6 ปี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธรังสีสร้านไปข้างละ 1 วา เป็นปกติ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระแก้วประจำองค์ พระแก้วเขียว(เขียวมรกต) หน้าตักกว้าง 5 วา[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ที่ว่าได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีก 24 พระองค์ ซึ่งน้อยมาก นี้คือ ท่านได้รับการพยากรรึป่าวครับ ท่านก็สร้างมาก่อนหน้านั้นแล้วไม่ใช่เหรอครับ เวลาตั้ง 4 อสงไขย ถือว่านานมากนะครับ ท่านน่าจะสร้างมาก่อนนั้นแล้วนะครับ[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]เป็นเพียงดุลพินิจครับ[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif].................................................................[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ข้อความของคุณ Wisdom[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]จำนวนดังกล่าวที่ว่ามานี้นับเฉพาะตั้งแต่ท่านได้รับพยากรณ์ครั้งแรก[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สมัยครั้งที่ท่านเสวยพระชาติเป็นสุเมธดาบส และได้รับพยากรณ์จาก[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระพุทธเจ้านามว่า พระทีปังกร แต่ก่อนหน้าที่ีท่านจะได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกนั้น ท่านก็ได้สร้างบารมีมาก่อนหน้านั้นเป็นเวลาอันยาวนาน[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]พระพุทธเจ้าที่ล่วงมาแล้วหลายพระองค์ มีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน อุปมาว่าจำนวนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ล่วงไปแล้วมีจำนวนมากกว่าเม็ด ทรายในมหาสมุทรทั้งสี่ พระพุทธเจ้าทรงแนะว่าไม่ควรคิดถึงเรื่องของพระพุทธเจ้า เพราะเป็นอจินไตย (แปลว่า เป็นเรื่องที่มนุษย์ปุถุชนอย่างเราไม่ควรคิดเพราะเป็นเรื่องที่ลึกลำเหนือ จินตนาการของมนุษย์) [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้สร้างบารมีทั้ง ๓๐ ทัศ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]จนครบถ้วนบริบูรณ์ ใช้เวลาถึง ๒๐ อสงไขย กับอีกแสนมหากัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สมัยหนึ่ง พระอานนท์ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาค ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความปรารถนาที่จะเป็น พระพุทธเจ้า ทั้งหลายควรใช้เวลานานเท่าไร พระพุทธองค์ตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ความปรารถนา เป็นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย โดยการกำหนดอย่างต่ำที่สุด ๒๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป กำหนด ปานกลาง ๔๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป กำหนดอย่างสูง ๘๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป ทั้ง ๓ ประเภทนั้น คือ พระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะ สัทธาธิกะ และวิริยาธิกะ "[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]อาจมีผู้สงสัยว่า ทำไมต้องกำหนดเวลานานอย่างนั้นด้วย ถ้าเร่งสร้างบารมีอย่างเต็มที่ เพียงไม่กี่ล้านชาติ ก็น่าจะสามารถตรัสรู้ธรรมได้ เหมือนกับถ้าขยันเรียนหรือขยันทำงาน ก็สามารถประสบความสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว แต่อันที่จริงการจะเป็น พระพุทธเจ้าไม่ใช่ง่ายอย่างที่คิด พระพุทธองค์ตรัสว่า แม้บุคคลจะถวายมหาทาน เหมือนกับมหาทาน ของพระเวสสันดรทุกๆ วันก็ดี สั่งสมบารมีธรรม มีศีล เป็นต้น เพื่อมุ่งสัพพัญญุตญาณก็ดี หากยังไม่ถึง ๒๐ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัปแล้ว ยังไม่อาจเป็นพระพุทธเจ้าได้ เพราะญาณยังไม่แก่รอบ ยังไม่ถึงความไพบูลย์ เปรียบเหมือนข้าวกล้าจะออกรวงได้ ต้องใช้เวลา ๔ หรือ ๕ เดือน แม้จะขยันรดน้ำวันละ ๑๐๐,๐๐๐ ครั้ง ทุกๆ วัน ก็ยังไม่อาจออกรวงภายใน ๑ เดือน ฉันใด ทุกสิ่งทุกอย่างก็ต้องค่อยเป็นค่อยไปตามกาลเวลาที่เหมาะสม ฉันนั้น[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ระยะเวลากว่าจะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]จากตัวอย่างของพระโคดมพุทธเจ้า นับแต่เริ่มสร้างบารมี โดยได้พบและอธิษฐานในใจต่อเบื้อง พระพักตร์ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก จนกระทั่งได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีระยะเวลาอันยาวนานและ ได้พบพระพุทธเจ้า เป็นจำนวนมากมายดังต่อไปนี้[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ช่วงคิดในใจ ๗ อสงไขย พบพระพุทธเจ้า ๑๒๕,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]๑. นันทอสงไขย พบ ๕,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๒. สุนันทอสงไขย พบ ๙,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๓. ปฐวีอสงไขย พบ ๑๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๔. มัณทอสงไขย พบ ๑๑,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๕. ธรณีอสงไขย พบ ๒๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๖. สาครอสงไขย พบ ๓๐,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๗. ปุณฑริกอสงไขย พบ ๔๐,๐๐๐ พระองค์[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ช่วงเปล่งวาจา ๙ อสงไขย พบพระพุทธเจ้า ๓๘๗,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]๘. สัพพถัททอสงไขย พบ ๕๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๙. สัพพผุลลอสงไขย พบ ๖๐,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๐. สัพพรตนอสงไขย พบ ๗๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๑. อสุภขันธอสงไขย พบ ๘๐,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๒. มานีภัททอสงไขย พบ ๙๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๓. ปทุมอสงไขย พบ ๒๐,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๔. อุสภอสงไขย พบ ๑๐,๐๐๐ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๕. ขันธคมอสงไขย พบ ๕,๐๐๐ พระองค์[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๑๖. สัพพผาลอสงไขย พบ ๒,๐๐๐ พระองค์[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ช่วงได้รับพุทธพยากรณ์ ๔ อสงไขย แสน มหากัป พบพระพุทธเจ้า ๒๗ พระองค์ มีพระนามดังต่อไปนี้[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขยที่ ๑๗ เป็นสารมัณฑกัป พบ ๔ พระองค์ ได้แก่ พระตัณหังกรพุทธเจ้า พระเมธังกร พุทธเจ้า พระสรณังกรพุทธเจ้า พระทีปังกรพุทธเจ้า (ได้รับพุทธพยากรณ์เป็นนิยตโพธิสัตว์)[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขยที่ ๑๘ เป็นสารกัป พบ ๑ พระองค์ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]คือ พระโกณฑัญญพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขยที่ ๑๙ เป็นสารมัณฑกัป พบ ๔ พระองค์ ซึ่งได้แก่ พระสุมังคลพุทธเจ้า พระสุมนพุทธเจ้า พระเรวตพุทธเจ้า พระโสภิตพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขยที่ ๒๐ เป็นวรกัป พบ ๓ พระองค์ ได้แก่ พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า พระปทุมพุทธเจ้า พระนารท- พุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ช่วงเศษแสนกัปของอสงไขยที่ ๒๐[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สารกัป พบ ๑ พระองค์ คือ พระปทุมุตร- พุทธเจ้า (พระสาวกส่วนใหญ่เริ่มได้รับพุทธพยากรณ์)[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๓๐,๐๐๐ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]มัณฑกัป พบ ๒ พระองค์ คือ พระสุเมธ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พุทธเจ้าและพระสุชาตพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๖๐,๐๐๐ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]วรกัป พบ ๓ พระองค์ คือ พระปิยทัสสีพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า พระธรรมทัสสีพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๒๔ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สารกัป พบ ๑ พระองค์ คือ พระสิทธัตถพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๑ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]มัณฑกัป พบ ๒ พระองค์ คือ พระติสสพุทธเจ้า พระปุสสพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สารกัป พบ ๑ พระองค์ คือ พระวิปัสสีพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๖๐ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]มัณฑกัป พบ ๒ พระองค์ คือ พระสิขีพุทธเจ้า พระเวสสภูพุทธเจ้า[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]สุญญกัป ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้าไป ๓๐ กัป[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ภัทรกัป มีพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ คือ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]๑. พระกกุสันธพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๒. พระโกนาคมนพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๓. พระกัสสปพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๔. พระสมณโคดมพุทธเจ้า [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]๕. พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้า [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]จะเห็นได้ว่าหลังจากได้รับพุทธพยากรณ์จากพระทีปังกรพุทธเจ้าเป็นตนมา พระบรมโพธิสัตว์ ไดพบพระพุทธเจ้าถึง ๒๓ พระองค์ กว่าจะได้มาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในภัทรกัปนี้ [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]ยอดนักสร้างบารมีทั้งหลาย...การสร้างบารมีชนิดเอาชีวิตเป็นเดิมพันของพระบรมโพธิสัตว์เพื่อ การได้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณนั้น ต้องใช้เวลายาว นานเหลือเกิน แต่ก็ไม่เกินใจที่ท่านจะไปถึง และท่าน ก็ทำได้สำเร็จอีกด้วย ยิ่งถ้าหากเราได้ศึกษาวีรกรรม แห่งความดีระหว่างการสร้างบารมีของพระองค์จะยิ่งซาบซึ้งหนักขึ้นไปอีก เพียงเท่านี้ ก็นับเป็นบุคคล มหัศจรรย์ที่สุดในโลกแล้ว ดังนั้น วันวิสาขบูชาจึง สมควรแล้วที่องค์การสหประชาชาติจัดให้เป็น วันสำคัญสากลโลก ชาวพุทธทุกคนจึงควรจะเจริญพุทธานุสติ รำลึกนึกถึงพระพุทธคุณอันไม่มีประมาณ ทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ พระกรุณาธิคุณ แล้วหาโอกาสแสดงออกถึงความศรัทธาเลื่อมใสในพุทธคุณทั้งอามิสบูชาและปฏิบัติบูชา เข้าวัด ฟังธรรม ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติตนให้สมกับเป็นพุทธมามกะ อานิสงส์นี้จะได้หนุนส่งให้ทานทั้งหลายได้เกิดใน บวรพุทธศาสนาไปทุก ภพทุกชาติ ตราบวันถึงที่สุดแห่งธรรม...[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เอกบุรุษเมื่ออุบัติขึ้นในโลก ย่อมอุบัติขึ้นเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนหมู่มาก เพื่อความอนุเคราะห์ ชาวโลก เพื่อประโยชน์สุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เอกบุรุษคือใคร คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า"[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขย คือ การบอกจำนวนหรือปริมาณทั่วๆ ไปที่ไม่ได้เจาะจงว่าจะเป็นหน่วยของอะไร, เช่น หากใช้ระบุปริมาณเมล็ดถั่ว ก็ใช้ว่า มีถั่วเป็นจำนวน 1 อสงไขยเมล็ด เป็นต้น. แต่ในพระพุทธศาสนามักจะใช้กล่าวถึง ระยะเวลาที่พระโพธิสัตว์สร้างสมบารมีมาเพื่อเป็นพระพุทธเจ้า โดยนับหน่วยเวลาเป็นอสงไขยกัป. อสงไขยเป็นปริมาณหรือจำนวนที่มีการกำหนดที่นับประมาณมิได้ ซึ่งมีอุปมาเปรียบเทียบเอาไว้ว่า ฝนตกใหญ่อย่างมโหฬารทั้งวันทั้งคืน เป็นเวลานานถึง 3 ปี ไม่ได้ขาดสายเลย จนกระทั่งน้ำฝนท่วมเต็มขอบจักรวาล ซึ่งมีระดับความสูง 84,000 โยชน์ หากว่ามีใครสามารถนับเม็ดฝนที่ตกลงมาตลอดทั้ง 3 ปีได้ นับได้เท่าไร นั่นคือจำนวนเม็ดฝน 1 อสงไขย.[/FONT]

    [FONT=Verdana, sans-serif]อนึ่ง คำว่า อสงไขย นั้น มาจากภาษาบาลี ว่า อ + สงฺเขยฺย (สันสกฤต : อ + สํขฺย) หมายถึง นับไม่ได้ หรือนับไม่ถ้วน นั่นเอง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542ระบุจำนวน ของอสงไขย ไว้ว่า เท่ากับ โกฏิ ยกกำลัง 20[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]การคำนวณความยาวนาน[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สมมุติมีกล่องใบหนึ่ง กว้าง 100 โยชน์ ยาว 100โยชน์ และ สูง 100 โยชน์ ในเวลา 100 ปี ให้เอาเมล็ดผักกาด 1 เมล็ด ใส่ลงไปในกล่องนั้น ทำอย่างนี้จนเมล็ดผักกาดนั้นเต็มเสมอเรียบปากกล่อง นั้นละจึงเท่ากับ 1 กัป [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif](บางตำรากล่าวว่า กว้าง 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์ สูง 1 โยชน์) วิเคราะห์คำนวณ 1 โยชน์ = 16 กิโลเมตร ดังนั้นกล่องใบนี้มีปริมาตร = 1600X1600X1600 = 4,096,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ประมานว่า เมล็ดผักกาด มีขนาด .5 มิลลิเมตร 1 กิโลเมตรเทียบเป็นมิลลิเมตรได้ดังนี้ 10X100X1000 = 1,000,000 มิลลิเมตรจะได้ 1 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1,000,000)/0.5 = 2,000,000 เมล็ด [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ดังนั้น 1600 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1600X2,000,000 = 3,200,000,000) เมล็ด ถ้าเป็นปริมาตร คือ (กว้าง x ยาว x สูง) ต้องใช้เมล็ดผักกาดทั้งหมด คือ (3,200,000,000X3,200,000,000X3,200,000,000 = 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000 เมล็ด) [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ใน 100 ปี ใส่เมล็ดผักเพียง 1 เมล็ด ดังนั้นต้องใช้เวลาทั้งหมดคือ 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000X100 =3,276,800,000,000,000,000,000,000,000,000 ปี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]จึงได้เวลา 1 กัป ประมาณ สามล้านสองแสนเจ็ดหมื่นหกพันแปดร้อยล้านล้านล้านล้าน ปีประมาณ 3.3 X 10 ยกกำลัง 30 ปี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]1 อสงไขยมีกี่ปีนั้นเป็นจำนวนที่แน่นอน คือ 1 ตามด้วยเลข 0 จำนวน 140 ตัว หรือ 1 X 10 ยกกำลัง140 ปี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]วิธีนับอสงไขย[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]การนับอสงไขยให้เทียบเอาดังนี้[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สิบ สิบหน เป็น หนึ่งร้อย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สิบร้อย เป็น หนึ่งพัน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สิบพัน เป็นหนึ่งหมื่น [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สิบหมื่น เป็น หนึ่งแสน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสน เป็นหนึ่งโกฏิ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนโกฏิ เป็น หนี่งปโกฏิ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนปโกฏิ เป็น หนึ่งโกฏิปโกฏิ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนโกฏิปโกฏิ เป็น หนึ่งนหุต [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนนหุต เป็น หนึ่งนินนหุต [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนนินนหุต เป็น หนึ่งอักโขเภนี [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอักโขเภนี เป็น หนึ่งพินทุ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนพินทุ เป็น หนึ่งอพุทะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอพุทะ เป็น หนึ่งนิระพุทะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนนิระพุทะ เป็น หนึ่งอหหะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอหหะ เป็น หนึ่งอพพะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอพพะ เป็น หนึ่งอฏฏะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอฏฏะ เป็น หนึ่งโสคันธิกะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนโสคันธิกะ เป็น หนึ่งอุปละ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอุปละ เป็น หนึ่งกมุทะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนกมุทะ เป็น ปทุมะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนปทุมะ เป็น หนึ่งปุณฑริกะ [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนปุณฑริกะ เป็นหนึ่งอกถาน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนอกถาน เป็น หนึ่งมหากถาน [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ร้อยแสนมหากถาน เป็น หนึ่งอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]จำนวนอสงไขย[/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อสงไขย มี 7 อสงไขย คือ[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]นันทอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สุนันทอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ปฐวีอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]มัณฑอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]ธรณีอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]สาครอสงไขย [/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]บุณฑริกอสงไขย [/FONT]​

    [FONT=Verdana, sans-serif]อ้างอิง[/FONT]
    [FONT=Verdana, sans-serif]พระคัมภรีอนาคตวงศ์[/FONT]




    <HR style="BACKGROUND-COLOR: white; COLOR: white" SIZE=1>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กุมภาพันธ์ 2012
  14. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    [​IMG]
    เป็นศิลปเชียงแสน แกะด้วยแก้วใสสีม่วง ฐานก็สีทอง ตัดกันงดงามดีหลาย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2013
  15. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    เรียนญาติธรรมที่ศรัทธาองค์ห์หลวงปู่ทวด,องค์หลวงปู่โตและคณะหลวงปู่ใหญ่
    [​IMG]
    [​IMG]
    พระพิมพ์ชุดนี้ หากพลาดโอกาสทำบุญร่วมสร้างวัดก็นับว่าน่าเสียดายหลายแต๊
    ขอโมทนาสาธุครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2013
  16. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    จาก link ของท่านนต์ที่ post ไว้ข้างบน...
    พุทธวิสัย ยากแท้ที่สาวกภูมิจักรู้ได้ แม่นบ่?
    พระพุทธองค์ในอดีต:ท่านทรงดับขันธ์สู่ปรินิพพานนานแล้ว...แต่พระองค์ถัดไปคือ
    *****************************************
    5. พระศรีอริยเมตตรัยพุทธเจ้า
    หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้า
    เมื่อสมัยเป็นพระโพธิสัตว์หลังจากนั้น 16 อสงไขยแสนกัป
    ได้สร้างบารมีกับพระพุทธเจ้าอีกประมาณ 477,029 พระองค์
    เป็นวิริยะพุทธเจ้า อายุไขย 80,000 พรรษา
    พระสรีระสูง 80 ศอก หรือ 40 เมตร
    บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน
    พุทธรังสีสร้านไปไกล ยังกำหนดไม่ได้
    พระแก้วประจำองค์ พระแก้วแดง และทรงเครื่องบรมหาจักรพรรดิ
    หน้าตักกว้าง 20 วา
    *****************************************
    พระพุทธเจ้าที่ล่วงมาแล้วหลายพระองค์ มีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน อุปมาว่าจำนวนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ล่วงไปแล้วมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในมหาสมุทรทั้งสี่ พระพุทธเจ้าทรงแนะว่าไม่ควรคิดถึงเรื่องของพระพุทธเจ้า เพราะเป็นอจินไตย (แปลว่า เป็นเรื่องที่มนุษย์ปุถุชนอย่างเราไม่ควรคิดเพราะเป็นเรื่องที่ลึกลำเหนือ จินตนาการของมนุษย์)

    พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้สร้างบารมีทั้ง ๓๐ ทัศ จนครบถ้วนบริบูรณ์ ใช้เวลาถึง ๒๐ อสงไขย กับอีกแสนมหากัป

    สมัยหนึ่ง พระอานนท์ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาค ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความปรารถนาที่จะเป็น พระพุทธเจ้า ทั้งหลายควรใช้เวลานานเท่าไร พระพุทธองค์ตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ความปรารถนา เป็นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย โดยการกำหนดอย่างต่ำที่สุด ๒๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป กำหนด ปานกลาง ๔๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป กำหนดอย่างสูง ๘๐ อสงไขย กับ ๑๐๐,๐๐๐ กัป ทั้ง ๓ ประเภทนั้น คือ พระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะ สัทธาธิกะ และวิริยาธิกะ "
    อาจมีผู้สงสัยว่า ทำไมต้องกำหนดเวลานานอย่างนั้นด้วย ถ้าเร่งสร้างบารมีอย่างเต็มที่ เพียงไม่กี่ล้านชาติ ก็น่าจะสามารถตรัสรู้ธรรมได้ เหมือนกับถ้าขยันเรียนหรือขยันทำงาน ก็สามารถประสบความสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว แต่อันที่จริงการจะเป็น พระพุทธเจ้าไม่ใช่ง่ายอย่างที่คิด

    พระพุทธองค์ตรัสว่า แม้บุคคลจะถวายมหาทาน เหมือนกับมหาทาน ของพระเวสสันดรทุกๆ วันก็ดี สั่งสมบารมีธรรม มีศีล เป็นต้น เพื่อมุ่งสัพพัญญุตญาณก็ดี หากยังไม่ถึง ๒๐ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัปแล้ว ยังไม่อาจเป็นพระพุทธเจ้าได้ เพราะญาณยังไม่แก่รอบ ยังไม่ถึงความไพบูลย์ เปรียบเหมือนข้าวกล้าจะออกรวงได้ ต้องใช้เวลา ๔ หรือ ๕ เดือน แม้จะขยันรดน้ำวันละ ๑๐๐,๐๐๐ ครั้ง ทุกๆ วัน ก็ยังไม่อาจออกรวงภายใน ๑ เดือน ฉันใด ทุกสิ่งทุกอย่างก็ต้องค่อยเป็นค่อยไปตามกาลเวลาที่เหมาะสม ฉันนั้น

    ยอดนักสร้างบารมีทั้งหลาย...การสร้างบารมีชนิดเอาชีวิตเป็นเดิมพันของพระบรมโพธิสัตว์เพื่อการได้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณนั้น ต้องใช้เวลายาวนานเหลือเกิน แต่ก็ไม่เกินใจที่ท่านจะไปถึง และท่านก็ทำได้สำเร็จอีกด้วย ยิ่งถ้าหากเราได้ศึกษาวีรกรรม แห่งความดีระหว่างการสร้างบารมีของพระองค์จะยิ่งซาบซึ้งหนักขึ้นไปอีก เพียงเท่านี้ ก็นับเป็นบุคคล มหัศจรรย์ที่สุดในโลกแล้ว

    ดังนั้นวันวิสาขบูชาจึงสมควรแล้วที่องค์การสหประชาชาติจัดให้เป็น วันสำคัญสากลโลก ชาวพุทธทุกคนจึงควรจะเจริญพุทธานุสติ รำลึกนึกถึงพระพุทธคุณอันไม่มีประมาณ ทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ พระกรุณาธิคุณ แล้วหาโอกาสแสดงออกถึงความศรัทธาเลื่อมใสในพุทธคุณทั้งอามิสบูชาและปฏิบัติบูชา เข้าวัด ฟังธรรม ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติตนให้สมกับเป็นพุทธมามกะ อานิสงส์นี้จะได้หนุนส่งให้ทานทั้งหลายได้เกิดใน บวรพุทธศาสนาไปทุก ภพทุกชาติ ตราบวันถึงที่สุดแห่งธรรม...

    "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เอกบุรุษเมื่ออุบัติขึ้นในโลก ย่อมอุบัติขึ้นเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนหมู่มาก เพื่อความอนุเคราะห์ ชาวโลก เพื่อประโยชน์สุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เอกบุรุษคือใคร คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า"<!-- google_ad_section_end -->
    *****************************************
    - จากญาณหยั่งรู้แห่งองค์หลวงปู่...รูปหนึ่ง เป็น 1 ใน 10 พระนิยตโพธิสัตว์เจ้าที่จักเสด็จลงมาอุบัติในกาลข้างหน้า
    (ครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่น...ให้การรับรอง) ท่านบอกว่า
    "องค์พระศรีฯจักลงมาเกิดอีก 30,000 ชาติ จึงจักถึงกาลอุบัติแห่งพระองค์ท่าน"
    - ไม่นานเลยนะครับ หากเทียบกับการสร้างสมพระบารมีกับพระพุทธเจ้าที่มีมาถึง 477,029 พระองค์!
    - 477,029 พระองค์ (หากคิดเป็นภพชาติหรือปี จักต้องเติมศูนย์อีกไม่รู้เท่าไหร่)
    ปล:
    - ญาณหยั่งรู้ของผู้ที่จักมาเป็นพระพุทธเจ้า ย่อมแจ่มแจ้ง ชัดเจน กว้างขวางในพุทธวิสัยมากว่าพระอรหันต์
    - หากท่านไม่เชื่อก็โปรดวางเฉย เพราะเป็นเรื่องเกินตัวของปุถุชน
    *****************************************
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2013
  17. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    วันนี้ผมจะออกไปรับพระหลวงปู่ทวดที่ท่านพิเชฐส่งมาให้ แล้วจะนำออกมาให้ผู้ศรัทธาได้ร่วมทำบุญเพื่อสร้างวัดภูดานไหต่อไป ขออนุโมทนาครับ
     
  18. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    ขอแสดงความยินดีกับท่านอ๊อดและคณะ ผมได้บอกคุณปูแล้วว่า ผมอาจไม่ได้ไปกับคณะของท่าน ก็ขออนุโมทนาบุญกับทุกท่าน ทุกประการครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    27 กพ. 2555
     
  19. ckj_tong

    ckj_tong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    483
    ค่าพลัง:
    +869


    ช่วงหลังๆไม่รู้เป็นอะไร

    ผมและครอบครัว ได้รับการเสด็จมาของหลวงปู่ทวด อยู่เรื่อย ๆ

    แฟนเองก็ได้รับการเสด็จมาของหลวงปู่ทวด (จากลูกค้าคนเดียว) ในวาระใกล้เคียงกัน

    ถึง 3 องค์ ก่อนหน้านั้นได้รับการเสด็จมาของลูกปู่ทวดจากลูกค้า 1 องค์



    เช้านี้ อากาศแจ่มใสและเป็นนิมิตหมายที่ดี

    ผมขออัญเชิญหลวงปู่ทวดองค์ข้างบนนี้ เพื่อมาไว้บูชาอีก 1 องค์นะครับ

    ช่วงบ่ายๆ ผมจะได้โอนเงินเข้าบัญชีของท่านอาจารย์ ดร.นนต์เพื่อร่วมทำบุญสร้างวัดนะครับ

    บุญกุศลในครั้งนี้ ผมขอถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา

    และด้วยอานิสงส์การสร้างวัดในครั้งนี้ขอให้พ่อแม่ ผู้ให้กำเนิด

    รวมถึงตัวผมและภรรยา จงประสบแต่ความสุขความเจริญ


    และนับแต่ชาตินี้และชาิติต่อๆไป ขอลูกช้างพบแต่สว่างไสวทั้งทางโลกและทางธรรมจนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพานด้วยเทอญ

    สาธุ สาธุ สาธุ
     
  20. ckj_tong

    ckj_tong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    483
    ค่าพลัง:
    +869

    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...