เชิญร่วมอนุรักษ์พระกรุครับ

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย Amuletism, 10 พฤศจิกายน 2011.

  1. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    แค่เข้ามาเยี่ยมชมก็ถือเป็นเกียรติแล้วครับกระทู้นี้ที่ตั้งขึ้นก็เพราะต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ข้อมูลและภาพพระที่สะสม ไม่เกี่ยงว่าจะเป็นพระหลักยอดนิยมหรือไม่อยากให้ทุกคนที่สะสมพระกรุพระเก่าโพสต์เพื่อให้ผู้ที่สนใจจะได้ศึกษาหาข้อมูลต่อไป ไม่อยากให้พระเก่าที่มีคุณค่ายิ่งต้องสูญหายไปจากความทรงจำของนักสะสม เพียงเพราะหายาก หรือ ไม่ได้รับความนิยมผมก็ได้ความรู้เยอะจากเพื่อนๆ หลายคน ที่กรุณาเข้ามาโพสต์ครับ
     
  2. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    วันนี้ห้องนี้เงียบครับ สงสัยรอแชร์ชุดใหญ่กัน :cool:
     
  3. aoodwing4

    aoodwing4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +282
    ส่งรูปใหม่ อีกรอบ

    จัดใหม่อีกรอบ เรตติ้งเว็ปดี การจราจรเลยติดขัด รบกวนเพื่อนสมาชิกด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • eee.JPG
      eee.JPG
      ขนาดไฟล์:
      108.3 KB
      เปิดดู:
      1,271
    • DSC04050.jpg
      DSC04050.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.3 MB
      เปิดดู:
      223
    • DSC04053.jpg
      DSC04053.jpg
      ขนาดไฟล์:
      178.2 KB
      เปิดดู:
      199
    • DSC04073.JPG
      DSC04073.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      326
    • DSC04074.JPG
      DSC04074.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      218
    • DSC04070.JPG
      DSC04070.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      167
    • DSC04075.jpg
      DSC04075.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      246
    • DSC04065.jpg
      DSC04065.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.3 MB
      เปิดดู:
      213
    • DSC04066.jpg
      DSC04066.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      172
    • DSC04067.JPG
      DSC04067.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      411
    • DSC04063.JPG
      DSC04063.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      126
  4. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    โดยปกติพระกรุน้ำ (กรุตาปาน)
    จะเป็นพระเสียผิว ซึ่งเป็นอีกลักษณะหนึ่ง
    เพื่อนนักสะสมของผมคนนึงมีพิมพ์อกนูนเล็กกรุน้ำ
    ซึ่งเคยประกวดได้ที่หนึ่งพันธ์ทิพย์
    จะเห็นเม็ดแร่ลอยชัดเจนกว่านี้มากครับ
    ไม่แน่ใจว่าผู้รู้ท่านอื่นๆ เห็นว่าอย่างไรครับ
     
  5. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    สมเด็จเกศไชโยครับ

    พระสมเด็จวัดเกศไชโย เป็น 1 ใน 3 ตระกูลพระสมเด็จที่เชื่อกันว่าสร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี ) โดยได้บรรจุไว้ในองค์พระมหาพุทธพิมพ์ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารวัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง ในราวปีพ.ศ. ๒๔๐๖-๔๐๗ ซึ่งเป็นพระสมเด็จที่มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร นั่นคือจะต้องมีลักษณะของ อกร่อง หูบายศรี มีขอบกระจก เกือบทุกพิมพ์ทรง ( เชื่อกันว่าเป็นปางบำเพ็ญทุกขกิริยา) วงการพระเครื่องในปัจจุบันให้ความนิยมเป็นอย่างสูงและจัดรวมพระสมเด็จวัดเกศไชโยให้อยู่ในชุด เบญจภาคี เช่นเดียวกับพระสมเด็จวัดระฆัง และพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
    <O:p</O:pสมเด็จวัดเกศไชโย แตกกรุครั้งแรก ประมาณ พ.ศ. ๒๔๑๐ ตอนที่องค์หลวงพระโตพังลงมาในขณะที่สมเด็จโตยังมีชีวิตอยู่ และครั้งที่สอง พ.ศ. ๒๔๒๙ ขณะที่เจ้าพระยารัตนบดินทร์บูรณะวัดและแรงสะเทือนทำให้องค์หลวงพระโตพังลงมาอีกครั้ง

    <O:p</O:pในช่วงแรกๆ มีผู้ตั้งข้อสงสัยจำนวนมาก ว่าจะใช่พระที่สมเด็จโตสร้างหรือไม่ เนื่องจากมีพิมพ์ที่ผิดไปจากวัดระฆัง และพระสมเด็จวัดบางขุนพรหมเป็นอันมาก ยิ่งไปกว่านั้นพระครูรอด เจ้าอาวาสวัดโพธิ์เกรียบ จังหวัดอ่างทองยังได้แจกพระลักษณะเดียวกับสมเด็จเกศไชโยให้แก่ชาวบ้านอีก ข้อสงสัยเหล่านั้นได้รับการตอบจากข้อมูลที่พยายามค้นหากันอย่างมากในวงการ จนท้ายที่สุดสมเด็จเกศไชโย จึงเป็นที่ยอมรับเป็นสากลนิยมว่าสร้างโดยสมเด็จโต
    <O:p๑. ท่านพระยาทิพย์โกษา (สอน โลหะนันท์) ได้บันทึกจากคำบอกเล่าของพระธรรมถาวร จันทโชติ ว่าเมื่อสมัยท่านเป็นสามเณรได้มีส่วนร่วมในการช่วยสร้างพระสมเด็จวัดระฆังและสมเด็จเกศไชโย ว่าสมเด็จโต ท่านได้สร้างสมเด็จเกศไชโยที่วัดระฆังแล้วนำไปบรรจุกรุที่วัดไชโย
    <O:p๒.ข้อมูลที่อ้างอิงจากเจ้าอาวาสองค์ต่อมาบอกว่าเจ้าอาวาสองค์เก่าไม่เคยสร้างพระ แต่ชอบสะสมพระเมื่อเดินทางไปที่ต่างๆ แล้วนำมาแจกชาวบ้าน และได้พระจำนวนนั้นมาจากวัดไชโยตอนแตกกรุ
    จากข้อมูลข้างต้น จึงทำให้เข้าใจได้ว่าสมเด็จวัดเกศไชโยจะเป็นสมเด็จในยุดต้น ที่เป็นพิมพ์ซึ่งชาวบ้านในละแวกนั้นแกะถวายสมเด็จ ซึ่งสุดแล้วแต่จินตนาการของผู้แกะ จึงทำให้มีพิมพ์แปลกๆมากมาย ต่อมาเมื่อหลวงวิจารณ์ฯ ได้แกะพิมพ์สมเด็จวัดระฆังที่เป็นฝีมือช่างหลวงถวาย พระชุดแรกที่เป็นพิมพ์ชาวบ้านที่จัดทำไว้ก่อนจึงถูกเก็บไว้เพื่อไปบรรจุกรุที่วัดไชโย
    <O:pยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำยืนยันจากชาวบ้านในแถบอ่างทองว่า ตอนที่สมเด็จวัดเกศฯ แตกกรุมีการพบสมเด็จวัดระฆังในกรุด้วย แต่มีปริมาณน้อยมาก และ ตอนที่เปิดกรุวัดบางขุนพรหมก็มีการพบสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ 7 ชั้นนิยม และพิมพ์ 6 ชั้น อกตลอด ถูกบรรจุเอาไว้เช่นเดียวกัน คล้ายๆ จะเป็นความต้องการให้อนุชนรุ่นหลังสามารถสืบหาความสัมพันธ์ของพระสมเด็จทั้งสามวัดได้
    <O:p
    ส่วนผสมในการสร้างในเนื้อพระ เชื่อกันว่าใช้สูตรเดียวกับสมเด็จวัดระฆังฯ และสมเด็จบางขุนพรหม ประกอบด้วยมวลสารหลักได้แก่ ปูนเปลือกหอย ผงวิเศษ ( ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณ ผงปถมัง ผงมหาราช และผงตรีนิสิงเห ) ข้าวสุก กล้วยป่า ดอกไม้แห้ง และน้ำมันตั้วอิ้ว และมวลสารอื่นๆ แต่บดละเอียดกว่า<O:p></O:p>
    สมเด็จวัดเกศไชโย ที่บางคนซึ่งมิได้ศึกษาประวัติไม่ทราบว่าเป็นพระกรุ เนื่องจากคราบกรุเป็นฝ้าขาวบางๆ เท่านั้น ต่างจากคราบกรุของสมเด็จบางขุนพรหม ทั้งนี้ เนื่องจากกรุของวัดไชโยเป็นกรุแห้งไม่จมน้ำ ในขณะที่กรุบางขุนพรหมน้ำอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน <O:p

    พระสมเด็จวัดเกศไชโยนี้ เป็นพระที่มีจำนวนพิมพ์มากที่สุดในกลุ่มพระสมเด็จ มีทั้งฐาน 3, 5, 6, 7 และ 9 ชั้น แต่พิมพ์ที่วงการสากลนิยมมี 3 พิมพ์ด้วยกันคือ พิมพ์ 7 ชั้นนิยม พิมพ์ 6 ชั้นอกตัน และพิมพ์ 6 ชั้น อกตลอด ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในชุดเบญจภาคี <O:pส่วนพิมพ์อื่นๆ (ที่เรียกว่านอกพิมพ์ หรือที่เมื่อก่อน เรียกกันว่า พิมพ์ตลก) แต่ปัจจุบันก็มีผู้เล่นหากันมากขึ้น เนื่องจากเนื้อหามวลสารเป็นแบบเดียวกัน ระดับราคาอยู่ที่แสนเศษถึงแสนต้น แต่ก็ต้องระวังมากเหมือนกัน เพราะพระปลอมมีจำนวนมาก ท่านที่จะสะสมขอให้ศึกษาพิมพ์พระจากหนังสือที่มีมาตรฐานให้ดีๆ ก่อน เช่น พระสมเด็จวัดไชโยและพระเครื่องเมืองอ่างทอง ของ อ้า สุพรรณ หรือ ตรรกพัทธ์พระวัดเกศ ของ ธีรยุทธ์ จงบุญญานุภาพ
    <O:p
    เนื้อพระสมเด็จวัดเกศไชโย อาจแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ เนื้อนุ่ม เนื้อนุ่มปานกลาง และเนื้อแกร่ง พระเนื้อนุ่มมีมวลสารและน้ำมันตั้งอิ้วผสมอยู่มาก เรียกว่า เนื้อจัด ส่วนใหญ่มีสีขาวขุ่นอมน้ำตาล ( ไม่ใช่คราบเปื้อนที่ผิว ) ส่วนพระเนื้อนุ่มปานกลาง มีส่วนผสมที่ได้สัดส่วนลงตัว ส่วนใหญ่สีขาวอมเหลือง และพระเนื้อแกร่ง เป็นพระเนื้อแก่ปูน ผิวแห้ง แกร่ง คล้ายเนื้อหินอ่อน มวลสารปรากฏให้เห็นในปริมาณน้อย

    ส่วนในด้านพุทธคุณนั้นเด่นทางด้านแคล้วคลาด โชคลาภ และเมตตามหานิยม เหมือนกับสมเด็จวัดระฆัง และบางขุนพรหม


    สมเด็จเกศไชโย พิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน องค์ที่นำมาให้ชมนี้
    เป็นพระสภาพสมบูรณ์ (ไม่อุดไม่ซ่อม) <O:p</O:p
    เนื้อขาวอมเหลือง (พระเนื้อนุ่มปานกลาง) เป็นเนื้อนิยมที่สุด<O:p</O:p
    ผมได้มาด้วยความยากลำบากทีเดียวครับ จริงๆ ก่อนหน้าองค์นี้ประมาณเดือนนึง เจอเจ็ดชั้นนิยม กับหกชั้นอกตลอด ราคาใกล้เคียงแต่คิดไม่ออก ว่าจะเช่ายังไง ดูเงินหลายรอบก็ไม่พอ แต่พอเจอองค์นี้ถูกใจ ก็เลยต้องออกพระที่สะสมไว้ชุดใหญ่ (ตลับพระเบาเลย) และเพิ่มเงินอีกเพียบเลย แต่ก็สุขใจนะครับ <O:p
    เรื่องความแท้ ก็แน่นอน ประกวดงานใหญ่ (พันธุ์ทิพย์) แล้วสองครั้ง ตอนส่งกรรมการรับพระขอซื้อด้วย (แอบภูมิใจ) แต่ได้แค่ที่ ๒ ทั้งสองครั้ง แม้ว่าเนื้อพระสวย คิดว่าเป็นที่ขอบพระด้านบนกับกรอบกระจกเหลือน้อยไปหน่อยครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 15 พฤศจิกายน 2015
  6. jaturong_tun

    jaturong_tun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    1,879
    ค่าพลัง:
    +2,473
    ลองโพสต์ใหม่ครับ เมื่อคืนโพสต์ไม่ได้เลย รบกวนด้วยนะครับ เคยผ่านตาไหมครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      149.5 KB
      เปิดดู:
      149
    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      149.7 KB
      เปิดดู:
      161
  7. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    นุ่มซึ้งตามากครับ องค์นี้
     
  8. aoodwing4

    aoodwing4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +282
    ขอบคุณ

    ขอบคุณพี่ Amuletism ที่ชี้แนะครับ พระองค์นี้ ผิดพิมพ์ครับ เนื้อออกแนวเหี่ยวย่น+แร่รอยเยอะ แต่ถ่ายรูปไม่ชัดครับ
     
  9. paraw

    paraw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,269
    ค่าพลัง:
    +868
    เอาใหม่ครับ รูปไม่ขึ้นมาหลายวัน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • COMBINATION.jpg
      COMBINATION.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1,015.8 KB
      เปิดดู:
      194
  10. nes315

    nes315 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    291
    ค่าพลัง:
    +81

    พอดีไปเจอรูปพระที่ใกล้เคียงกับองค์ของผมมาครับ ถ้าผมจะตีเข้ากรุบางกระทิงพิมพ์หลวงพ่อโตเนื้อชินตัดชิดพอจะเข้าเค้ามั้ยครับ ตามรูปครับพี่รอฟังความเห็นจากพี่ๆครับ ขออนุญาตยืมรูปจากใน web อื่นมาครับ ของผมองค์ล่างครับ มือซ้ายมีซ่อมมา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 376428-17423.JPG
      376428-17423.JPG
      ขนาดไฟล์:
      137.7 KB
      เปิดดู:
      192
    • 9361-1.jpg
      9361-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      42.4 KB
      เปิดดู:
      559
    • 0pic_18670_1.jpg
      0pic_18670_1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      54.9 KB
      เปิดดู:
      317
    • IMGP0684.jpg
      IMGP0684.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.5 MB
      เปิดดู:
      134
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 พฤศจิกายน 2011
  11. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    พระสวยดีครับ แต่ไม่ถนัดพระเนื้อชิน
    จึงอยากทราบว่าเป็นพระกรุไหน จังหวัดอะไรหรือครับ
     
  12. paraw

    paraw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,269
    ค่าพลัง:
    +868
    พระปางนาคปรก กรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิมพ์ใหญ่ฐาน 3 ชั้น ชินเงินผิวดำกลับอมเทา ศิลปลพบุรี ครับ ว่ากันว่า แคล้วคลาด คงกระพัน ปรกลพบุรียอดความงดงามนั้นกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ หามีใครเทียบ ได้ครับ
     
  13. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    มองจากภาพที่โพส ไม่ใช่เนื้อชินเงินนะครับ ลองดูใหม่ครับ
     
  14. paraw

    paraw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,269
    ค่าพลัง:
    +868
    เนื้ออะไรดีครับ เห็นบันทึก มีตะกั่ว ชิน ชินเงิน ท่านโอ๋สะพานคิดว่าเนื้ออะไร ครับ ผมเข้าใจว่าเป็น ชินเงินมาตั้งนาน จะได้ลองวิเคราะห์ใหม่ ขอบคุณครับ
     
  15. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    ชินตะกั่วสนิมแดงครับ เรียกสั้นๆว่าชินสนิมแดงครับ
    <a href="http://img839.imageshack.us/i/65396592.jpg/" target="_blank"><img src="http://img839.imageshack.us/img839/434/65396592.jpg" alt="Free Image Hosting at www.ImageShack.us" border="0"/></a>
     
  16. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    เนื้อหามวลสารและคราบกรุต่างจากกรุกำแพงเพชร
    พิมพ์ก็ไม่เหมือนซุ้มกอล้านนา
    ไม่ทราบที่ครับจริงๆครับ
     
  17. paraw

    paraw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,269
    ค่าพลัง:
    +868
    นี้หละความซับซ้อนของการดูพระ ขอบคุณท่านโอ๋สะพาน ครับ
    หลงเข้าใจมาตั้งนาน เดี๋ยว กลับบ้านจะลองส่องวิเคราะห์ใหม่ ครับ ผมก็ไม่ค่อยได้สัมผัส สนิมแดงเหมือนกัน ขอบคุณจริง จริงครับ
     
  18. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    ตามสบายครับเดินทางเดียวกัน
     
  19. jaturong_tun

    jaturong_tun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    1,879
    ค่าพลัง:
    +2,473
    ขอเพิ่มเติมพระนางพญา ซึ่งเป็นกรุเดียวกันครับ ต้องขอโทษท่านเจ้าของกระทู้ด้วยครับ ที่เรียนถาม (กลัวจะเป็นกระทู้ถามตอบ ซึ่งอาจผิดวัตถุประสงค์ของท่านเจ้าของกระทู้) มีบางท่านบอกว่า ศิลป์คล้ายอู่ทอง จริงหรือเปล่าครับ
    [​IMG]
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. DHAMMAPHOL

    DHAMMAPHOL เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,744
    ค่าพลัง:
    +2,105
    "พระผงสุพรรณพิมพ์หน้าแก่ กรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรีครับ"
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • จ.jpg
      จ.jpg
      ขนาดไฟล์:
      77.1 KB
      เปิดดู:
      140
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ธันวาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...