พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.resgat.net/modules.php?name=News&file=article&sid=31

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="94%">เมื่อคนไทยเริ่มทำแผนที่ </TD><TD vAlign=top width="6%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 height=5><HR align=left width="95%" SIZE=1></TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2 height=10>
    พ.อ.ศุภฤกษ์ ชัยชนะ</SPAN>
    วิวัฒนาการด้านการแผนที่ ที่ก้าวหน้าในประเทศไทยสมัยปัจจุบัน จะมีใครบ้างที่จะทราบว่า เริ่มต้นมาจากที่ไหน ใครเป็นผู้ทำคนแรก เรื่องนี้เหมือนปัญหาโลกแตก เพราะประเทศไทยเรามักจะไม่ค่อยมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ฉะนั้นถ้าจะถามว่า คนไทยเริ่มทำแผนที่ที่เป็นตามหลักวิชาการเมื่อไร? ใครตอบได้บ้างครับ

    หลักฐานแรกที่แสดงให้เห็นว่า เรามีการทำแผนที่แบบตามหลักวิชาการคือ แผนที่ลำน้ำน้อยตลอดทางที่ประพาสเป็นแผนที่ทำอย่างแบบฝรั่งว่าเป็นของ กรมพระราชวังบวรฯ ทรงทำขึ้น (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ซึ่งเป็นวังหน้าคนสุดท้าย ก่อนที่จะมีมงกุฎราชกุมาร ในสมัยรัชกาลที่ ๕) เรื่องนี้ผมนำมาจากข้อเขียนของ ส.พลายน้อยในหนังสือสารคดี ฉบับที่ ๑๙๖ ขอคัดลอกมาไว้ดังนี้ครับ
    คนไทยทำแผนที่แบบฝรั่ง(คัดลอกจากหนังสือสารคดี ฉบับที่ 196)
    ส.พลายน้อย
    การทำแผนที่ของไทยในสมัยโบราณเป็นการทำแบบหยาบๆ พอให้ทราบว่า ภูมิประเทศบริเวณนั้นมีอะไรบ้าง เช่น บ่อน้ำ ภูเขา ป่า แม่น้ำ และสำรวจระยะทางจากเมืองหนึ่งถึงอีกเมืองหนึ่งว่าห่างกันเท่าใด เพื่อประโยชน์ในการกำหนดระยะเวลาในการเดินทัพและส่งเสบียงถึงกัน ระยะทางสมัยก่อนก็ประมาณกันอย่างหยาบๆ เช่นระยะทางคนเดินหนึ่งวันหรือม้าวิ่งครึ่งวัน มีที่พักม้าเปลี่ยนม้าที่ไหนบ้าง
    แผนที่เก่าแบบโบราณที่มีอยู่ในปัจจุบันก็คือแผนที่นครศรีธรรมราชที่เขียนรูปวัดศาลารูปต้นไม้ไว้ด้วย คนดูแผนที่จะต้องหาทิศทางเอาเอง ในสมัยโบราณคนที่จะต้องรู้ทิศทางและภูมิประเทศก็คือพวกพราน ซึ่งมีหน้าที่เป็นมัคคุเทศน์ด้วย พวกพรานใช้ความสังเกตุความชำนาญที่จะต้องเดินป่าประจำก็ไม่ต้องใช้แผนที่ แต่พวกนายทัพนายกองต้องอาศัยแผนที่เพราะไม่รู้ภูมิประเทศ
    การทำแผนที่แบบฝรั่งที่ถูกต้องตามหลักวิชาการได้เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อตั้งกรมแผนที่*1ขึ้นเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2426(น่า จะเป็นวันที่ก่อตั้งโรงเรียนแผนที่ ไม่ใช่กรมแผนที่ ผู้คัดลอก) แต่กว่าจะใช้การได้ก็หลายปี พลเอก พระยาเทพหัสดิน(ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เจ้ากรมแผนที่คนที่ 3 (เป็นเจ้ากรมแผนที่คนไทยคนแรก)ได้เขียนเรื่องนี้ไว้ตอนหนึ่งว่า " ความรู้สึกของฝรั่งในกรมแผนที่สมัยนั้นมีอยู่ว่า คนไทยนั้นจะสอนให้ทำแผนที่ไม่ได้ ความจริงเหตุผลของเขาก็มี แต่ไม่ใช่ เพราะความไม่สามารถหรือความบกพร่องของคนไทย แต่เป็นการขาดการศึกษาทางวิชาคำนวณต่างหาก เพราะสมัยนั้นนอกจากโรงเรียนนายร้อยแล้ว ข้าพเจ้าก็ไม่ได้ทราบว่าได้มีการสอนวิชาตรีโกโนมิตร์ และวิชาเดสคริฟติฟยีออเมตรี (Descriptive Geometry)กันที่ไหน และเมื่อไม่ได้เรียนวิชาเหล่านั้นก็ไม่มีทางจะเรียนวิชาแผนที่ได้ นอกจากการใช้เข็มทิศเล็งไปโดยไม่รู้เหตุผลอะไร..... จากการสอบสวนงานของกรมแผนที่ปรากฎว่าแผนที่ภูมิประเทศที่ได้เริ่มทำขึ้นนั้นผิดหมด ผิดเพราะแสดงทรวดทรงด้วยเส้นขอบเนินไม่เป็น"
    ถ้าจะถามว่าคนไทยคนแรกที่ทำแผนที่แบบฝรั่งได้คือผู้ใด คำตอบที่ได้น่าจะเป็น กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญในรัชกาลที่ 5 นั้นเอง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงนิพนธ์ถึงเรื่องนี้ไว้ว่า " เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสถึงเมืองไทรโยคครั้งแรกเมื่อปีฉลู พ.ศ. 2420 สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ถวายแผนที่ลำน้ำน้อยตลอดทางที่ประพาสเป็นแผนที่ทำอย่างแบบฝรั่งว่าเป็นของ กรมพระราชวังบวรฯ ทรงทำขึ้น (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ*2) ดูเหมือนเข้าใจว่าสมัยนั้นว่าไม่มีผู้อื่นทำได้ ครั้นต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จัดเริ่มพนักแผนที่ขึ้นในกรมมหาดเล็ก ในสมัยเมื่อข้าพเจ้าเป็นผู้บังคับการ พอทำแผนที่พระนครสำเร็จ นำขึ้นทูลเกล้าฯถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสแก่ข้าพเจ้าว่า " เอาขึ้นไปอวดวังหน้าดูสักที" ข้าพเจ้าจึงนำแผนที่ขึ้นไปตามรับสั่ง กรมพระราชวังบวรฯ ได้ทอดพระเนตรก็โปรดตรัสแก่ข้าพเจ้าว่า "วิชานี้ดีนะจ๊ะ อุตสาห์ฝึกหัดต่อไปเถิด"
    สรุปว่า กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญเป็นคนไทยคนแรกที่ทรงทำแผนที่แบบฝรั่ง เป็นแผนที่กรุงเทพมหานครตีพิมพ์ที่เมืองสิงคโปร์เมื่อ พ.ศ. 2414 และกรมแผนที่ซึ่งต่อมาเป็นกรมแผนที่ทหารบก(น่าจะเป็นกรมแผนที่ทหารมากกว่า ผู้คัดลอก)ได้ทำต่อมาจนถึงปัจจุบัน
    ----------------------------------------
    หลังจากนี้ ระบบการทำแผนที่ของประเทศไทย ก็ก้าวไปสู่ ยุคการทำแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ ซึ่งบุคคลที่ริเริ่มวิชาการด้านนี้คือ พล.ท.พระยาศัลวิธานนิเทศ ซึ่งถือได้ว่า เป็น บิดาแห่งวิชาการทำแผนที่แห่งภาพถ่ายทางอากาศของประเทศไทย
    ----------------------------------------
    *1 - หลังจากที่เสด็จประพาสรอบแหลมมลายู ชวา และอินเดีย ใน พ.ศ. 2416 แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงนำ นายเฮนรี่ อลาบาสเตอร์ ซึ่งเคยทำหน้าที่รองกงศุลอังกฤษในเมืองไทยมาก่อนนั้น กลับเข้ามารับราชการเป็นที่ปรึกษาส่วนพระองค์ด้วย
    นายเฮนรี่ อลาบาสเตอร์ ได้กราบบังคมถวายคำแนะนำในการทำนุบำรุงบ้านเมืองด้วยวิชาการสมัยใหม่หลายสาขา รวมทั้งวิชาการสำรวจและทำแผนที่ซึ่งทรงเห็นว่ามีประโยชน์มาก ดังนั้นจึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองทำแผนที่ทดลองขึ้นใน พ.ศ. 2418 มีนายเฮนรี่ อลาบาสเตอร์ นั้นเองเป็นหัวหน้า กัปตันลอฟตัสเป็นผู้ช่วย ร่วมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยอีก 4 นาย ได้แก่ ม.ร.ว. แดง เทวาธิราช นายทัด ศิริสัมพันธ์ นายสุด และ ม.ร.ว. เฉลิม เริ่มสำรวจทำแผนที่กรุงเทพฯ เพื่อตัดถนนเจริญกรุงและถนนอื่นๆ อีกหลายสาย ต่อจากนั้นก็ได้ทำแผนที่วางสายโทรเลขไปยังพระตะบอง (ม.ปาวี ได้ร่วมไปกับคณะนี้ด้วย) และแผนที่บริเวณปากอ่าวสยาม เพื่อประโยชน์ในการเดินเรือและเป็นแนวทางการป้องกันฝั่งทะเลเนื่องจากเกรงว่าอาจมีการรุกรานจากต่างประเทศ
    ครั้น พ.ศ. 2423 รัฐบาลอังกฤษ ได้ขออนุญาตรัฐบาลสยาม เพื่อให้กองทำแผนที่ กรมแผนที่แห่งอินเดีย ซึ่งมีกัปตัน เอช.ฮิล เป็นหัวหน้า และ นายเจมส์ เอฟ.แมคคาร์ธี เป็นผู้ช่วย เดินทางผ่านเข้ามาในประเทศสยาม เพื่อดำเนินการวางโครงข่ายสามเหลี่ยมต่อเนื่องจากประเทศอินเดีย ผ่านพม่า เข้าเขตประเทศสยามทางจังหวัดราชบุรี เพื่อเข้าบรรจบกับแผนที่ทางทะเลที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา ทั้งขอสร้างหมุดหลักฐานทางแผนที่ที่ภูเขาทอง และที่พระปฐมเจดีย์ เพื่อให้เป็นจุดตรวจสอบด้วย ครั้งนั้นข้าราชการไทยพากันหวั่นวิตกเป็นอันมาก เรื่องจากได้สังเกตุว่า ประเทศล่าอาณานิคมมักขอเข้าสำรวจก่อน แล้วจึงถือโอกาสเข้ายึกครองในภายหลัง
    อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพิจารณาดูโดยรอบคอบแล้ว จึงทรงโปรดเกล้าฯ อนุโลมตามคำแนะนำของ
    นายอลาบาสเตอร์ ที่ให้ยินยอมตามคำขอของรัฐบาลอังกฤษ ทั้งทรงเห็นชอบด้วยกับการที่จะเจรจาทาบทามตัวพนักงานทำแผนที่อังกฤษเข้ามารับราชการเพื่อเป็นการวางรากฐานการทำแผนที่ของไทยด้วย ผลที่สุด ปรากฏว่า นายเจมส์ เอฟ. แมคคาร์ธี ตกลงยินยอมเข้ารับราชการราชการสยาม นับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2424 โดยสังกัดฝ่ายพระกลาโหมซึ่งมีหน้าที่บัญชาการหัวเมืองและทหารฝ่ายใต้ในขณะนั้น(ตั้งแต่มณฑลกรุงเทพฯลงไปคู่มหาดไทย ซึ่งดูแลควบคุมบัญชาการทหารในมณฑลฝ่ายเหนือ) แต่ผู้บังคับบัญชาโดยตรงคือ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร(กรมพระยาดำรงราชานุภาพ) ผู้บัญชาการกรมทหารมหาดเล็ก
    เนื่องจากความจำเป็นที่จะต้องใช้แผนที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งกองทำแผนที่เพียงกองเดียวไม่สามารถรับภารกิจทั้งสิ้นได้ พระองค์เจ้าดิศวรกุมารจึงทรงได้รับพระราชโองการให้ตรัวเรียก นายแมคคาร์ธีมาปรึกษาและร่วมกันจัดตั้งโรงเรียนฝึกสอนชาวสยามให้ทำแผนที่ขึ้นในระยะปลายปีพ.ศ. 2425 โดยเกณฑ์เอานายทหารรักษาพระองค์ 30 นายเข้าเป็นนักเรียนรุ่นแรก นายแมคคาร์ธีเข้ารับหน้าที่เป็นครูใหญ่ มีนายเฮนรี่ นิโกเล เป็นครูรอง ทำการสอนภาคทฤษฏีที่ตึกแถวกองทหารมหาดเล็ก ข้างประตูพิมานไชยศรีในพระบรมมหาราชวัง และนำนักเรียกออกฝึกทำแผนที่ทั้งในกรุงเทพฯ และมณฑลอื่นๆ โรงเรียนแผนที่ดำเนินการมาราวสามปี ได้จำนวนผู้สำเร็จการศึกษามากพอที่จะจัดตั้งหน่วยราชการขึ้นได้ จึงได้มีพระราชโองการแยกเหล่านักสำรวจออกจากสังกัดกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ตั้งขึ้นเป็น กรมทำแผนที่ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2428 (ตรงกับวันพฤหัสบดี แรมเก้าค่ำ ปีระกา สัปตศก จ.ศ. 1247) นายแมคคาร์ธี ซึ่งภายหลังได้รับพระราชทานยศและบรรดาศักดิ์ เป็น ร้อยเอก พระภูวดล(รับพระราชทานสัญญาบัตร เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2428) นั้นได้รับตำแหน่งเป็นเจ้ากรม ขึ้นตรงต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีพระองค์เจ้าดิศวรกุมารเป็นผู้ดูแลอีกชั้นหนึ่ง
    คัดลอกมาจาก วารสารแผนที่ ฉบับที่ ๑ ปีที่ ๓๒ (กรกฏาคม- กันยายน ๒๕๓๒)
    ----------------------------------------
    *2-วังหน้า หรือ สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวร…(ต่อด้วยพระนาม) มีทั้งสิ้น 6 พระองค์
    ในร.1 คือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท ซึ่งในร.1 มีวังหน้า 2 พระองค์ อีกพระองค์ คือ ร.2 ซึ่งเป็นวังหน้าเพียงพระองค์เดียวที่ได้รับราชสมบัติ
    ในร.2 คือ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์
    ในร.3 คือ กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์
    ในร.4 คือ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งดำรงฐานันดรศักดิ์เหนือกรมพระราชวังบวรทุกพระองค์ แต่ถึงอย่างไรก็ไม่อาจเทียบกับพระมหากษัตริย์ได้ ยกตัวอย่างเช่น ศ.(พิเศษ) สูงกว่า รศ. แต่ก็ไม่ถึง ศ. นั่นแหละ
    ในร.5 คือ กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ เป็นวังหน้าพระองค์สุดท้าย
    สำหรับพระอัฐิและพระบวรอัฐิประดิษฐานไว้ที่หอพระนาก ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง
    จากนั้น ร.5 จึงสถาปนาตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารขึ้น คือ สมเด็จพระปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ต่อมาก็ทิวงคตตั้งแต่พระชนมายุยังน้อย ตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ต่อไป คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ ร.6 ในร.6 ก็ไม่มีตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร เพราะทรงมีพระราชธิดา คือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาสิริโสภาพรรณวดี ปัจจุบันประทับที่วังรื่นฤดี ในรัชกาลปัจจุบัน คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพวรางกูร สิริกิติยสมบูรณ์ สว่างควัฒน์ วรขัตติราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ์ สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. Baramee

    Baramee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +1,032
    [​IMG]

    ทดสอบ
     
  3. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,081
    คาถาจักรพรรดิ์

    นะโมพุทธายะ พระพุทธไตรรัตนญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะ ธา พุทธ โม นะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง
    สิวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิธาตุโย อะหังวันทามิ
    สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ


    ..........................................................
    โมทนาสาธุครับ


     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. Baramee

    Baramee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +1,032
    อยากใส่รูปบ้าง
    ใส่กันอย่างไรครับ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีของผมนะครับ

    ไปที่ เลือกตอบเต็มรูปแบบ ครับ

    เมื่อหน้าจอนี้เปิดขึ้น

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>ตอบกระทู้ </TD></TR><TR><TD class=panelsurround align=middle>
    <!-- user is logged in -->เข้าสู่ระบบในนาม sithiphong
    <!-- subject field --><TABLE class=fieldset cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=smallfont colSpan=3>ชื่อกระทู้:</TD></TR><TR><TD><INPUT class=bginput title=ไม่บังคับ tabIndex=1 maxLength=85 size=50 name=title></TD><TD> </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><!-- / subject field --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><!-- message area -->ข้อความ:
    <!-- EDITOR SCRIPTS --><SCRIPT src="clientscript/vbulletin_textedit.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript><!--var fontoptions = new Array("Arial", "Arial Black", "Arial Narrow", "Book Antiqua", "Century Gothic", "Comic Sans MS", "Courier New", "Fixedsys", "Franklin Gothic Medium", "Garamond", "Georgia", "Impact", "Lucida Console", "Lucida Sans Unicode", "Microsoft Sans Serif", "Palatino Linotype", "System", "Tahoma", "Times New Roman", "Trebuchet MS", "Verdana");var sizeoptions = new Array(1, 2, 3, 4, 5, 6, 7);var smilieoptions = new Array(); smilieoptions = { 'Standard Smilies' : { '33' : new Array('images/smilies/lightbulb.gif', '(i)', 'Light bulb'), '136' : new Array('images/smilies/b-one-eye.gif', '(b-oneeye)', ''), '22' : new Array('images/smilies/in-love.gif', '(f)', 'flower'), '119' : new Array('images/smilies/b-good.gif', '(verygood)', ''), '146' : new Array('images/smilies/b-flower.gif', '(bb-flower', ''), '7' : new Array('images/smilies/cool.gif', ':cool:', 'Cool'), 'more' : 'Show all Smilies'} };var istyles = new Array(); istyles = { "pi_button_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_hover" : [ "#C1D2EE", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_normal" : [ "#E1E1E2", "#000000", "1px", "none" ], "pi_button_selected" : [ "#F1F6F8", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_down" : [ "#98B5E2", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_hover" : [ "#C1D2EE", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_normal" : [ "#FFFFFF", "#000000", "0px", "1px solid #FFFFFF" ], "pi_popup_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ] };var smiliewindow_x = 240;var smiliewindow_y = 280;var ignorequotechars = 1;// vB Phrasesvbphrase["wysiwyg_please_wait"] = "Please wait for the WYSIWYG editor to finish loading...";vbphrase["wysiwyg_initialized"] = "WYSIWYG Editor initialized for %1$s in %2$s seconds.";vbphrase["wysiwyg_command_invalid"] = "This command is invalid or not implemented.";vbphrase["moz_must_select_text"] = "Mozilla requires that you must select some text for this function to work";vbphrase["moz_edit_config_file"] = "You need to edit your Mozilla config file to allow this action.";vbphrase["enter_tag_option"] = "Please enter the option for your %1$s tag:";vbphrase["must_select_text_to_use"] = "You must select some text to use this function.";vbphrase["browser_is_safari_no_wysiwyg"] = "The Safari browser does not support WYSIWYG mode.";vbphrase["enter_option_x_tag"] = "Enter the option for the [%1$s] tag:";vbphrase["enter_text_to_be_formatted"] = "Enter the text to be formatted";vbphrase["enter_link_text"] = "Enter the text to be displayed for the link (optional):";vbphrase["enter_list_type"] = "What type of list do you want? Enter '1' for a numbered list, enter 'a' for an alphabetical list, or leave blank for a list with bullet points:";vbphrase["enter_list_item"] = "Enter a list item.\r\nLeave the box empty or press 'Cancel' to complete the list:";vbphrase["must_enter_subject"] = "You must enter a title / subject!";vbphrase["message_too_short"] = "The message you have entered is too short. Please lengthen your message to at least %1$s characters.";vbphrase["enter_link_url"] = "Please enter the URL of your link:";vbphrase["enter_image_url"] = "Please enter the URL of your image:";vbphrase["enter_email_link"] = "Please enter the email address for the link:";vbphrase["complete_image_verification"] = "You did not complete the Image Verification";vbphrase["iespell_not_installed"] = "ieSpell is a spell-checking tool for Internet Explorer.\r\n\r\nIf you would like to download ieSpell, click OK; otherwise click Cancel.\r\n\r\nieSpell can be downloaded from http://www.iespell.com";vbphrase["click_quick_reply_icon"] = "";vbphrase["insert_all"] = "Insert All";//--></SCRIPT><!-- END EDITOR SCRIPTS --><!-- EDITOR STYLES --><LINK href="clientscript/vbulletin_editor.css" type=text/css rel=stylesheet><STYLE type=text/css><!--.vBulletin_editor { background: #E1E1E2; padding: 6px;}.imagebutton { background: #E1E1E2; color: #000000; padding: 1px; border: none;}.ocolor, .ofont, .osize, .osmilie, .osyscoloar, .smilietitle { background: #FFFFFF; color: #000000; border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_pickbutton { border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_feedback { background: #FFFFFF; color: #000000; border-right: 1px solid #FFFFFF;}.popupwindow { background: #FFFFFF;}#fontOut, #sizeOut, .popup_feedback div { background: #FFFFFF; color: #000000;}.alt_pickbutton { border-left: 1px solid #E1E1E2;}.popup_feedback input, .popup_feedback div{ border: 0px solid; padding: 0px 2px 0px 2px; cursor: default; font: 11px tahoma; overflow: hidden;}--></STYLE><!-- END EDITOR STYLES --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=controlbar id=vB_Editor_001_controls colSpan=2 unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Fonts
    Arial
    Arial Black
    Arial Narrow
    Book Antiqua
    Century Gothic
    Comic Sans MS
    Courier New
    Fixedsys
    Franklin Gothic Medium
    Garamond
    Georgia
    Impact
    Lucida Console
    Lucida Sans Unicode
    Microsoft Sans Serif
    Palatino Linotype
    System
    Tahoma
    Times New Roman
    Trebuchet MS
    Verdana
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Sizes
    1
    2
    3
    4
    5
    6
    7
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD id=vB_Editor_001_color_out unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><!-- <td>[​IMG]</td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> --><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" unselectable="on"> </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top><TD class=controlbar><TEXTAREA id=vB_Editor_001_textarea dir=ltr style="DISPLAY: none; WIDTH: 540px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1 name=message rows=10 cols=60></TEXTAREA><IFRAME id=vB_Editor_001_iframe style="WIDTH: 540px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1></IFRAME></TD><TD class=controlbar><FIELDSET id=vB_Editor_001_smiliebox title=รูปสัญลักษณ์หน้ายิ้ม><LEGEND>รูปสัญลักษณ์หน้ายิ้ม</LEGEND><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 align=center border=0><TBODY><TR vAlign=bottom align=middle><TD>(i)</TD><TD>(b-oneeye)</TD><TD>(f)</TD></TR><TR vAlign=bottom align=middle><TD>(verygood)</TD><TD>(bb-flower</TD><TD>:cool:</TD></TR><TR><TD class=smallfont colSpan=3>[More]</TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <INPUT id=vB_Editor_001_mode type=hidden value=1 name=wysiwyg><SCRIPT type=text/javascript><!--vB_Editor['vB_Editor_001'] = new vB_Text_Editor('vB_Editor_001', 1, '15', '1');//--></SCRIPT> <!-- / message area --><SCRIPT type=text/javascript> <!-- function swap_posticon(imgid) { var out = fetch_object("display_posticon"); var img = fetch_object(imgid); if (img) { out.src = img.src; out.alt = img.alt; } else { out.src = "clear.gif"; out.alt = ""; } } // --> </SCRIPT><FIELDSET class=fieldset style="MARGIN: 10px 0px 0px"><LEGEND>Post Icons</LEGEND><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=15>คุณอาจจะเลือก icon สำหรับข้อความของคุณจากรายการดังต่อไปนี้:
    </TD></TR><TR><TD noWrap width="12%"><LABEL for=rb_iconid_0><INPUT id=rb_iconid_0 onclick=swap_posticon(null) tabIndex=1 type=radio CHECKED value=0 name=iconid>ไม่มี icon </LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_1 onclick="swap_posticon('pi_1')" tabIndex=1 type=radio value=1 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_1>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_18 onclick="swap_posticon('pi_18')" tabIndex=1 type=radio value=18 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_18>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_25 onclick="swap_posticon('pi_25')" tabIndex=1 type=radio value=25 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_25>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_20 onclick="swap_posticon('pi_20')" tabIndex=1 type=radio value=20 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_20>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_21 onclick="swap_posticon('pi_21')" tabIndex=1 type=radio value=21 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_21>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_22 onclick="swap_posticon('pi_22')" tabIndex=1 type=radio value=22 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_22>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_23 onclick="swap_posticon('pi_23')" tabIndex=1 type=radio value=23 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_23>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_24 onclick="swap_posticon('pi_24')" tabIndex=1 type=radio value=24 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_24>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_27 onclick="swap_posticon('pi_27')" tabIndex=1 type=radio value=27 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_27>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_28 onclick="swap_posticon('pi_28')" tabIndex=1 type=radio value=28 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_28>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_29 onclick="swap_posticon('pi_29')" tabIndex=1 type=radio value=29 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_29>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_30 onclick="swap_posticon('pi_30')" tabIndex=1 type=radio value=30 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_30>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_31 onclick="swap_posticon('pi_31')" tabIndex=1 type=radio value=31 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_31>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_32 onclick="swap_posticon('pi_32')" tabIndex=1 type=radio value=32 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_32>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_17 onclick="swap_posticon('pi_17')" tabIndex=1 type=radio value=17 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_17>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_16 onclick="swap_posticon('pi_16')" tabIndex=1 type=radio value=16 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_16>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_15 onclick="swap_posticon('pi_15')" tabIndex=1 type=radio value=15 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_15>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_2 onclick="swap_posticon('pi_2')" tabIndex=1 type=radio value=2 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_2>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_3 onclick="swap_posticon('pi_3')" tabIndex=1 type=radio value=3 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_3>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_4 onclick="swap_posticon('pi_4')" tabIndex=1 type=radio value=4 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_4>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_5 onclick="swap_posticon('pi_5')" tabIndex=1 type=radio value=5 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_5>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_6 onclick="swap_posticon('pi_6')" tabIndex=1 type=radio value=6 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_6>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_26 onclick="swap_posticon('pi_26')" tabIndex=1 type=radio value=26 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_26>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_8 onclick="swap_posticon('pi_8')" tabIndex=1 type=radio value=8 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_8>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_9 onclick="swap_posticon('pi_9')" tabIndex=1 type=radio value=9 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_9>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_10 onclick="swap_posticon('pi_10')" tabIndex=1 type=radio value=10 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_10>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_11 onclick="swap_posticon('pi_11')" tabIndex=1 type=radio value=11 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_11>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_12 onclick="swap_posticon('pi_12')" tabIndex=1 type=radio value=12 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_12>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_13 onclick="swap_posticon('pi_13')" tabIndex=1 type=radio value=13 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_13>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_14 onclick="swap_posticon('pi_14')" tabIndex=1 type=radio value=14 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_14>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_33 onclick="swap_posticon('pi_33')" tabIndex=1 type=radio value=33 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_33>[​IMG]</LABEL></TD><TD colSpan=8> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </FIELDSET> </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <INPUT type=hidden name=s> <INPUT type=hidden value=postreply name=do> <INPUT type=hidden value=22445 name=t> <INPUT type=hidden name=p> <INPUT type=hidden value=1ccbf6875b588c68ba9719ad0f21c223 name=posthash> <INPUT type=hidden value=1164807040 name=poststarttime> <INPUT type=hidden value=16245 name=loggedinuser> <INPUT id=multiquote_empty_input type=hidden name=multiquoteempty> <INPUT class=button id=vB_Editor_001_save accessKey=s tabIndex=1 type=submit value=ส่งข้อความ name=sbutton> <INPUT class=button accessKey=r tabIndex=1 type=submit value=แสดงผลข้อความก่อนส่ง name=preview>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><THEAD><TR><TD class=tcat>[​IMG] ตัวเลือกเพิ่มเติม </TD></TR></THEAD><TBODY id=collapseobj_newpost_options><TR vAlign=top><TD class=panelsurround align=middle>
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>อื่นๆ</LEGEND><LABEL for=cb_signature><INPUT id=cb_signature tabIndex=1 type=checkbox CHECKED value=1 name=signature>แสดงลายเซ็นของคุณ</LABEL>
    <LABEL for=cb_parseurl><INPUT id=cb_parseurl tabIndex=1 type=checkbox CHECKED value=1 name=parseurl>Automatically parse links in text</LABEL>
    <LABEL for=cb_disablesmilies><INPUT id=cb_disablesmilies tabIndex=1 type=checkbox value=1 name=disablesmilies>ไม่แสดงรูปสัญลักษณ์หน้ายิ้มต่างๆในข้อความ</LABEL>

    </FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>Upload รูป, เพลง และไฟล์อื่นๆได้ที่นี่ (Attach Files)</LEGEND>นามสกุลของไฟล์ที่อนุญาตให้ upload ได้คือ: bmp doc gif htm html jpe jpeg jpg mid mp3 pdf png psd txt wma wmv xls xml zip


    <SCRIPT src="clientscript/vbulletin_attachment.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript> <!-- var newpost_attachmentbit = '\r\n [​IMG]\r\n %5$s\r\n (%6$s)\r\n
    '; vB_Attachments = new vB_Attachment('attachlist', ''); document.write('<input type="button" id="manage_attachments_button" class="button" tabindex="1" style="font-weight:normal" value="Upload และ บริหารไฟล์" title="Click here to add or edit files attached to this message" onclick="vB_Attachments.open_window(\'newattachment.php?t=22445&poststarttime=1164807040&posthash=1ccbf6875b588c68ba9719ad0f21c223\', 480, 480, \'\')" />'); //--> </SCRIPT><INPUT class=button id=manage_attachments_button title="Click here to add or edit files attached to this message" style="FONT-WEIGHT: normal" onclick="vB_Attachments.open_window('newattachment.php?t=22445&poststarttime=1164807040&posthash=1ccbf6875b588c68ba9719ad0f21c223', 480, 480, '')" tabIndex=1 type=button value="Upload และ บริหารไฟล์"> <NOSCRIPT> Upload และ บริหารไฟล์ </NOSCRIPT>

    </FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>การติดตามอ่านกระทู้</LEGEND><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD>รูปแบบการแจ้งเตือน:
    <SELECT tabIndex=1 name=emailupdate> <OPTION value=9999>Do not subscribe</OPTION> <OPTION value=0 selected>No email notification</OPTION> <OPTION value=1>Instant email notification</OPTION> <OPTION value=2>Daily email notification</OPTION> <OPTION value=3>Weekly email notification</OPTION></SELECT></TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>ให้คะแนนกระทู้</LEGEND>ถ้าคุณชอบ, คุณสามารถให้คะแนนกับกระทู้นี้ได้
    <SELECT tabIndex=1 name=rating> <OPTION value=0>เลือกระดับคะแนน</OPTION> <OPTGROUP> <OPTION value=5 selected>5 : ยอดเยี่ยม</OPTION> <OPTION value=4>4 : ดี</OPTION> <OPTION value=3>3 : ปานกลาง</OPTION> <OPTION value=2>2 : ไม่ดี</OPTION> <OPTION value=1>1 : แย่มาก</OPTION> </OPTGROUP></SELECT>

    </FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>การจัดการกับกระทู้นี้</LEGEND><LABEL for=cb_openclose><INPUT id=cb_openclose tabIndex=1 type=checkbox value=1 name=openclose>ปิดกระทู้นี้ หลังจากที่คุณกดปุ่มส่งข้อความ</LABEL>

    </FIELDSET>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    ให้ไปที่

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><THEAD><TR><TD class=tcat>ตัวเลือกเพิ่มเติม </TD></TR></THEAD><TBODY id=collapseobj_newpost_options><TR vAlign=top><TD class=panelsurround align=middle>
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>อื่นๆ</LEGEND><LABEL for=cb_signature><INPUT id=cb_signature tabIndex=1 type=checkbox CHECKED value=1 name=signature>แสดงลายเซ็นของคุณ</LABEL>
    <LABEL for=cb_parseurl><INPUT id=cb_parseurl tabIndex=1 type=checkbox CHECKED value=1 name=parseurl>Automatically parse links in text</LABEL>
    <LABEL for=cb_disablesmilies><INPUT id=cb_disablesmilies tabIndex=1 type=checkbox value=1 name=disablesmilies>ไม่แสดงรูปสัญลักษณ์หน้ายิ้มต่างๆในข้อความ</LABEL>

    </FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>Upload รูป, เพลง และไฟล์อื่นๆได้ที่นี่ (Attach Files)</LEGEND>นามสกุลของไฟล์ที่อนุญาตให้ upload ได้คือ: bmp doc gif htm html jpe jpeg jpg mid mp3 pdf png psd txt wma wmv xls xml zip


    <SCRIPT src="clientscript/vbulletin_attachment.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript> <!-- var newpost_attachmentbit = '\r\n [​IMG]\r\n %5$s\r\n (%6$s)\r\n
    '; vB_Attachments = new vB_Attachment('attachlist', ''); document.write('<input type="button" id="manage_attachments_button" class="button" tabindex="1" style="font-weight:normal" value="Upload และ บริหารไฟล์" title="Click here to add or edit files attached to this message" onclick="vB_Attachments.open_window(\'newattachment.php?t=22445&poststarttime=1164807040&posthash=1ccbf6875b588c68ba9719ad0f21c223\', 480, 480, \'\')" />'); //--> </SCRIPT><INPUT class=button id=manage_attachments_button title="Click here to add or edit files attached to this message" style="FONT-WEIGHT: normal" onclick="vB_Attachments.open_window('newattachment.php?t=22445&poststarttime=1164807040&posthash=1ccbf6875b588c68ba9719ad0f21c223', 480, 480, '')" tabIndex=1 type=button value="Upload และ บริหารไฟล์"> <NOSCRIPT> Upload และ บริหารไฟล์ </NOSCRIPT>

    </FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>การติดตามอ่านกระทู้</LEGEND><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD>รูปแบบการแจ้งเตือน:
    <SELECT tabIndex=1 name=emailupdate> <OPTION value=9999>Do not subscribe</OPTION> <OPTION value=0 selected>No email notification</OPTION> <OPTION value=1>Instant email notification</OPTION> <OPTION value=2>Daily email notification</OPTION> <OPTION value=3>Weekly email notification</OPTION></SELECT></TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>ให้คะแนนกระทู้</LEGEND>ถ้าคุณชอบ, คุณสามารถให้คะแนนกับกระทู้นี้ได้

    </FIELDSET>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    Upload และการบริหารไฟล์ เมื่อกดปุ่มนี้จะปรากฎการเลือกรูปจากไดเร็คทอรี่ในคอมพิวเตอร์ เมื่อเลือกรูปแล้วให้กด Upload
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>Upload และ บริหารไฟล์ </TD></TR><TR><TD class=panelsurround align=middle>
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>Upload File จาก Computer ของคุณ</LEGEND><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD><INPUT type=hidden value=125829120 name=MAX_FILE_SIZE> <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]>
    <INPUT class=bginput type=file size=30 name=attachment[]></TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เมื่อรูปได้upload แล้วจะปรากฎ
    <LEGEND>ไฟล์ที่อัพโหลดทั้งหมดในขณะนี้ (29.0 KB)</LEGEND>
    <TABLE class=fieldset cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG] zoom_U30_03.jpg (29.0 KB)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    แล้วปิดหน้าต่างที่ให้upload ได้เลย แล้วมากด การส่งข้อความ

    เท่านี้นะครับวิธีของผม
    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา บทที่ 2 ประวัติเภสัชกรรมไทย-สมัยสุโขทัย
    http://pharmacy.hcu.ac.th/pharm/index-CH2c.html

    สมัยรัชกาลที่ 5 ( พ.ศ. 2477- 2489 )
    • พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ.2431 จัดตั้งศิริราชพยาบาล และมีการเรียนการสอน และให้การ รักษา ทั้งการแพทย์แผนไทย และแผนตะวันตก ร่วมกัน
      ท มีการพิมพ์ตำราแพทย์สำหรับใช้ในโรงเรียนแพทย์ เป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2438 ชื่อตำรา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1-4
      ท ต่อมาพระยาพิษณุประสาททเวช เห็นว่าตำรานี้ยากแก่ผู้ศึกษา จึงพิมพ์ตำรา ขึ้นใหม่ ได้แก่ ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ฉบับหลวง 2 เล่ม และตำราแพทยศาสตร์สังเขป (เวชศึกษา) 3 เล่ม พระองค์ สนพระทัย ในตำรา และคัมภีร์ แพทย์ จึงได้พระกรุณาโปรดเกล้าๆ ให้ พระบรมวงศ์เธอ กรมหมื่น อักษรสาสน์โสภณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นภูบดีราชหฤทัย พระยาอมรศาสตร์ประสิทธิศิลป์ หลวงกุมารแพทย์ หลวง กุมารเพชร ขุนกุมารประเสริฐ และ ขุนเทพกุมาร เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ ชำระคัมภีร์ แพทย์ทั้งมวล
      อนึ่ง คำว่า " คำภีร์แพทย์ พระตำรา และ ตำรา " คือ ตำรายาเดิมที่ได้จารึก เป็นอักขระ ในใบลาน เหมือนพระคัมภีร์ ธรรมะ ( คัมภีร์เทศน์) เมื่อเป็นเล่มลาน ( ผูก ) บรรจุวิชา แพทย์ จึงเรียกว่า คัมภีร์แพทย์ คัมภีร์เดิม โดยมาก เป็นภาษาขอม มคธ เมื่อท่านอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ได้แปล คัดลอกใหม่ ลงในสมุดข่อย เรียกว่า ตำรา การที่ใช้ คำนำ พระ ลงไปข้างหน้า นั้น ก็ ด้วยเหตุมีลักษณะ คล้ายพระคัมภีร์ธรรมะ ท่านอดีตแพทย์ เห็นความศักดิ์สิทธิ์ ของตำรา จึงเรียกนามยกย่อง ด้วยความเคารพ บูชา เก็บไว้ในคลังพระตำรา ซึ่งเรียกว่า คลังพระตำรา หลวงข้างพระที่ เมื่อได้ประทานให้ใครก็เป็นพระตำราไปหมด กรรมการ คณะนี้ได้จัดการสอบชำระพระคัมภีร์ แพทย์ทั้งมวลให้ถูกต้อง มีหลักฐานจดบันทึก ไว้ในหอสมุดหลวง แต่คง ใช้กันในหมู่แพทย์ หลวงโดยมาก
      นับว่า เป็นสมัยที่มีการอัญเชิญ ประวัติคัมภีร์แพทย์ อันเป็นตำราไทยหลายสมัยที่ ใช้ต่อกันมา และอยู่กระจัดกระจาย ตาม ที่ต่างๆ มารวมกัน มีการตรวจสอบให้ตรงกับของดั้งเดิม และมีหลักฐานจดบันทึกไว้ในหอพระสมุดหหลวงพระคัมภีร์แพทย์ ของ อาจารย์แต่ละท่าน มักกล่าวถึง อาการของโรค วิธีรักษา ตำรายา ที่จะต้องใช้และสรรพคุณยา ไว้พร้อมมูล พระคัมภีร ์ ประถมจินดา กล่าวถึงการปฎิสนธิของทารก การเกิดโลหิตระดูสตรี กำเนิดโรค กุมารและยารักษา พระคัมภีร์ตักกศิลา กล่าว ถึงบรรดาไข้พิษ ทั้งปวง พระคัมภีร์กษัย กล่าวถึงโรคภัย 26 ประการ เป็นต้น นอกจากนี้ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ซึ่งทรงเป็น หมอหลวงและยังทรงกำกับกรมหมอหลวง ทรงเอาพระทัยใส่ ในเรื่อง เสาะแสวงหาร ตำรายาดี อยู่เสมอ ทั้งยาไทย และยาฝรั่ง ได้คัดเลือก ตำรายา ที่ว่าดี รวมไว้ เรียกว่า " ตำรายาพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ "
      ในรัชสมัยนี้ วิชาแพทย์แผนไทย ได้รับการฟื้นฟู และสนับสนุนอย่างเต็มที่ มีการ สอนและฝึกหัด วิชาแพทย์แผนไทย ในสำนักกรมแพทย์ พระราชวังบวร ( กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ) ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เป็นโรงเรียน แพทย์ ที่เกิดก่อน โรงเรียน แพทยากร ที่ศิริราช เสียอีก ถึงแม้ว่า ในยุคนี้ จะได้รับอิทธิพล จากการแพทย์ตะวันตกมากขึ้นทุกที แต่คนไทยก็ยังนิยม หมอ ไทยและกลัวหมอฝรั่ง แม้ว่า ในเวลาต่อมา จะมีการสร้าง โรงพยาบาลศิริราช ขึ้นในปี พ.ศ. 2430 สำหรับรักษาประชาชนทั่วไป แต่ก็ต้องออกอุบาย รวมทั้งแจกจ่ายเงินทอง และสิ่งของ เพื่อชักชวน ให้ไปโรงพยาบาล หลังจากโรงพยาบาลศิริราช ได้จัดตั้งขึ้น มาเป็นเวลา 2 ปี เกิดปัญหา เนื่องจาก ขาดแคลน ผู้ที่จะทำหน้าที่แพทย์ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2432 พระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ จึงทรงตั้งโรงเรียนฝึกหัดแพทย์ขึ้น ( ต่อมาในปี พ.ศ. 2443 ได้ยกขึ้นเป็นโรงเรียนแพทยาลัย ) หลักสูตรการ เรียน มีกำหนด 3 ปี ระยะแรก การเรียนและการบริการ มีทั้งแพทย์ฝรั่ง ซึ่งให้การรักษา พยาบาลตามแบบอย่างตะวันตก และ แพทย์ไทย ที่ใช้ยาไทย รักษาโรค โดยให้การรักษา ควบคู่กันไปตามความสมัครใจ ของผู้ป่วย ที่จะเลือกรับบริการได้ตามใจชอบ เหตุผลที่เอาการแพทย์แผนไทย มารวมด้วย กล่าวว่า เป็นเพราะแพทย์ตะวันตกหายาก จึงเอาแพทย์ไทยมาประจำที่โรงพยาบาล ด้วย เมื่อเปิดโรงเรียนแพทย์ขึ้น จึงมีการ เปิดสอนการแพทย์ทั้ง 2 แผนควบคู่กันไป
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา บทที่ 2 ประวัติเภสัชกรรมไทย-สมัยสุโขทัย
    http://pharmacy.hcu.ac.th/pharm/index-CH2c.html

    สมัยรัชกาลที่ 5 ( พ.ศ. 2477- 2489 )

    และยังมีอีกลิงค์นะครับ ตามนี้ http://samunpri.com/modules.php?name=Wej&file=pravatkanpatpanthai

    ในส่วนที่เหลือ ถ้าท่านใดอยากอ่าน ให้ตามลิงค์ไปนะครับ
    ขอบคุณครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 พฤศจิกายน 2006
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.ops.go.th/tcs/benjarong_htdoc/benjarong.html

    [​IMG] [​IMG]
    เครื่องเบญจรงค์ เป็นเครื่องปั้นดินเผาชนิดเขียนลวดลายบนเคลือบ คำว่า เบญจรงค์แปลว่า ห้าสี อาจจะ มีตั้งแต่ 3-8 สีขึ้นไป เช่น สีแดง เหลือง ขาว ดำ เขียว และสีอื่น ๆอีกเครื่องเบญจรงค์ของไทยในอดีตนั้นมาจาก
    ประเทศจีนโดยตรงและอีกส่วนหนึ่งทางราชสำนักกรุงสยามสมัยอยุธยาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เริ่มสั่งทำมาจากจีนโดยเฉพาะโดยมีรูปแบบเป็นชามรูปบัว โถ ฝาตกแต่งเขียนลวดลายเป็นลายไทย เช่น ลายเทพนม ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ส่งชาวไทยไปดูงาน
    การทำเครื่องเบญจรงค์ที่ประเทศจีนเพื่อนำมาผลิตเองในประเทศไทย

    มาภายหลังจึงเกิดความนิยมเครื่องเบญจรงค์แพร่หลายมากขึ้น และมีการพัฒนากรรมวิธีการการผลิตโดยใช ้
    สีทองตัดเส้นและเขียนลวดลายเรียกว่า ลายน้ำทอง นับเป็นงานหัตถกรรมที่อาศัยฝืมือ ความชำนาญและ
    ใช้ เวลานานในการเขียนลวดลายตกแต่งให้ประณีตสวยงามจึงเหมาะสมที่จะใช้เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องประดับตกแต่งภาย
    ในสถานที่ซึ่งต้องการความหรูหราสวยงามในบรรยากาศแบบไทยๆและเป็นผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกให้แก่ชาวต่างประเทศ
    แหล่งผลิตที่สำคัญอยู่ในท้องที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดลำปาง

    เครื่องลายคราม เครื่องปั้นดินเผาชนิดเคลือบลวดลายน้ำเงินขาว (BLUE & WHITE)เนื้อดินเผาเป็นสีขาว
    เคลือบขาวใสเผาจนถึงจุดสุกตัว อุณหภูมิสูงตั้งแต่ 1,250 องศาเซลเซียสขึ้นไป ผิวเป็นมันเงางาม ลวดลาย
    เขียนใต้เคลือบสีน้ำเงินอ่อนแก่ ตามประวัติกล่าวว่าจีนเป็นชนชาติที่มีการริเริ่มและพัฒนาเครื่องลายครามเป็นเวลา
    ยาวนานกว่าเครื่องปั้นดินเผาชนิดเคลือบประเภทอื่น ๆ ในโลก และเป็นแม่แบบสำคัญให้กับเครื่องปั้นดินเผา
    ชนิดเคลือบ ในดินแดนแถบเอเชียอาคเนย์ และยุโรปรูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องลายครามมักจะให้ความรู้สึกเคร่งขรึม
    และสง่าภาคภูมิสวยงาม มีคุณค่าทางศิลปหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์เครื่องลายครามจึงมีคุณภาพสูง และอาศัยฝีมือการทำ
    อย่างประณีตรูปแบบที่นิยมทั่วไป เช่น ชุดภาชนะเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร เช่น ถ้วยโถโอชาม จาน ชุดน้ำชา
    และผลิตภัณฑ์ เครื่องประดับตกแต่ง เช่น กระถาง แจกัน และตุ๊กตาเครื่องประดับ ฯลฯ แหล่งผลิตเครื่องลายคราม
    ที่มีชื่อเสียงอยู่ในท้องที่จังหวัดลำปาง เชียงใหม่ นครปฐม สมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร

    เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง เป็นชื่อเรียกเซรามิกอีกประเภทหนึ่ง ที่มีใช้ในประเทศตั้งแต่
    สมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ประมาณรัชกาลที่ 5 จึงเป็นเครื่องถ้วยที่มีอายุประมาณพุทธศตวรรษ
    ที่ 22-25 แต่ เป็นเครื่องถ้วยที่ทำเป็นพิเศษจากประเทศจีน โดยช่างไทยเป็นผู้ออกแบบให้ลายให้สี
    ตามรสนิยมของคนไทย ส่งออกไปให้ช่างจีนผลิตในประเทศจีน จึงเป็นถ้วยชามที่มีรูปลักษณะของไทย
    โดยเฉพาะเครื่องถ้วยเบญจรงค์ และลายน้ำทองจัดเป็นเครื่องถ้วยจีน-ไทย (SINO-THAI WARES)

    ตามความหมาย เบญจรงค์ แปลว่า ห้าสี ดังนั้น ถ้วยชามเบญจรงค์จึงหมายถึงชามที่มีห้าสี แต่ที่เราพบเห็นถ้วยชาม
    เบญจรงค์จะมีสีตั้งแต่สามสี ขึ้นไป ถึงห้าสีหรือแปดสี สีหลักที่เห็นเป็นประจำคือ แดง เหลือง ขาว ดำ เขียว
    น้ำเงิน นอกจากนี้ยังพบสีชมพู ม่วง แสด น้ำตาลบ้างแต่ส่วนใหญ่ถือว่า ห้าสี จีนเรียกว่า อู๋ไฉ่ (Wu-Ts' ai)

    ถ้วยชามเบญจรงค์จัดเป็นเครื่องถ้วยขาวที่เขียนลายสีตกแต่งโดยวิธีลงยา อยู่ในประเภทเครื่องถ้วยลงยานอกเคลือบ
    (OVERGLAZE ENAMEL WARES) จึงมีสีนูนเหนือพื้นถ้วย เพราะเป็นสีลงยา เครื่องถ้วยลายน้ำทอง จัดอยู่ใน
    ประเภทเดียวกัน แต่เพิ่มสีทองเป็นสีพื้นหรือแต้มสีทองระหว่างสีเบญจรงค์หรือเขียนเส้นตัดสีทอง(ในที่นี้เราจะพูดถึง
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์เป็นหลัก)
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.ops.go.th/tcs/benjarong_htdoc/benjarong.html

    [​IMG] [​IMG]

    ต่อครับ

    ถ้วยชามเบญจรงค์ ไม่ถือเป็นสินค้าส่งออกทั่วไปของจีน แต่เป็นของไทยสั่งทำโดยเฉพาะสำหรับใช้ในราช
    สำนัก วังเจ้านายและบ้านขุนนางชั้นสูง ไม่ใช่เครื่องถ้วยที่มีจำหน่ายในท้องตลาดสำหรับสามัญชนทั่วไปที่จะซื้อหาไปใช ้
    ได้เปรียบได้กับผ้าลายที่ไทยส่งตัวอย่างไปสั่งทำที่ประเทศอินเดียเข้าทำนองไทยสั่งอินเดียผลิตซึ่งผ้าลายเหล่านี้จะมีใช้
    เฉพาะราชสำนักและพระราชทานขุนนางเท่านั้น

    ช่างไทยเป็นช่างศิลปะไม่ใช่ช่างเทคนิคคนไทยอาจจะสนใจในการประดิษฐ์คิดค้นทางเทคโนโลยีน้อยกว่าทางด้านศิลปะผ้าพิมพ์ลาย ช่างศิลป์ไทยออกแบบลวดลายและสีสันตามรสนิยมไทยได้สวยงามมากแต่ส่งให้แขกผลิตในประเทศอินเดียเครื่องถ้วยเบญจรงค์
    และลายน้ำทอง ช่างไทยออกแบบรูปทรงเขียนลายให้สีวิจิตรงดงาม แต่ช่างจีนผลิตและโดยเหตุที่มีชามเบญจรงค์และลายน้ำทอง
    ของราชสำนักที่งามประณีตเป็นพิเศษจนกระทั่งเกิดความเข้าใจกันว่าอาจจะเป็นฝีมือเขียนของช่างไทยมิใช่เพียงส่งแบบไปให้จีน
    ลอกเลียนเขียนตามแต่ช่างไทยอาจเขียนเอง โดยสั่งเครื่องถ้วยชามกระเบื้องขาวมาเขียนสีเบญจรงค์ไทย
    บนน้ำเคลือบสีแล้วควบคุมการผลิต แต่ข้อสันนิษฐานดังกล่าวมิได้มีเอกสารยืนยันแต่การเอาเครื่องกระเบื้องขาวของจีนมาเขียนสี
    แล้วเผาเอง หลังจากลงสีแล้วมีปรากฎ ในรัชกาลที่ 5

    [​IMG]
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อไรไม่มีหลักฐานที่แน่ชัด แต่สันนิษฐานได้จากการขุดพบในจังหวัดอยุธยา และจาก
    การเทียบลักษณะลวดลายและการใช้สี โดยเทียบสีที่ใช้กับเครื่องถ้วยเขียนสีของจีน พบว่าเครื่องถ้วยเบญจรงค์บางชิ้นที่
    บอกรัชกาลไว้พอเป็นหลักฐานบ้าง โดยทั่วไปแล้ว ไม่มีเครื่องหมาย จีนนิยมเครื่องถ้วยลงยา 5 สี มาตั้งแต่ปลายราชวงศ์หมิง
    โดยเฉพาะสมัยพระเจ้าวั่นลี่ (พ.ศ.2116-2163) และสืบมาจนถึงสมัยราชวงศ์ชิง ซึ่งตรงกับปลายอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์

    เบญจรงค์ถือเป็นเครื่องกระเบื้อง (PORCELAIN) ชั้นดี แต่ก็พบกระเบื้องคุณภาพต่ำบ้างเหมือนกัน สันนิษฐานกันว่า เกิดจากพ่อค้าจีนทำขึ้นมาจำหน่าย ชนิดนี้ถือเป็นเครื่องปั้นดินเผาไฟสูงที่เรียกว่า STONE WARE อย่างเนื้อเครื่องถ้วย
    สังคโลก ที่เห็นทั่วไปมักจะเป็นประเภทจานเชิง แต่ถ้าเป็นของดีจะต้องเป็นเนื้อกระเบื้องซึ่งไทยเรียกว่า กระเบื้องกังไส ที่สั่งทำสำหรับราชสำนักจะผลิตที่จิงเต๋อเจิ้น (CHING-TE-CHEN) ซึ่งอยู่ในมณฑลเกียงสี ( KIANGSI) ไทยเรียก กังไส

    แต่ที่คุณภาพต่ำคงจะทำที่เตาชนบท ส่วนการเขียนสีหรือลงยาน้ำอาจจะทำที่กวางตุ้งซึ่งเป็นแหล่งผลิต เครื่องถ้วยจำหน่าย
    ต่างประเทศของจีนในสมัยราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2325-2453) ส่วนใหญ่จะผลิตในรัชสมัยพระเจ้าจาชิง (CHIA CHING)
    พ.ศ. 2334-2363 และพระเจ้าเต้ากวง (TAO KUANG) พ.ศ. 2364-2393 ซึ่งตรงกับสมัยรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 2-3
    ซึ่งเป็นสมัยที่มีเครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทองมาก และยังคงสั่งเข้ามาเรื่อย ๆ จนถึง รัชกาลที่ 5
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.ops.go.th/tcs/benjarong_htdoc/benjarong.html

    [​IMG] [​IMG]

    ต่อครับ

    ด้วยเหตุที่เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทองเป็นของใช้ในราชสำนักโดยเฉพาะในสมัยแรก ๆ สามัญชนจะใช้ไม่ได้
    แต่หลังจากสมัยรัชกาลที่ 2 ไปแล้วผู้ใดมีเงินมากก็อาจจะซื้อหามาใช้ได้ จึงมีเครื่องถ้วยรุ่นหลังทำมาจำหน่ายที่มิใช่ของ
    สำหรับราชสำนัก จึงปรากฎมีเครื่องถ้วยเบญจรงค์คุณภาพต่ำในสมัยหลัง แต่เครื่องถ้วยลายน้ำทองสั่งทำเฉพาะ
    พระราชสำนักเท่านั้น

    เราอาจจะเทียบสีน้ำเคลือบลงยาได้กับเครื่องถ้วยจีนในสมัยเดียวกันและเป็นทางหนึ่งในการกำหนดอายุวัตถุ เครื่องถ้วย
    เบญจรงค์ต้องผ่านการเผาหลายครั้ง เมื่อทำเครื่องกระเบื้องขาว (PORCELAIN) แล้วจึงลงยาสีต่าง ๆ ตามลวดลายไทย
    ซึ่งนิยมเขียนเต็มเนื้อที่ ไม่มีที่ว่างเหลือไว้เฉพาะขอบก้นชาม จึงใช้สีมากทั่วทั้งใบทั้งข้างนอกและข้างใน เข้าเตาเผา
    หลายครั้ง ถ้ามากสีและมีสีที่ใช้อุณหภูมิแตกต่างกัน สีทองจะเผาทีหลังสุดจึงทำให้เครื่องถ้วยเบญจรงค์ และลายน้ำทอง
    มีราคาสูง

    สีเคลือบลงยาที่ใช้ในสมัยอยุธยา เทียบได้กับเครื่องถ้วยเขียนสีของจีน รัชกาลพระเจ้าคังฮี (KANG-HESI)
    (พ.ศ. 2205-2265) สีส่วนใหญ่ออกทางสีเขียว หรือสีในตระกูลเขียว (FAMILLE VERTE)
    ตระกูลสีดำ (FAMILLE NOIRE) และตระกูลสีเหลือง (FAMILLE JAUNE) ทำที่เตาเผาจิงเต๋อเจิ้น (CHING-TE-CHEN)
    แต่ในสมัยหลัง เมื่อนิยมสีตระกูลชมพูหรือที่เรียกว่า (FAMILLE ROSE) แล้วคงจะเขียนสีลงยาที่เมืองกวางตุ้งซึ่งเป็นแหล่ง
    ผลิตเครื่องถ้วยส่งต่างประเทศของจีนทั้งยุโรปเอชีย

    เครื่องถ้วยที่จัดอยู่ในสมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์เป็นประเภท ชามเทพนม ข้างนอกพื้นลงยาดำอมเขียว เขียนลาย
    เทพนม-นรสิงห์ และกนกเปลว ข้างในพื้นสีเขียว ขอบก้นชาม สมัยอยุธยามักเป็นสีแดงหรือสีเขียว เราจะพบเครื่องถ้วย
    เบญจรงค์ทั้งในรูปทรงจีน ทรงไทยและรูปทรงที่ได้อิทธิพลจากอินเดีย เนื่องในพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์
    ในราชสำนักใช้ชามฝาเป็นชุดสำรับอาหารคาวหวาน พานหรือจานเชิงไทยสั่งทำเพื่อเป็นภาชนะ เป็นเถาจากใหญ่ไปจน
    เล็กสุด ใช้ใส่ขนมหรือผลไม้ ที่เป็นรูปโถมีมากมายหลายแบบหลายทรง หลายขนาด เช่นโถรูปแตง โถทรงโกศ โถทรง
    มะเฟืองและโถปริก ฯลฯ ฝาโถก็มีหลายทรง เช่น ฝาทรงมัณฑ์ ฝายอดลูกแก้วกลม ที่ผลิตเป็นภาชนะเครื่องใช้สอยใน
    รูปทรงต่าง ๆ ได้แก่ จาน ชาม โถขนาดต่าง ๆ จานเชิง ชามเชิง กาน้ำ ชุดถ้วยชา ชุดตั้งโต๊ะบูชา กระโถน

    ลวดลาย รูปทรง และสีสัน ที่ใช้แต่ละสมัยมีความแตกต่างกันตามรสนิยมของแต่ละยุค ในสมัยอยุธยามีชามเบญจรงค์
    ทรงมะนาวตัดและทรงบัว ลวดลายที่นิยมใช้ในสมัยอยุธยา ได้แก่ ลายเทพนม นรสิงห์ มีลายกนกเปลวประกอบภายใน
    ชามเคลือบสีเขียว ชามเบญจรงค์ที่เป็นลายเทพนมนั้น ยังคงเป็นลายที่ใช้สืบมาจนถึงรัตนโกสินทร์ จึงนิยมเรียกกันเป็น
    สามัญว่า ชามเทพนม โดยเหตุที่มีลายเทพนมเป็นหลักสลับกับลายอื่น เช่น ราชสีห์ หน้าสิงห์ ยักษ์ ครุฑ กินรี เป็นต้น
    ขอบก้นชามเคลือบแดง แต่ไม่เคลือบตลอดเป็นที่สังเกตได้

    ในสมัยกรุงธนบุรี ตามประวัติศาสตร์ปรากฎว่ามีการสั่งซื้อภาชนะ ถ้วยชาม จากจีนเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา มีทั้ง
    ภาชนะธรรมดาและภาชนะที่เป็นเบญจรงค์ มีลักษณะลวดลายสีสันเหมือนแบบอยุธยา รูปทรงอาจแตกต่างไปบ้าง

    เบญจรงค์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช(รัชกาลที่ 1) และปลายอยุธยา
    มีความเหมือนจนยากที่จะชี้ชัด
    นอกจากสังเกตลวดลายและการใช้จะพบว่า ชามเทพนม มีใช้มาก แต่สีที่ใช้
    ในสมัยรัตนโกสินทร์จะเริ่มมาใช้ทางชมพู หรือ (FAMILLE ROSE) มากขึ้น ซึ่งสมัยรัชกาลที่ 1 จะตรงกับรัชกาล
    พระเจ้า เชียนหลง (CHIEN-LUNG) พ.ศ. 2279-2334 และพระเจ้าเจียจิง (CHIA-CHING) พ.ศ. 2334-2363 ของจีน
    สมัยนี้ยังคงใช้ลายเทพนม แต่ชามเทพนมสมัยรัชกาลที่ 1 มักจะมีพื้นในขาวมากกว่าพื้นในเขียว พื้นนอกสมัยอยุธยาสีดำ แต่สมัย
    รัชกาลที่ 1 ส่วนใหญ่เป็นสีอื่น สีแดงสนิมเหล็ก (IRON-RED) ซึ่งตรงกับเครื่องถ้วยจีนสมัยเชียนหลงที่ทำส่งขาย
    ต่างประเทศเป็นสินค้าออก ลายเทพนมมักสลับด้วยรูปอื่นแทนนรสิงห์ เทพพนม-ครุฑ เทพ พนม-ราชสีห์ เทพนม-
    หน้าสิงห์ ลายประดับแทนที่จะใช้กนกเปลว เปลี่ยนเป็นลายก้านขดสีเขียวก็แปลกไปเป็น เขียวอมผ้า หรือเขียวฝรั่ง

    ในรัชสมัยนี้มีชามเบญจรงค์อยู่พวกหนึ่งซึ่งฝีมือเขียนไม่ประณีต ลักษณะคล้ายเป็นของเลียนแบบลายไทย เรียกโดย
    ทั่วไปว่า ชามเทพนมจีนหรือเทวดาท้องพลุ้ย หรือเทวดาจีน บนพื้นสีต่าง ๆ เช่น เหลือง ชมพู และม่วงอ่อน เข้าใจกัน
    ว่าจีนคงจะทำมาจำหน่าย ไม่ใช่ของหลวงสั่งทำ และสีที่ใช้มีสีเขียวที่ขอบก้นชาม จึงคาดว่าจะมีอายุอยู่ใน สมัยปลาย
    รัชกาลพระเจ้าเจียจิง ซึ่งเป็นปลายรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 2 แต่นักสะสมเชื่อว่า มีอายุอยู่ในราวปลายอยุธยาถึงต้น
    รัตนโกสินทร์ (ในรัชกาลที่ 1 ปรากฎว่ามีเครื่องถ้วยลายน้ำทองใช้แล้ว ดังปรากฎหลักฐานจากชามลายน้ำทอง
    ลายดอกไม้และนก มีเครื่องหมายใช้บอกรัชกาลเจียจิง 2339-2363)

    ต่อมาในรัชกาลที่ 2 (พ.ศ.2352-2367) ถือเป็นสมัยที่ศิลปกรรมและวรรณกรรมรุ่งเรือง
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ พระบรมราชินี ทรงกำกับห้องเครื่องฝ่ายใน และทรงสั่งเครื่องถ้วยชามจากเมืองจีน สำหรับ
    ใช้ในราชสำนัก นอกจากเครื่องถ้วยเบญจรงค์แล้วทรงสั่งเครื่องถ้วยลายน้ำทองเข้ามาใช้ นอกจากลายไทยที่เคยใช้แล้ว
    ในสมัยนี้ยังมีลายประดิษฐ์ใหม่ เช่น ลายกุหลาบและใช้ลายแบบจีน เช่น ลายดอกเบญจมาศ ดอกพุดตาน ลายนกกับดอกไม้

    เราจะพบว่าเครื่องถ้วยลายน้ำทองที่สั่งออกแบบในสมัยนี้เป็นการเพิ่มสีทองขึ้นจากสีเบญจรงค์ที่นิยมใช้อยู่สีหนึ่งโดยใช้สีพื้น
    เป็นสีทอง(ทองคำ) หรือแต้มสีทองระหว่างสีเบญจรงค์หรือตัดเส้นสีทอง การเขียนสีทองจะเขียนภายหลังสีเบญจรงค์ เพราะ
    สีทองใช้อุณหภูมิต่ำกว่า สีเบญจรงค์ใช้อุณหภูมิระหว่าง 750-850 องศาเซลเซียส ส่วนสีทองใช้ 700-800 องศาเซลเซียส
    ดังนั้นเครื่องถ้วยลายน้ำทองที่คุณภาพดี มีทองติดชัด จึงควรจะเป็นการลงสีทองภายหลังสีเคลือบลงยาเบญจรงค์ (การใช้ทองคำ
    เป็นสีลงบนเครื่องถ้วยชามเดิมทำขึ้นในตะวันออกกลาง ต่อมาจีนนำมาใช้และนิยมใช้มากในรัชกาลพระเจ้าเชียนหลง และพระเจ้า
    เจียจิง สมัยราชวงศ์ชิง โดยใช้สีทองเป็นสีพื้น ดังนั้น ในรัชกาลที่ 2 จึงสั่งทำเข้ามาใช้ในราชสำนักได้โดยสะดวกเพราะจีนกำลัง
    นิยมทำอยู่แล้ว)

    เครื่องถ้วยลายน้ำทองมีทั้งลายไทยและลายจีนที่เป็นลายไทยไม่ใช่ลายเทพนมอย่างเบญจรงค์ แต่จะเป็นลายไทยที่ไม่มี
    ภาพส่วนใหญ่จะเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง ลายก้านต่อดอก ลายกุหลาบ ลายกลีบบัว ลายใบเทศ ลายดอกไม้ ฯลฯ ที่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ก้านแย่ง มักเรียกเป็นสามัญว่า ลายผ้ายก เพราะคล้ายผ้ายกทอง และลายจีน ได้แก่ ลายดอกไม้สี่ฤดู ผีเสื้อค้างคาว แมลงปอ ดอกพุดตาน เป็นต้น

    เมื่อสิ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่2) ตรงกับจีนในรัชสมัยของพระเจ้าเต้ากวง
    (พ.ศ. 2364-2393)ซึ่งเป็นยุคที่คุณภาพการผลิตเครื่องถ้วยของจีนเสื่อมลง จึงทำให้ไทยสั่งถ้วยชามเบญจรงค์และลายน้ำทองน้อยลง

    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) พ.ศ. 2367-2394 ถือเป็นยุคศิลปะจีนเฟื่องฟู เรามักจะ
    พบเห็นศิลปะจีนอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ ตามสิ่งก่อสร้าง วัดทั่วๆ ไป มีการใช้ถ้วยชามและเศษชิ้นส่วนถ้วยชาม มาประดับ
    ตกแต่งอาคารศาสนสถานทั่วไปที่สร้างในรัชสมัยนี้ ถึงแม้ว่าเครื่องถ้วยที่ทำในประเทศจีนจะไม่ค่อยมีคุณภาพ แต่ก็ยังมีการ
    สั่งเข้ามาใช้(ปรากฎหลักฐานในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ว่ามีชามฝาเทพนมครุฑ พื้นขาว มีเครื่องหมายรัชกาลพระเจ้า
    เต้ากวงซึ่งเป็นหลักฐานอย่างหนึ่งที่ช่วยในการศึกษารูปแบบและลวดลายเครื่องถ้วย เบญจรงค์ในรัชกาลนี้ที่จัดว่ามีคุณภาพ
    สูง แต่แปลกไปจากเดิม คือ ลงยาลวดลายบนพื้นขาว ไม่มีลงยาพื้นหลัง)เครื่องเบญจรงค์ที่เป็นลวดลายอิทธิพลจีน เช่น
    นก ดอกไม้ กระรอก อาจจะเข้ามาในรัชสมัยนี้ นอกจากนี้ยังมีของใช้ประเภทโถที่เนื้อกระเบื้องคุณภาพต่ำเข้าใจกันว่า
    จะสั่งเข้ามาในช่วงนี้ด้วย

    ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ความนิยมในเครื่องถ้วยเบญจรงค์เริ่มลดลง (ได้มีการ
    เปลี่ยนแปลงการสั่งเครื่องกระเบื้องจากประเทศจีนโดยห้างต่าง ๆ เป็นผู้สั่งเข้ามา เช่น พระยาโชฎึกฯ (จีนพุก) ใช้ยี่ห้อ
    กิมตึ๋งฮกกี่ พระยาพิศาลมานิจ (ชื่น) ใช้ยี่ห้อโปจู และจีนสุ่น เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นภาชนะเพื่อการใช้งาน) อันเป็นผลมาจาก
    การเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศตะวันตก มีพ่อค้าชาวยุโรปนำสินค้าและเครื่องถ้วย ชามเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย
    ประกอบกับเกิดการกบฏขึ้นในประเทศจีน เตาเผาเครื่องถ้วยชามที่จิงเต๋อเจิ้น ถูกเผาทำลาย จึงหยุดผลิตเครื่องเบญจรงค์
    โดยปริยาย ไทยจึงนำเข้าเครื่องลายครามลวดลายไทย ซึ่งทำจากเตาหัวเมืองต่าง ๆ มาใช้และปรากฎมีชามลายคราม
    ที่เขียนทองทับลงไปใช้ในสมัยนั้นด้วย ลายที่นิยม ได้แก่ ลายบัวบาน หรือกลีบบัว และลายพรรณพฤกษา

    เตาเผาเครื่องถ้วยชามของจีนได้เปิดผลิตใหม่ในสมัยพระเจ้ากวางสู (พ.ศ.2418-2451) ซึ่งตรงกับสมัย พระบาทสมเด็จ
    พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
    ไทยจึงสั่งเบญจรงค์เข้ามาใช้อีกสมัยนี้ ซึ่งมักเป็นชามเบญจรงค์พื้นดำ
    และสีลงยาอ่อน ๆ สีต่าง ๆ เช่น ชมพูอมม่วงอ่อน ลวดลายใหญ่ ๆ ไม่ละเอียดประณีตอย่างสมัยรัตนโกสินทร์มีโถใหญ่ ๆ
    เข้ามาใช้ และในสมัยนี้มีการสั่งเครื่องถ้วยลายน้ำทองเข้ามาใช้และยังคงมีการใช้ทับสีทองบนลายครามอยู่

    ในยุคนี้ถือเป็นยุคสุดท้ายของเครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง แต่มีการตั้งเตาเผาในพระราชวังบวรสถานมงคล
    กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ วังหน้าในรัชกาลที่ 5 ทรงสนพระทัยงานศิลป์ และทรงประดิษฐ์สร้าง สรรค์งานศิลป์หลายอย่าง
    เช่น หุ่นไทย หุ่นจีน และทรงทำเครื่องถ้วยเขียนขึ้นในพระราชวังบวร โดยสั่งซื้อเครื่องถ้วยสีขาวจากต่างประเทศมาเขียนสี
    และเผาเองเขียนภาพสีเป็นเรื่องรามเกียรติ์ พระอภัยมณี เป็นชามฝา และ กระโถนค่อม สำหรับกระโถนค่อมเขียนภาพ
    เรื่องรามเกียรติ์ตอนต่าง ๆ เป็นภาพสีสอดเส้นทอง ทรงทำประทานเจ้านายมีจำนวนไม่มากนัก
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.ops.go.th/tcs/benjarong_htdoc/benjarong.html

    [​IMG] [​IMG]

    จบครับ

    ประเภทของเบญจรงค์ที่ผลิต

    โถเบญจรงค์เขียนลาย
    อาจจะเป็นยุคแรกที่เข้ามาในประเทศไทย ลวดลายแบบก้านแย่ง พื้นสีเหลือง รูปทรงเตี้ย ปากกว้างผายออก ก้านแย่งสีเขียว
    ประกอบดอกใบ ปากขอบบนสีน้ำตาลแดง ขอบล่าง 2 ชั้น สีน้ำเงินกับสีน้ำตาลแดง ลายปากขอบ เป็นลายกระจัง ตัดเส้นด้วยสีดำ

    ชามทรงบัวเบญจรงค์
    เป็นผลิตภัณฑ์เนื้อดินสีขาวพอร์ซเลน รูปทรงปากกว้างก้นลึกยกขาสูง ตกแต่งด้วยลายเทพนม ด้วยเส้น สีแดงและสลับ
    ลวดลายด้วยดอกไม้สีแดง ใบสีเขียวพื้นสีเหลือง จัดเป็นเบญจรงค์ยุคแรก ๆ ที่สั่งทำจากจีนโบราณพุทธศตวรรษที่ 23

    ตลับสูงพร้อมฝาเบญจรงค์
    เป็นตลับทรงหกเหลี่ยม มีฝาจุกทำเป็นรูปสิงโตเขียนลวดลาย ก้านต่อดอกในช่องกระจกรูปกลีบบัว พื้นสีเขียว ปากขอบ
    และฝาขอบ ห้ามด้วยโลหะทองแดงเป็นผลิตภัณฑ์ชุดแรก ๆ ดอกไม้สีชมพูและสีเหลือง ตัดเส้นด้วยสีดำราวพุทธศตวรรษที่ 23-24

    ชามทรงบัวเบญจรงค์
    เป็นชามทรงปากผายก้นลึก มีฝาจุก ยอดฉัตร สองชั้น ชั้นเดียว มีทั้งจุกแหลมและจุกกลมแบนตกแต่งด้วยลายเทพนม
    สลับลายนรสิงห์ด้วยสีเหลือง สีน้ำตาลแดงพื้นสีดำมีลายเปลวไฟประกอบ ในราวพุทธศตวรรษที่ 24

    ชามทรงมะนาวตัดเบญจรงค์
    เป็นชามปากกว้าง ก้นลึก ยกขาสูง ตกแต่งด้วยลายสิงหะคาละ พื้นสีเขียวอ่อน ปากขอบตีเส้นสีน้ำตาลแดง ลายกระจัง
    ตัดด้วยเส้นสีดำ เป็นผลิตภัณฑ์ในสมัยรัตนโกสินทร์

    กาน้ำเบญจรงค์
    เป็นกาน้ำมีฝาครอบจุกกลม ตัวกากว้าง ฐานเล็กเขียนลายเทพนม นรสิงห์ นางมัจฉา สลับด้วยลายเปลวพื้นสีเหลือง
    ฝาสีเหลือง ปากไหล่ทาสีฟ้า เข้าใจว่าทำขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์

    ชามทรงบัวพร้อมฝาเบญจรงค์
    รูปทรงปากผาย ฝาจุกเป็นวงกลุม เขียนลายก้านแย่ง พื้นสีชมพู ขอบสีฟ้า เขียนลายดอกไม้สีเหลือง ก้านใบสีเขียว
    ทำในสมัยต้นรัตนโกสินทร์

    โถทรงมัณฑ์เบญจรงค์
    เป็นโถทรงผี มีฝาแบบยอดฉัตร 2 ชั้น จุดปลายตัดเขียนลายพันธุ์ไม้ดอก พื้นสีน้ำตาลแดง ตัวโถปากมีขอบลาย 2 ชั้น
    สีเหลืองกับสีฟ้าตัวฝาขอบมีลวดลายเช่นกัน พื้นสีฟ้าทำในสมัยรัตนโกสินทร์

    ชามทรงบัว พร้อมด้วยฝาน้ำลายทอง
    เป็นชามปากกว้าง ก้นลึกเขียนลวดลายเป็นก้านต่อดอกสีลมพูอยู่ภายในมีช่องกระจกรูปกลีบบัว ขอบสีทอง ขอบปากฝา
    เขียนลายข้าวหลามตัด สลับลายจุดฝาหุ้มด้วยโลหะทองแดง สวยงามมากอีกแบบหนึ่ง ทำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4

    โถทรงโกศ
    รูปทรงสูงพร้อมฝา แบบยอดฉัตร 2 ชั้น จุดปลายตัด ตกแต่งลวดลายก้านต่อดอก หรือเรียกว่าลายดอกไม้หิมพานต์
    ดอกสีแดงก้านสีเขียว ลงพื้นสีน้ำเงินเข้ม ปากขอบสีน้ำตาลแดง มีลวดลาย สั่งทำจากประเทศจีนอยู่ในระหว่าง
    สมัยตอนต้นของสมัยรัตนโกสินทร์

    ชามเบญจรงค์
    รูปทรงปากผาย ก้นลึก เขียนลายพุ่มข้าวบิณฑ์ พื้นขาว ดอกไม้สีแดง ขอบก้นสีเหลือง สั่งทำจากประเทศจีน ในสมัย
    พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เส้นผ่าศูนย์กลาง 22 เซนติเมตร

    ชามฝาลายน้ำทอง
    ตกแต่งลายเทพนมอยู่ในกรอบพื้นสีดำ ทำให้เห็นลวดลายเด่นชัด ปากขอบและฝาขอบจะตีเส้น เขียนลวด ลายกลมกลืนกัน
    อย่างสวยงาม เครื่องประดับลายเทพนมใช้สีน้ำตาลแดง สั่งทำจากประเทศจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ เส้นผ่าศูนย์กลาง
    22 เซนติเมตร

    ชามลายฝาน้ำทอง
    ลายดอกเบญจมาศ ลงพื้นสีทองทั้งใบ ได้รับการยกย่องว่ามีฝีมือสูง มีคุณค่าในเชิงศิลปะ การระบายสีดอก มีลักษณะ
    สีอ่อนแก่ ทำให้เหมือนธรรมชาติ มีสีชมพู สีฟ้าอ่อน ใบสีเขียว มีลักษณะอ่อนแก่ ตัดเส้นด้วยสีดำ เป็นลายแบบธรรมชาติ
    เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร

    ชามฝาลายน้ำทอง
    ตกแต่งด้วยภาพไทยเป็นช่วง ๆ เรียกว่าลายครุฑจับนาค สั่งทำจากประเทศจีน สมัยพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ขอบชามและ
    ฝาชามจะใช้โลหะทองแดงหุ้มปากขอบ ลวดลายระหว่างภาพเป็นลายประดิษฐ์ด้วยสีเขียวตัดเส้นด้วยสีดำ เส้นผ่าศูนย์กลาง
    22 เซนติเมตร

    ชามฝาลายน้ำทอง
    รูปทรงค่อนข้างสูง เขียนลายเรียกว่า ลายเกล็ดเต่า สั่งทำจากประเทศจีนออกแบบจากไทย ภายในเกล็ดเต่าจะเป็นดอกไม้
    ประดิษฐ์สีน้ำตาลแดง มีก้านสีขาว ทำให้เห็นลวดลายเด่นชัด เส้นผ่าศูนย์กลาง 14 เซนติเมตร

    ชามฝาเบญจรงค์ ลายนกไม้
    ลวดลายที่ใช้ตกแต่ง มีภาพนกและดอกไม้เขียนตกแต่งรอบทั้งใบ พื้นเป็นสีขาว ดอกไม้สีเหลือง สีชมพู สีออกม่วง ๆ
    ตัดเส้นด้วยสีดำ ปากขอบ ฝาขอบ หุ้มด้วยโลหะทองแดง ลวดลายที่เขียนปากขอบทั้งฝาและตัวจะแบ่ง ด้วยลวดลาย
    แตกต่างกัน ทำให้กลมกลืนและสวยงาม เส้นผ่าศูนย์กลาง 22 เซนติเมตร

    ชามลายน้ำทอง ลายนกไม้
    ลงพื้นสีทองทั้งใบ สั่งทำจากประเทศจีน สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ดอกไม้สีชมพูและสีฟ้า มีลักษณะสีอ่อนแก่ ตัดเส้นด้วยสี
    ประกอบด้วยใบไม้และนก เขียนลายเป็นช่วง ๆ ไม่ผูกเป็นลายติดกันกับปากขอบเป็นสีเขียวโดยรอบ และหุ้มด้วยโลหะ
    ทองแดง เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร

    ชามฝาเบญจรงค์ ลายก้านขด
    ประกอบด้วยภาพหนุมานในช่องกระจกพื้นขาวสั่งทำจากประเทศจีน สมัยพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ปากขอบและฝาขอบ
    จะตีเส้นคู่ ลงสีเขียวและสีน้ำตาลแดงเขียนลวดลายแตกต่างกันไป ภาชนะนี้จะหุ้มปากขอบฝาด้วยโลหะทองแดง
    เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร

    ชามฝาเบญจรงค์ ลายก้านขด
    ตัดเส้นด้วยสีขาวและสีดำ มีภาพประกอบมัจฉานุและนางสุพรรณมัจฉา เขียนลายทั้งภายในและภายนอก สั่งทำจาก
    ประเทศจีน สมัยพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ปากขอบทั้งตัวและฝาใช้สีเขียวประดับลวดลาย พื้นลายสีเหลืองเส้นผ่าศูนย์กลาง
    8 เซนติเมตร

    ชามลายน้ำทอง ลายวิชาเยนทร์
    ผูกลายอิทธิพลตะวันตก ฝีมือประณีต ปากขอบและฝาขอบตีเส้นคู่ ลงพื้นด้วยสีดำและสีฟ้า ลวดลายดอกไม้ประดิษฐ์
    ลายรอบตัวและฝาชามลงพื้นด้วยสีดำเช่นกัน เป็นสิ่งที่สั่งทำจากประเทศจีน ออกแบบลวดลายจากประเทศไทยสมัย
    รัตนโกสินทร์ เส้นผ่าศูนย์กลาง19 เซนติเมตร

    ชามฝาลายน้ำทอง ลายเทพชุมนุม
    ออกแบบลวดลายจากไทย พื้นสีน้ำเงินเข้ม ปากขอบทั้งตัวและฝาจะตีขอบลงพื้นสีน้ำเงินและสีทอง ทำให้สวยงาม
    เด่นชัดมาก มีประมาณไม่เกิน 10 ใบในประเทศไทย เส้นผ่าศูนย์กลาง 22.5 เซนติเมตร
    ชามลายน้ำทอง ลายนกไม้
    พื้นสีทอง ภายในเคลือบสีเขียวอมสีฟ้า (ไข่นกการเวก) นิยมเรียกว่าชามเจ้าตาก มีอักษรภาษาจีน ระบุทำใน สมัยราชวงศ์
    เช้งตรงกับสมัยพระพุทธยอดฟ้า ลายดอกไม้เป็นเชิงประดิษฐ์ สีชมพู สีฟ้า มีนกและใบไม้ ตัดเส้นด้วยสีดำปากขอบ
    มีลวดลาย 2 ชั้น ใช้สีเข้ม ปากขอบหุ้มด้วยโลหะ ชามลายน้ำทอง เรียกลายนี้ว่าลายเยียรบับ สั่งทำจากประเทศจีนออกแบบ
    ลวดลายจากประเทศไทย เป็นของล้ำค่า หาดูได้ยากยิ่ง ทั้งตัวและฝาจะแบ่งลายเขียนเป็น 4 ช่อง (ช่องกระจก) ระหว่างช่อง
    จะเป็นลายดอกไม้ ใบไม้ทั่วทั้งใบ ดอกไม้จะให้สีน้ำเงินและสีเหลืองแดงสลับกันไป ส่วนตัวลายเยียรบับจะใช้
    สีทอง ลงพื้นด้วยสีน้ำตาลแดง เส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร

    ชามฝาลายน้ำทอง ลายนกดอกไม้ บนน้ำทอง
    แบ่งขอบลายลงพื้นทองเช่นเดียวกัน ดอกไม้สีชมพูและฟ้าสลับกันทั่ว ๆ ไป ตัดเส้นด้วยสีดำ
    เบญจรงค์ เป็นโถมีฝา รูปทรงวงรี
    ตัวโถออกแบบให้มีขาประกอบอยู่ในตัว แบ่งตัวโถเป็นกลีบ ส่วนฝาโถออกแบบเป็นจุดคล้ายหัวแหวนลดหลั่นเป็นชั้น ๆ
    มีจุดแหลมปลายยอด มีการตกแต่งลวดลายเป็นภาพนกไม้อยู่ในแนวตั้ง การตกแต่งในแบบแฟมิลลิแวร์ต (FAMILLE VERTE)หมายถึง การตกแต่งผลิตภัณฑ์ที่เรียกกันว่า พวกตระกูลเขียว ส่วนใหญ่จะเขียนเป็นสีเขียวเข้ม มีสีแดง
    สีอ่อนบาง ๆ เป็นสีเด่นความสูงประมาณ 28.2 เซนติเมตร ทำในสมัยตอนต้นของยุครัตนโกสินทร์

    ถ้วยเบญจรงค์ เป็นโถทรงปากฝาย
    ปากขอบเน้นเส้นหนากลม เป็นแบบที่รับการยกย่องว่าสวยงามอีกแบบหนึ่ง ภายในเคลือบสีเขียวอมฟ้า มีการตกแต่ง
    ลวดลายทั้งใบ มีภาพเทพนมอยู่ในกรอบ (ช่องกระจก) และมีภาพนรสิงห์สลับกันไป ระหว่างภาพทั้งสองจะมีลายเปลว
    เขียนเต็มพื้นถ้วยลงพื้นด้วยสีดำเว้นจังหวะช่องไฟโต้สวยงามมาก ปากขอบถ้วยและก้นถ้วย จะตีเส้นแบ่งลาย ลบพื้นลายด้วย
    สีแดงน้ำตาล เป็นชามเบญจรงค์ที่มีมาในสมัยตอนปลายของอยุธยา มีความกว้าง ประมาณ 17.9 เซนติเมตร

    โถลายเบญจรงค์ลายน้ำทอง รูปทรงกลม
    มีฝาประกอบแบ่งเป็นชั้น ๆ ปลายแหลมตัดรูปทรงคล้ายดอกบัว มีการตกแต่งลวดลายรอบตัวโถและฝา เป็นลายในแนวตั้ง
    เป็นดอกไม้และใบไม้ประกอบกันมีสีแดง เหลือง ฟ้า และสีเขียวสลับกัน ลงพื้นด้วยสีทองมีมา ตั้งแต่สมัยตอนปลายอยุธยา

    ถ้วยเบญจรงค์เป็นโถทรงกลม
    ปากกว้าง มีฐานรองรับไปในตัว ปากถ้วยจะออกแบบทรงกลม มีลักษณะเป็นหยัก รอบตัวถ้วยตกแต่ง ด้วยลายดอกไม้
    ในแนวตั้ง ลงพื้นสีน้ำตาลแดง มีการตกแต่งแบบแฟมิลล์โรส (FAMILLE ROSE) หมายถึง การลงสีลวดลายแบบอ่อนแก่
    โดยใช้สีขาวผสม ได้รับอิทธิพลยุโรปสวยงามมาก

    ลวดลายและรูปแบบ
    ผลิตภัณฑ์เบญจรงค์และลายน้ำทองที่ได้ทำกันมาเป็นระยะเวลานาน (200 กว่าปี) ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายจนถึง
    สมัยรัตนโกสินทร์ จากการศึกษาและค้นคว้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่เผาอุณหภูมิสูง มีคุณภาพดี มีทั้งชนิดสโตนแวร์และพอร์ซเลน
    เคลือบสีขาว มีรูปทรงมากมายหลายแบบ และขนาดแตกต่างกันไป ดังนี้

    รูปทรงของผลิตภัณฑ์
    ภาชนะส่วนใหญ่จะออกแบบเป็นภาชนะเครื่องใช้สอย มีปากกว้าง มีทั้งชนิดมีฝาและไม่มีฝาประกอบรูป ทรงภาชนะ
    มีลักษณะโค้งผายออก เข้าใจว่าการขึ้นรูปด้วยวิธีแป้นหมุน (THROWING METHOD) และแบบหล่อ (SLIP CASTINS)
    ได้แก่ ชามทรงบัว, โถชนิดไม่มีฝา, ตลับทรงสูง, กาน้ำ, ชามมะนาวตัด, กระโถนถ้วยชา, พาน, โถปริก,
    โถทรงมะเฟือง, กระปุก

    ลวดลายที่ใช้แต่งบนผลิตภัณฑ์
    ส่วนใหญ่จะใช้ตกแต่งผลิตภัณฑ์ภายนอก แต่บางแบบมีการตกแต่งภายในบ้าง ลวดลายที่นิยมมากคือ ลายก้านแย่ง,
    ลายพรรณพฤกษา, ลายเปลว, ลายสิงหะคาละ, ลายก้านต่อดอก, ลายพุ่มข้าวบิณฑ์, ลายเกล็ดเต่า, ลายวิชาเยนทร์, ลายเยียรบับ,ลายนกไม้พื้นทอง (ชามเจ้าตาก), ลายครุฑนาค, ลายเทพชุมนุมดำ, ลายก้านต่อดอก, ลายดอกเบญจมาศ
    พื้นทอง, ลายก้านขด,ลายดอกไม้พื้นขาวลายจีน, ลายดอกไม้สี่ฤดู, รูปสัตว์ เช่น ผีเสื้อ ค้างคาว แมลงปอ, ลายดอกพุดตาน

    ภาพประกอบลาย
    ภาพเทพนม, ภาพนรสิงห์, ภาพหนุมาน, ภาพมัจฉานุ และนางสุพรรณมัจฉา, ภาพนก, ภาพเรื่องลักษณาวงศ์, ภาพดอกไม้
    ประกอบลาย, ดอกเบญจมาศ, ดอกไม้ประดิษฐ์, ดอกพุดตาน, ดอกกุหลาบ

    ช่องกระจก
    หมายถึงการแบ่งช่องในผลิตภัณฑ์ที่จะตกแต่งอาจจะแบ่งเป็น 3 ช่อง 4 ช่อง หรือหลายช่องแล้วแต่ความ สวยงามและ
    เหมาะสม มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ช่องกระจกแบบกลีบบัว, ช่องกระจกแบบวงรี, ช่องกระจกแบบวงกลม, ช่องกระจก
    แบบใบโพธิ์, ช่องกระจกแบบกระจัง

    ลายปากขอบ (เข็มขัด)
    หมายถึงเขียนลายที่แตกต่างไปจากตัวแบบนิยมเขียนลายตกแต่งที่ปากขอบ ฝาขอบ และส่วนล่างของผลิตภัณฑ์ ทำให้
    ผลิตภัณฑ์มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นลักษณะของลวดลายปากขอบ ได้แก่ แบบตีเส้นคู่ซ้อนกันสองชั้นเขียนลาย, แบบตีเส้น
    คู่ชั้นเดียวเขียนลาย, เขียนลวดลายแตกต่างกัน, ตีเส้นทึบขนาดกว้างโดบใช้สีเข้มกว่าพื้นลาย

    ฝาผลิตภัณฑ์
    หมายถึงภาชนะต่าง ๆ ที่มีฝาประกอบ ออกแบบรับรูปทรงได้อย่างกลมกลืน ซึ่งมีลักษณะต่างๆ กัน เช่น ฝาโค้งเป็นจุก
    ยอดแหลมปลายตัด, ฝาโค้งยอดฉัตรหลายชั้น จุกยอดแหลม, ฝาโค้งมีจุกแบบกลม, ฝาโค้งจุกกลมเป็นวงแหวน
    (ใช้ภาชนะถ้วยชาม)

    สีที่ใช้ตกแต่งบนเคลือบ
    สีน้ำตาลแดง, สีน้ำเงินเข้ม, สีน้ำเงินอ่อน, สีเหลือง, สีเขียวอ่อน, สีเขียวแก่, สีน้ำเงิน, สีทอง (LIQUID GOLD)
    ลักษณะแบบที่ใช้ตกแต่งลาย
    เขียนลายโดยไม่ลงสีพื้น, เขียนลายลงสีพื้น (ถ้าลายสีอ่อน พื้นสีเข้ม ถ้าลายเข้ม พื้นสีอ่อน), เขียนลายลง สีตัดเส้นด้วยสีดำ
    การตกแต่งลวดลายแบบคอยโซเนย์ เอนนามิล (CLOISONNE ENAMEL)
    เป็นวิธีการตกแต่งผลิตภัณฑ์บนเคลือบอีกแบบหนึ่งของจีน ซึ่งได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ลักษณะของการตกแต่ง
    คือการเขียนเน้นเส้นสาย หรือกรอบลาย โดยใช้สีเข้ม แล้วระบายสีในขอบเขตของภาพและลวดลาย

    การตกแต่งลวดลายแบบแฟมิลล์โรส (FAMELLE ROSE)
    เป็นวิธีตกแต่งผลิตภัณฑ์สีบนเคลือบ ที่ใช้สีให้เกิดความอ่อนแก่ของสี (VALUE) เป็นหลัก ในโครงการระบายสี
    เปรียบเสมือนการระบายสีแบบสีน้ำ (WATER COLOR) แต่วิธีการของแฟมิลล์โรส ใช้สีขาวบนเคลือบ นำไปผสมสีต่าง ๆ
    ให้เกิดความอ่อนแก่ แล้วนำไปตกแต่งบนผลิตภัณฑ์ ทำให้มีความกลมกลืน มีความสวยงาม มากอีกแบบหนึ่ง

    ถ้วยชามจากยุโรปและถ้วยชามที่ผลิตภายในประเทศเริ่มกลายเป็นภาชนะที่นิยมใช้แทนถ้วยชามที่นำเข้าจากจีน ในขณะที่
    ถ้วยชามจีนและเครื่องถ้วยเบญจรงค์เลื่อนขั้นเป็นภาชนะควรค่าแก่การจัดเก็บ โดยมีการประกวด เครื่องถ้วยลายคราม
    และเริ่มมีการสะสมกันมากขึ้น

    ในปัจจุบันเครื่องถ้วยเบญจรงค์ยังคงได้รับความนิยมจากผู้ใช้ ที่นิยมซื้อเพื่อการจัดเก็บเป็นของขวัญของชำร่วย และของ
    ที่ระลึกแก่แขกบ้านแขกเมือง ถึงขั้นผลิตเครื่องถ้วยเบญจรงค์เป็นหัตถอุตสาหกรรม มีการออกแบบ ลวดลายต่าง ๆ เพิ่มขึ้น
    อย่างมากมาย(นิยมสลักชื่อผู้สั่งไว้ที่ก้นชาม) และใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัยในการเขียนลวดลายทำให้คุณภาพ
    ของผลิตภัณฑ์ดียิ่งขึ้น

    จึงนับได้ว่าเครื่องถ้วยเบญจรงค์ได้ช่วยสืบสานประเพณีความเป็นไทย ถ่ายทอดความเป็นอยู่เป็นศิลปวัตถุที่ได้รับการยกย่อง
    และชื่นชอบสำหรับนักสะสมชาวไทยที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์สมกับที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย

     
  13. Baramee

    Baramee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +1,032
    เห็นของเพื่อนในเว็บนี้ลงรูปพระวังหน้า
    ผมเลยอยากลงบ้าง ช่วยเสนอแนะด้วยว่าใช่หรือไม่

    ขอบคุณคุณ sithipong ที่สอนวิธีลงรูป
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    แท้แน่นอนครับ.... เลือกแขวนองค์ไหนก็ได้ดีๆทั้งนั้น
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ประวัติความเป็นมาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

    [​IMG]
    ประวัติความเป็นมา ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมีประวัติและพัฒนาการมายาวนานนับพันปี ตั้งแต่สมัยกรีก โรมัน โดยเริ่มจากพิพิธภัณฑสถานในพระราชวังและส่วนบุคคล แล้วมีพัฒนาการด้านความเจริญก้าวหน้าและแผ่ขยายไปในประเทศต่างๆ
    ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงปูพื้นฐานงานพิพิธภัณฑสถานเป็นปฐม เพราะทรงสนพระทัยเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดี ตั้งแต่ยังทรงผนวช เมื่อเสด็จธุดงค์ไปตามหัวเมืองต่างๆ ได้ทอดพระเนตรโบราณสถาน โบราณวัตถุหลายสมัย จึงทรงรวบรวมโบราณวัตถุต่างๆ ไว้เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ทรงจัดพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ขึ้นเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งราชฤดี ตึกแบบฝรั่งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยด้านตะวันออก จัดเป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ และโปรดเกล้าฯ ให้ราชอาคันตุกะคณะทูตชาวต่างประเทศได้เข้าชมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุในโอกาสสำคัญ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการเริ่มการจัดพิพิธภัณฑสถานขึ้นในราชอาณาจักรไทยนอกจากพระที่นั่งราชฤดีแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระอภิเนาวนิเวศน์ขึ้นด้านหลังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๙ ซึ่งมีพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์เป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่อยู่ห้องหนึ่ง และทรงใช้เป็นที่จัดแสดงโบราณวัตถุและของแปลกประหลาดต่าง ๆ ที่ย้ายมาจากพระที่นั่งราชฤดีโดยเฉพาะ จากการที่ทรงสนพระราชหฤทัยในโบราณศิลปวัตถุเช่นนี้ ทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนางผู้ใหญ่และคหบดีทั่วไปสนใจไปด้วยและมีผู้นำของโบราณขึ้นทูลเกล้าฯ และน้อมเกล้าฯ ถวายอยู่เสมอ ความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆก็แพร่หลายยิ่งขึ้น ดังได้พบพระราชนิพนธ์และพระบรมราชาธิบายของพระองค์ อยู่จำนวนมาก และความรู้นี้ยิ่งแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เพราะจากการที่พระองค์เสด็จประพาสประเทศ ต่าง ๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปนั้น ทำให้พระองค์ทรงมีโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตร พิพิธภัณฑสถานในประเทศนั้น ๆ ก็ทรงนำแบบอย่างการจัดพิพิธภัณฑสถานมาจัด ทำในประเทศไทยด้วยเช่นกัน อาทิ ทรงนำรูปแบบอาคารหอประชุมของทหารที่เมืองปัตตาเวียมาสร้าง "หอคองคอเดีย" สำหรับเป็นที่ประชุมทหารมหาดเล็กเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๗ ทรงโปรดฯ ให้ย้ายศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ จากพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ มาจัดแสดงในมิวเซียม (Museum) ณ หอคองคอเดีย และมีพิธีเปิดหอมิวเซียมหรือพิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย ในวันเสาร์ เดือนสิบ ขึ้นเก้าค่ำ ปีจอ ฉอศก ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๑๗ กรมศิลปากร จึงถือเอาวันที่ทรงประกอบพิธีเปิดมิวเซียมเป็นวันกำเนิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นพิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป
    [​IMG]พ.ศ.๒๔๑๘ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำโบราณศิลปวัตถุออกจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานตามหลักวิชาสากล มีการแบ่งโบราณวัตถุ เป็น ๓ ประเภท และจัดแบ่งเป็นห้อง ๆ ไป ได้แก่ โบราณศิลปวัตถุของไทย ๑ ห้อง เครื่องราชูปโภคและเครื่องต้น ๑ ห้อง และศิลปวัตถุจากต่างประเทศอีก ๑ ห้อง พิพิธภัณฑสถานนี้ ซึ่งเปิดให้สาธารณชนได้เข้าชมเป็นครั้งแรก เป็นที่สนใจของประชาชนมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดแสดงเป็นพิเศษเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของทุกปี
    พ.ศ.๒๔๓๐ พระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์สุดท้าย ได้เสด็จทิวงคต พระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหน้าว่างลง และด้วยเหตุที่มีประกาศยกเลิกตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล โดยตั้งตำแหน่ง "สยามมกุฎราชกุมาร" แทน ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้าย หอมิวเซียมไปตั้งอยู่ในพระราชวังบวรสถานมงคล โดยใช้พระที่นั่งส่วนหน้า ๓ หลัง เป็นที่จัดแสดงโบราณศิลปวัตถุ คือ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ และพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หอมิวเซียม หรือพิพิธภัณฑสถาน ได้ถูกยกฐานะเป็นกรมพิพิธภัณฑสถาน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ ในสังกัดกระทรวงวัง ต่อมาวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๔๓๒ กรมพิพิธภัณฑสถานถูกย้ายไปสังกัดกรมศึกษาธิการ ด้วยเหตุผลที่ว่าพิพิธภัณฑสถานก็อยู่ในสังกัดนี้ ตำแหน่งอธิบดี เปลี่ยนเป็นผู้บัญชาการ พ.ศ.๒๔๓๓ นี้ กรมพิพิธภัณฑสถานได้ย้ายสังกัดอีกครั้งโดยขึ้นกับกองบัญชี กรมกลาง กระทรวงธรรมการ พิพิธภัณฑสถานจะเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง และจะมีผู้เข้าชมมากในโอกาสงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา และพระราชพิธีฉัตรมงคล สมัยรัชการที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการประกาศตั้ง "กรรมการหอสมุดสำหรับพระนคร" เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๖๖ ให้รับผิดชอบงานสำรวจและตรวจรักษาโบราณ วัตถุสถาน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่องานด้านโบราณคดี ด้วยพระองค์ทรงมีพระราชดำริว่า ในประเทศไทยมีโบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ อยู่มาก โบราณสถานเหล่านั้นเป็นหลักฐานสำคัญต่อพงศาวดาร และเป็นอุปกรณ์ในการตรวจหาความรู้ทางโบราณคดีซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์ เป็นเกียรติยศแก่ประเทศชาติ ในประเทศอื่น ๆ รัฐบาลมีหน้าที่ดูแลสงวนรักษา โบราณสถานและโบราณวัตถุ โดยตรง แต่ในสมัยนั้นในประเทศไทยโบราณสถานมีการสำรวจเฉพาะบางแห่งเท่านั้น เพราะไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานด้าน นี้โดยตรง ดังนั้น จึงไม่มีระเบียนแบบแผนแน่นอน ด้วยประกาศตั้งกรรมการหอสมุดสำหรับพระนครนี้ นับเป็นประกาศฉบับแรกที่กล่าวถึงการสงวนรักษาโบราณวัตถุสถานในพระราชอาณาจักรพ.ศ.๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชดำริให้รวมงานที่เกี่ยวกับวรรณกรรมและโบราณคดีเข้าไว้ในสถาบันเดียวกันและพระราชทานหมู่พระที่นั่งในพระราชวังบวรสถานมงคลทั้งหมดจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถาน และมีพระราชบัญญัติโอนพิพิธภัณฑสถานให้มาขึ้นอยู่ในความดูแลของหอพระสมุดสำหรับพระนคร แต่ต่อมา วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๔๖๙ ได้มีประกาศพระราชบัญญัติจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๖๙ ก็มีประกาศตั้งราชบัณฑิตยสภาให้ดูแลงานด้านโบราณคดี วรรณคดี ศิลปากร และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสำหรับพระนคร โดยมีสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงดำรงตำแหน่งนายกราชบัณฑิตยสภา การเปลี่ยนแปลงของการจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานได้เริ่มตั้งแต่ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ เมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ได้ปรับปรุงการจัดแสดง ทำให้พิพิธภัณฑสถานเปลี่ยนจากพิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป เป็นพิพิธภัณฑสถานที่รวบรวมสงวนรักษาโบราณศิลปวัตถุ ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ นอกจากนี้ ในวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๔๖๙ รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการส่งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุออกนอกประเทศ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติป้องกันการลักลอบนำโบราณวัตถุและศิลปวัตถุอันเป็น หลักฐานที่สำคัญทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ออกนอกประเทศ โดยกำหนดให้ผู้จะนำต้องได้รับอนุมัติจากราชบัณฑิตยสภาก่อนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด "พิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร" ในวันประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา คือวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๖๙ ด้วยพระองค์เอง พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระราชินี ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ แล้วใน พ.ศ.๒๔๗๖ รัฐบาลได้จัดตั้งกรมศิลปากรขึ้น สังกัดกระทรวงธรรมการ มีกองพิพิธภัณฑ์และโบราณคดีด้วยกองหนึ่งที่สังกัดกรมศิลปากร ต่อมากองนี้ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในสมัยนั้น เป็นกองพิพิธภัณฑ์และโบราณวัตถุ จากนั้นได้เปลี่ยนอีกครั้งเป็น"กองโบราณคดี" โดยมีหน้าที่ดำเนินงานพิพิธภัณฑสถาน และดูแลโบราณสถานทั่วพระราชอาณาจักร พ.ศ.๒๔๗๗ ได้มีการเปลี่ยนชื่อพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสำหรับพระนคร พ.ศ.๒๔๗๘ ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยโบราณสถาน ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ.๒๔๗๗ ซึ่งได้มีการปรับปรุงอีกเป็น "พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ " ให้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทุกแห่งอยู่ในความควบคุมดูแลของกองโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมา มีพระราชกฤษฏีกาแบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการพุทธศักราช ๒๕๑๘ ให้จัดตั้งกองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขึ้นใหม่ โดยแยกออกจากกองโบราณคดี ให้มีหน้าที่รับผิดชอบเฉพาะงานพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มีพระราชกฤษฏีกาการแบ่งส่วนราชการของกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ขึ้นโดยรวมเอากองโบราณคดีและกองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเข้าด้วยกัน เป็นหน่วยงานใหม่คือ " สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ " ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีพระราชกฤษฏีกาการแบ่งส่วนราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ขึ้น โดย สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติได้แยกออกมาจากสำนักโบราณคดี เป็น "สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ" ขึ้นตรงต่อกรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม ในปัจจุบัน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 พฤศจิกายน 2006
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ประวัติพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ พระนคร</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>26 เมษายน 2548 15:04 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=250>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร นับเป็นพิพิธภัณฑสถานสำหรับประชาชนแห่งแรกของประเทศไทยซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2402 แต่เดิมเป็น "พระราชวังบวรสถานมงคล" หรือวังหน้าซึ่งประกอบด้วยพระที่นั่งและพระตำหนักอันนับเป็นสถาปัตยกรรมไทยที่งดงามอีกแห่งหนึ่ง

    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทรงจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ขึ้นที่ พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ ซึ่งทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเก็บรักษาโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ซึ่งเป็นเครื่องราชบรรณาการต่างๆ นับว่าเป็นบ่อเกิดของพิพิธภัณฑ์ในสมัยต่อมา

    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "มิวเซียม" ณ ศาลาสหทัยสมาคม หรือหอคองคอเดียในพระบรมมหาราชวัง เปิดให้ประชาชนเข้าชมเป็นครั้งแรก เนื่องในวโรกาสเแลิมพระชนมายุครบ 21 พรรษา เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2417

    ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2430 กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ทิวงคต จึงได้มีประกาศยกเลิกตำแหน่งพระอุปราช ทำให้สถานที่ในพระราชวังบวรสถานมงคลว่างลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายพิพิธภัณฑสถานจากหอคองคอเดียไปตั้งจัดแสดงที่พระราชวังบวรสถานมงคลเฉพาะด้านหน้า 3 องค์ โดยใช้พระที่ นั่งด้านหน้าคือ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ และพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย เรียกว่า "พิพิธภัณฑ์วังหน้า"

    ต่อมาในปี พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชมณเฑียรในพระราชวังบวรสถานมงคลทั้งหมดให้จัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนครขึ้น และได้จัดพระที่นั่งศิวโมกขพิมานให้เป็นสถานที่จัดแสดงศิลาจารึก คัมภีร์ใบลาน สมุดไทย ตำราโบราณ เรียกว่าหอสมุดวชิรญาณ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2469 เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา

    ต่อมาประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลได้จัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2476 พิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร จึงได้เข้าสังกัดกับกรมศิลปากร และได้ประกาศตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เมื่อ พ.ศ. 2477
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://writesara.com/ShowOff/showoff_chantarak_Poem.asp

    เรื่องโคลง

    โคลง

    โคลง คือ คำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บังคับรูปวรรณยุกต์เอก-โท และบังคับสัมผัส คำประพันธ์ประเภทโคลงมีหลักฐานปรากฏว่ามีต้นกำเนิดมาจากทางภาคเหนือและภาคอีสานก่อน แล้วจึงแพร่หลายเข้าสู่ภาคกลางของไทย วรรณกรรมที่แต่งด้วยโคลงที่เก่าแก่ที่สุดคือ “โองการแช่งน้ำโคลงห้า” ซึ่งแต่งขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ราว พ.ศ.1893 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
    สำหรับโคลงประเภทอื่นๆ นั้นอาจได้รับอิทธิพลมาจากภาคเหนือหรือลานนา เช่น โคลงสี่ดั้น ได้แก่ ลิลิตยวนพ่าย โคลสุภาพ (ไม่ว่าจะเป็นโคลงสอง โคลงสาม และโคลงสี่) ได้แก่ลิลิตพระลอ เป็นต้น ส่วนโคลงสองดั้น โคลง ดคลงสามดั้น นั้นเริ่มมีปรากฏในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์นี่เอง



    โคลงกระทู้คำเดียว

    <CENTER>แผนผัง
    [​IMG] </CENTER>
    ตัวอย่างคำประพันธ์
    <TABLE width=400 align=center><TBODY><TR><TD>ห้าม เพลิงไว้อย่าให้</TD><TD>มีควัน</TD></TR><TR><TD>ห้าม สุริยแสงจันทร์</TD><TD>ส่องไซร้</TD></TR><TR><TD>ห้าม อายุให้หัน</TD><TD>คืนเล่า</TD></TR><TR><TD>ห้าม ดั่งนี้ไว้ได้</TD><TD>จึ่งห้ามนินทา</TD></TR><TR><TD>เสีย สินสงวนศักดิ์ไว้</TD><TD>วงศ์หงส์</TD></TR><TR><TD>เสีย ศักดิ์สู้ประสงค์</TD><TD>สิ่งรู้</TD></TR><TR><TD>เสีย รู้เร่งดำรง</TD><TD>ความสัตย์ ไว้นา</TD></TR><TR><TD>เสีย สัตย์อย่าเสียสู้</TD><TD>ชีพม้วยมรณา</TD></TR><TR><TD align=right colSpan=2>จาก...นิราศคำฉันท์ : กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่ผมได้นำประวัติและเรื่องราวต่างๆของท่านเจ้า(กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) มาลงนั้น ผมมีความประสงค์ที่จะเผยแพร่พระอัจฉริยภาพของท่านเจ้าให้ทุกๆท่านได้ทราบว่า พระองค์ท่านเก่งมากขนาดไหน แค่เรื่องราวต่างๆเหล่านี้ เป็นเรื่องราวเล็กน้อยเท่านั้นเอง

    กราบนมัสการท่านเจ้า(กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ)ครับ สาธุ สาธุ สาธุครับ

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จากกระทู้
    พระสมเด็จ(โต) หากท่านอยากที่จะได้บูชา

    <!-- currently active users --><TABLE class=tborder id=post398370 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 07:30 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #27 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>นักรบโบราณ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_398370", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 07:35 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2006
    อายุ: 44 ปี
    ข้อความ: 2 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 8 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 3 ครั้ง ใน 2 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_398370 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อนุโมทนาครับทุกๆท่าน โดยเฉพาะคุณsithiphongถ่ายทอดเรื่องราวได้ละเอียดดี ขอบคุณที่เป็นอีกแรงหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่สิ่งที่คนยังไม่รู้อีกมาก แต่อยากเรียนให้ทราบว่าวัตถุมงคลหลายอย่าง องค์ท่านสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสีสร้างไว้ด้วยอนาคตังสญาน เช่นที่สร้างไว้ให้หลวงพ่อสายหยุดหรือพระครูสมุทรวุฒิกรแห่งวัดบางน้ำผึ้งนอก สมุทรปราการไว้ช่วยรักษาโรค ช่วยผู้คนนั้นท่านจารึกไว้ที่วัตถุมงคลไว้เลยครับว่าสร้างไว้ปีไหน สร้างไว้ให้ใคร และอีกหลายอย่าง เพราะองค์สมเด็จฯท่านมิใช่พระสงฆ์ธรรมดานะครับ จะเอาความรู้สึกนึกคิดของปุถุชนธรรมดาไปคาดเดาสิ่งที่พระองค์ท่านได้เมตตาสร้างไว้ลำบากทีเดียว ยังมีอีกหลายอย่างที่ท่านเมตตาให้ได้รู้ได้เห็น คุณsithiphongมีความตั้งมั่นดีครับทำให้ผมดูอยู่เฉยๆไม่ได้ กลับชลบุรีฝากกราบอาจารย์ประถมด้วยครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    *****************************************

    ในความคิดเห็นส่วนตัวผมและหลายๆคน มีความคิดเห็นที่ตรงกันว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านเป็นถึงสมเด็จ ท่านจะเสกพระพิมพ์แค่3-4 วัดแค่นั้นหรือ ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ที่คนในสมัยรัชกาลที่ 4 ,รัชกาลที่ 5 หรือแม้แต่คนในรัชกาลที่ 3 รวมทั้งพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ให้ความเคารพนับถือมาก อีกทั้งสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านเองก็มีความเมตตาต่อพระมหากษัตริย์ ,พระบรมวงศานุวงศ์ ,ขุนนางทั้งหลาย ประชาชน และสรรพสัตว์ทั้งหลาย แล้วทำไมคนในสมัยนี้จึงไปบังคับว่าสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านเสกพระพิมพ์ไว้แค่ 3-4 วัดเท่านั้น

    โมทนาสาธุครับ


    .<!-- / message --><!-- sig -->
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ใช้ธูปเท่าไร ไหว้พระไหว้เจ้า (ผู้เขียน ซินแสน้อย) <O:p</O:p

    ธูป 1 ดอก นิยมใช้ไหว้ศพ เจ้าที่ เจ้าทาง ภูมิ ผี ต่างๆ กล่าวคือวิญญาณธรรมดาที่ยังไม่ได้ขึ้นเป็นชั้นเทพ<O:p</O:p
    ธูป 2 ดอก ไม่ปรากฏนิยมใช้<O:p</O:p
    ธูป 3 ดอก นิยมไหว้พระพุทธ อันมีความหมายถึง พระรัตนตรัย หรือแม้แต่การไหว้เทพก็มีผู้ไหว้ 3 ดอก เช่นกัน อันมีความหมายถึงพระศิวะ พระนารายณ์ และพระพรหม<O:p</O:p
    ธูป 4 ดอก ไม่ปรากฏนิยมใช้<O:p</O:p
    ธูป 5 ดอก มีผู้นิยมใช้ไหว้ตี่จูเอี้ย โดยปักที่กระถางธูป 3 ดอกและข้างประตู ข้างละ 1 ดอก นอกจากนี้ก็มีผู้นิยมไหว้พระรูปรัชการที่ ๕ คงมีคติมาจากรัชการที่ ๕ ก็ใช้ 5 ดอก การไหว้ท้าวจตุโลกบาลก็นิยมใช้ธูป 5 ดอก เพราะหมายถึงทิศใหญ่ทั้ง 5 อันมี ตะวันตก ตะวันออก เหนือ ใต้ และทิศกลาง ตามความเชื่อของชาวจีน รวมทั้งเทพอื่นๆ ก็เห็นมีปรากฏ<O:p</O:p
    ธูป 6 ดอก ไม่นิยมใช้<O:p</O:p
    ธูป 7 ดอก นิยมไหว้พระภูมิไชยศรี นอกจากนี้ก็มีผู้ที่เคารพบูชาพระอาทิตย์ก็นิยมไหว้ ซึ่งความหมายของธูป 7 ดอก ก็หมายถึงความคุ้มครองวันทั้ง 7 ในหนึ่งสัปดาห์<O:p</O:p
    ธูป 8 ดอก ชาวฮินดูนิยมใช้ธูป 8 ดอก ในการไหว้เทพแทบจะทุกองค์ ที่เป็นเทพชั้นสูง อันได้แก่ พระศิวะ พระนารายณ์ พระพรหม พระแม่อุมา พระลักษมี พระสุรัสวดี พระพิฆเนศ พระขันธกุมาร ร่วมไปถึง พระราม พระกฤษณะ ด้วยจะพบว่า กล่องธูปที่ใช้บรรจุธูปหอมของอินเดียกล่องหนึ่งจะมีธูป 8 ดอก ให้บูชาครั้งละ 1 กล่องเล็ก นอกจากนี้ก็มีความเชื่อว่า การไหว้พระราหู ก็นิยมใช้ธูป 8 ดอกเช่นกัน<O:p</O:p
    ธูป 9 ดอก นับเป็นจำนวนธูปที่นิยม ใช้ในการไหว้ทั้งพระทั้งเทพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ด้วยคนไทยถือว่าเลข 9 เป็นเลขมงคล หมายถึงความเจริญก้าวหน้า หากแต่ในประเทศอื่นเขาไม่ได้นิยมเช่นคนไทย<O:p</O:p
    ธูป 10 ดอก สำหรับชาวจีนดั้งเดิมแล้วนิยมใช้เลขนี้ในการจุดธูปเช่นเดียวกันคนไทยนิยมเลข 9 เลขสิบนับเป็นเลขเต็ม และความหมายของสิบ (ภาษาจีนคือจั๊บ)นั้นหากจะประดุจนิ้วมือก็หมายถึงการจับได้เต็มไม้เต็มมือ ได้อะไรที่เต็มมือ ได้อะไรที่เต็มสิบก็คือความสมบูรณ์เต็มที่<O:p</O:p
    ธูป 11 ดอก ไม่ปรากฏความนิยม<O:p</O:p
    ธูป 12 ดอก ชาวจีนนิยมไหว้เจ้าแม่กวนอิม บางคนใช้ 13 ดอก แต่จะไหว้เฉพาะในช่วงเดือน 12 เท่านั้น<O:p</O:p
    ธูป 14, 15 ดอก ไม่ปรากฏความนิยม<O:p</O:p
    ธูป 16 ดอก นิยมใช้ในพิธีบวงสรวงบูชาเทพ บูชาครู หรือพิธีกลางแจ้ง ที่มีการอัญเชิญเทวดาที่สำคัญต่างๆ 16 ดอก หมายถึง สวรรค์ 16 ชั้น<O:p</O:p
    นอกจากนี้ที่ได้สืบเสาะมาก็มี 31 ดอก และ 32 ดอก<O:p</O:p
    ที่นิยมใช้ในการบวงสรวง เช่นเดียวกันกับ 16 ดอก <O:p</O:p
    โดย ธูป 31 ดอก หมายถึงการเชิญเทพทั้ง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน ต้องเป็นการบวงสรวงเครื่องบัดพลีใหญ่<O:p</O:p
    หรือ ธูป 32 ดอก หมายถึง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน และบนโลกมนุษย์ อีก 1 จะนิยมใช้ในการบวงสรวงใหญ่เท่านั้น เพราะเครื่องบวงสรวงต้องมากเพียงพอกับการอัญเชิญด้วย<O:p</O:p
    เจ้าคุณอมร วัดบวรนิเวศ กรุงเทพฯ ท่านให้ข้อคิดที่น่าสนใจมากคือ จำนวนเท่าไร มันอยู่ที่ใจ มนุษย์ตั้งกันขึ้นมาเอง ตามความพอใจ ซึ่งที่จริงแล้วหากใจเป็นสมาธิศรัทธาจริง มือเปล่า ใจเปล่า ก็ศักดิ์สิทธิ์ ได้<O:p</O:p
    ผู้เขียนเองก็มีความเห็นตรงกันเพราะเวลาเราฟังเทศน์ ฟังธรรม หรือจบมือขึ้น สาธุ อนุโมทนากุศลนั้น ท่านเชื่อไหมว่า อานิสงส์แรงนักแล แค่เอามือเปล่าจบขึ้นเหนือหัวตั้งจิตให้มั่น กล่าวคำว่า สาธุ


    หมายเหตุ ผมเองจำไม่ได้ว่านำมาจากหนังสือ ชื่อหนังสืออะไรครับ

    ขอขอบคุณ คุณซินแสน้อย ผู้เขียนครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...