พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำบูชา พระอุปคุต หรือ พระบัวเข็ม

    ตำนาน พระอุปคุต
    http://phuketindex.com/travel/photo-...akut/index.htm

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="52%"></TD><TD width="48%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    จากการค้นหาข้อมูลของพระอุปคุตนั้น เราทราบเพียงว่า ท่านเกิดหลัง พระพุทธเจ้า เสด็จปรินิพพานแล้ว ประมาณ พ.ศ. 218 ปี แต่ไม่ทราบ ภูมิเดิมของท่านละเอียด ว่าเป็นบุตรของใคร เกิดในวรรณะอะไร และที่ไหน


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="52%">[​IMG]


    </TD><TD class=telltext width="48%"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากการสันนิษฐานตามตำนาน พระเถระอุปคุต น่าจะเป็นชาวเมืองปาตลีบุตร เมื่อบวชแล้วบำเพ็ญเพียร จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ขีณาสพ สำเร็จอภิญญาต่างๆ จนสามารถแสดงอภินิหาร เป็นที่เล่าลือมาจนทุกวันนี้ มีปฏิปทาดำเนินไปในทางสันโดษ มักน้อย นัยว่าท่านเนรมิตเรือนแก้ว (กุฏิแก้ว) ขึ้นในท้องทะเลหลวง (สะดือทะเล) แล้วก็ลงไปอยู่ประจำ ที่กุฏิแก้วตลอดเวลา เมื่อมีเหตุเภทภัยเกิดขึ้นในพระศาสนา หรือเมื่อมีพิธีกรรมใหญ่ๆ หรือมีผู้นิมนต์ ท่านก็จะขึ้นมาช่วยเหลือ ด้วยความเต็มใจเสมอ

    สรุปรวมความได้ว่า ท่านเป็นพระเถระสำคัญองค์หนึ่ง ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ผู้นำกองทัพธรรมแผ่กระจายไปทั่วโลก) เป็นพระเถระผู้เปี่ยมด้วยพุทธานุภาพ และฤทธิ์เดชเกรียงไกร สามารถปราบพญามารและกำจัดสิ่งชั่วร้าย ที่จะมาทำลายพิธีกรรมใหญ่ ๆ มาแต่ครั้งโบราณ

    เรื่องราวก็มีอยู่ว่า เมื่อประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 2 หลังพุทธปรินิพพาน ณ นครปาตลีบุตราชธานี (ปัจจุบันคือเมืองปัตนะ ภาคใต้อินเดีย) พระเจ้าอโศกมหาราช ผู้ครองราชสมบัติในขณะนั้น ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ตามตำนานกล่าวว่า ได้ทรงสร้างพระวิหารและพระสถูป มากมายทั่วทั้งชมพูทวีป (เค้าว่ามากถึงแปดหมื่นสี่พันองค์) เป็นผู้รวบรวมและขุดค้นพระบรมสารีริกธาตุ เพื่อจะนำไปบรรจุในสถูปที่พระองค์ทรงสร้างไว้ทุกแห่ง

    เมื่อการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระองค์ก็ทรงปรารภ ที่จะจัดให้มีการฉลองสมโภช พระสถูปเจดีย์ทั้งหมดนั้น เป็นการมโหฬารยิ่ง ตลอด 7 ปี 7 เดือน 7 วัน และเพื่อให้การฉลองสมโภช เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ปราศจากอุปสรรค จึงใคร่จะอาราธนาพระสงฆ์ขีณาสพ ที่ทรงอิทธิฤทธิ์ มาเป็นผู้คุ้มครองงาน ให้ปราศจากการรบกวนจากมารร้ายต่าง ๆ

    แต่พระสงฆ์ในนครปาตลีบุตร ไม่มีรูปใดที่จะสามารถ เป็นผู้คุ้มครองงานมหกรรมอันยิ่งใหญ่นี้ ให้พ้นจากภัยทั้งหลายทั้งปวงได้ (โดยเฉพาะภัยจากพญาวัสสวดีมาร ผู้มีฤทธิ์ยิ่งกว่าภูตผีปีศาจทั้งหลาย) นอกเสียจากพระอุปคุตเถระผู้เดียวเท่านั้น พระสงฆ์ทั้งปวงจึงตั้งตัวแทน ๒ รูป ลงไปอาราธนาพระอุปคุตเถระผู้เรืองฤทธิ์ มาช่วยรักษาความปลอดภัย ในงานสมโภชครั้งนี้ ซึ่งกล่าวกันว่า พระอุปคุตเถระองค์นี้ มีปกติสันโดษอยู่องค์เดียว เข้าฌานสมาบัติเสวยวิมุตติสุข อยู่ในมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ ภายในปราสาทแก้วที่เนรมิตขึ้น เหนือรัตนะบัลลังก์ จะออกจากสมาบัติ เหาะขึ้นมาบิณฑบาต ในโลกมนุษย์ ในวันพุธเพ็ญกลางเดือนเท่านั้น

    และในครั้งนี้เอง พระอุปคุตเถระ ถูกพระภิกษุสองรูป ผู้ได้อภิญญาสมาบัติ ชำแรกมหาสมุทร ลงมาถึงตัวท่านแจ้งว่า ให้ท่านจงเป็นธุระ ป้องกันพญามารอย่าให้รบกวนงานฉลองพระสถูปเจดีย์ ของพระเจ้าอโศกมหาราชได้

    เมื่อพระอุปคุตเถระได้รับนิมนต์ ก็เดินทางมานมัสการ และรายงานตัวต่อคณะสงฆ์ในวันรุ่งขึ้น พระเจ้าอโศกมหาราช จึงได้เสด็จเข้ามานมัสการคณะสงฆ์ เพื่อขอทราบเรื่อง ผู้จะที่จะมาทำหน้าที่รักษาการ งานฉลองสมโภชพระสถูปเจดีย์ เมื่อพระองค์ทรงทราบ ว่าผู้ที่จะมาทำหน้าที่นี้ คือพระอุปคุตเถระ ก็ทรงนึกแคลงพระทัย เนื่องจากพระอุปคุตเถระนั้น มีร่างกายผ่ายผอมดูอ่อนแอ ก็ทรงไม่แน่ใจ เกรงจะทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์ แต่ไม่ทรงตรัสว่ากระไร

    ครั้นรุ่งเช้าวันใหม่ ขณะที่พระอุปคุตหาเถระ ออกบิณฑบาตในนครปาตลีบุตรนั้น พระเจ้าอโศกมหาราช ใคร่จะทดสอบฤทธิ์พระเถระ จึงทรงปล่อยช้างซับมัน (ช้างตกมัน) ให้เข้าทำร้ายพระเถระ พระมหาอุปคุตเถระเห็นดังนั้น จึงสะกดช้าง ที่กำลังวิ่งเข้ามา ให้หยุดอยู่กับที่ ไม่ไหวติงประดุจช้างที่สลักด้วยศิลา พระเจ้าอโศกมหาราช ทอดพระเนตรเห็นดังนั้น ก็ทรงเลื่อมใส จึงเสด็จไปขอขมาพระเถระ พระมหาอุปคุตเถระ ก็ให้อภัยทั้งแก่พระเจ้าอโศกมหาราช และพญาคชสาร

    เมื่อเห็นว่าพระอุปคุตเถระ มีฤทธิ์เดชมาก พระเจ้าอโศกมหาราช ก็ทรงวางพระทัย ตรัสสั่งให้เตรียมฉลองสมโภช พระสถูปเจดีย์ทั้งหมด ด้วยการปลูกปะรำร้านโรง ประดับธงทิว และประทีปโคมไฟ ตลอดระยะทางกึ่งโยชน์ ทำให้ตามแนวฝั่งแม่น้ำคงคา สว่างไสวไปทั่วทั้งบริเวณ

    บรรลุฤกษ์งามยามดีตามที่กำหนดไว้ บรรดาพระสงฆ์ขีณาสพ และพระสงฆ์ปุถุชน ตลอดจนพุทธศาสนิกชน ทั้งในนครปาตลีบุตร และต่างแดนจากจตุรทิศ ก็เริ่มหลั่งไหลเข้าสู่บริเวณงาน พร้อมเครื่องสักการบูชา เพื่อร่วมพิธีฉลองสมโภช พระบรมสารีริกธาตุที่บรรจุอยู่ในมหาเจดีย์ และเจดีย์ ทั้งแปดหมื่นสี่พันองค์ ด้วยความเลื่อมใส ศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง

    และในเวลานี้เอง พญามาร (พญาวัสสวดีเทพบุตรมาร) ก็มุ่งหน้าเข้ามาในงานกับเค้าเหมือนกัน ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะก่อความวุ่นวาย ต่างๆ นานา ทั้งบันดาลให้เกิดลมพายุ ทั้งแปลงร่างเป็นสัตว์ป่า และสัตว์หิมพานต์ แต่ทุกครั้งก็โดนพระอุปคุตเถระ กำราบได้หมด และสุดท้าย เพื่อให้พญามาร ออกไปจากบริเวณพิธี พระอุปคุตเถระ จึงเนรมิตร่างหมาเน่าขึ้นมาตัวหนึ่ง แล้วดึงประคตจากเอวของท่าน ออกมาผูกร่างหมาเน่านั้น คล้องคอพญามารไว้ แล้วสำทับว่าไม่ว่าใครก็ตาม (นอกจากท่านเอง) จะเอาหมาเน่านี้ออก จากคอพญามารไม่ได้ แล้วขับพญามารออกไป จากบริเวณงานทันที

    ด้วยความอับอาย พญามารก็ออกมาจากบริเวณงาน และพยายามแก้ร่างสุนัขเน่า ออกด้วยฤทธานุภาพ แต่ทำอย่างไร ก็ไม่สามารถแก้ได้ เพราะเมื่อเอามือทั้งสอง ต้องสายประคตที่คล้องคอทีไร ต้องมีไฟลุกขึ้นไหม้คอ และมือทันที สุดจะแก้ไขด้วยตนเองได้ ก็ไปหาที่พึ่งอื่น (ที่คิดว่าน่าจะช่วยได้)
    แต่ถึงแม้จะไปหาท้าวมหาราชทั้งสี่ พระอินทร์ ท้าวยามา ท้าวสันดุสิต ท้าวนิมิตเทวราช ตลอดจนท้าวสหัสบดีพรม ก็ไม่มีใครสามารถช่วยได้ ต่างได้แต่แนะนำว่า ให้พญามารไปขอขมา และขอความเมตตา จากพระเถระผู้นั้นเสียดีกว่า

    พญามารเห็นดังนั้น จึงจำใจต้องกลับไปหาพระเถระ อ้อนวอน ให้ช่วยเอาซากหมาเน่าออกจากคอให้ แล้วจะไม่มารบกวน การจัดงานอีก พระอุปคุตเถระก็อนุโลมตาม แต่ยังไม่ไว้ใจพญามารนัก เกรงพญามาร จะกลับมาทำลายพิธีในภายหลัง จึงเดินนำพญามาร ไปยังเขาใหญ่ลูกหนึ่ง แล้วเอาร่างหมาเน่าทิ้งลงเหว และเนรมิตให้สายประคตยาวขึ้น แล้วพันคอพญามาร ไว้กับเขาลูกนั้น พร้อมทั้งแจ้งว่า เมื่อเสร็จพิธีฉลองสมโภช พระมหาเจดีย์สิ้นสุดลงแล้ว จึงจะแก้โซ่ออก ปล่อยให้พญามารเป็นอิสระ (7 ปี 7 เดือน 7 วัน)

    เวลาผ่านไปตามที่ตกลงกัน การจัดงานสมโภชน์ ก็สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี พระอุปคุตเถระ จึงกลับมาหาพญามาร โดยแอบอยู่ห่างๆ เพื่อฟังเสียงพญามารว่า ละพยศร้ายหรือยัง

    พญามารเอง เมื่อจากทิพยวิมานอันบรมสุข มารับทุกขเวทนาเช่นนี้ ก็ละพยศร้ายในสันดาน หวนนึกถึงพระพุทธโคดม จึงกล่าวสดุดี ในความเมตตากรุณา ของพระพุทธเจ้า ในเรื่องที่ทรงมีมหากรุณาธิคุณ อันยิ่งใหญ่ว่า “ทรงบำเพ็ญสิ่งอันเป็นที่สุดหามิได้ เป็นที่พึ่งพำนักแก่สัตว์โลกทั้งมวล ในกาลทุกเมื่อ พระองค์นั้น เป็นผู้ประเสริฐหาผู้เสมอเหมือนมิได้ อนึ่ง ในกาลก่อน ข้าพเจ้าได้ทำร้ายพระองค์ โดยประการต่างๆ แต่พระองค์ ก็ยังทรงมหากรุณาธิคุณ มิได้กระทำการโต้ตอบ แก่ข้าพเจ้าเลย มาบัดนี้ สาวกของพระองค์นามว่าอุปคุต ไม่มีเมตตาแก่ข้าพเจ้าเลย กระทำกับข้าพเจ้า ให้ได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส และได้รับความอับอาย เป็นอย่างยิ่ง ถ้าหากว่าข้ายังมีบุญกุศล ที่ได้สั่งสมไว้แต่กาลก่อน ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอธิษฐาน ปรารถนาเป็นพระสัพพัญญูในอนาคต ดังเช่นพระองค์ต่อไป”

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=telltext width="52%"></TD><TD width="48%">[​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    กล่าวได้ว่า การตกระกำลำบากในครั้งนี้ ทำให้พญามาร ซึ่งความจริงแล้ว ในอดีตชาติ (ในยุคของพระกัสสปพุทธเจ้า) เคยมีจิตตั้งมั่น ที่จะบำเพ็ญเพียร ให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าเช่นกัน แต่ที่ได้กระทำการขัดขวาง พุทธศาสดาของพระพุทธโคดม ก็ด้วยความริษยา พระพุทธโคดม (มีมิจฉาทิฐิ) เนื่องด้วยพระองค์ ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าก่อนตน ทั้งๆ ที่ตนบำเพ็ญบารมี มามากพอสมควรเหมือนกัน แต่การกระทำในแต่ละครั้ง ก็มิได้ล่วงเกิน ทำบาปหนักแต่ประการใด

    เมื่อพระอุปคุตเถระ ได้ยินคำปรารภดังนั้น ก็เห็นว่าพญามารสิ้นพยศแล้ว จึงแก้โซ่ออก ปล่อยให้พญามารเป็นอิสระ พร้อมทั้งขอขมาพญามาร และบอกว่า การกระทำครั้งนี้ ก็เพื่อให้พญามาร ระลึกได้ถึงพุทธภูมิ ที่ท่านเคยปรารถนาไว้เท่านั้นเอง มิได้มีเจตนา ที่จะล่วงเกินประการใด ซึ่งพญามารก็เข้าใจด้วยดี


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="52%">[​IMG]


    </TD><TD class=telltext width="48%">พระอุปคุต เขมร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ต่อจากนั้นพระเถระ ก็ได้ขอให้พญามาร เนรมิตกาย เป็นพระพุทธองค์ เพื่อจะได้เห็น เป็นพุทธานุสติบ้าง ซึ่งพญามารก็รับคำ แต่ขอร้องว่า เมื่อเห็นเขาเนรมิตกาย เป็นพระพุทธองค์แล้ว อย่าหลงกราบไหว้เป็นอันขาด เพราะจะให้เขาบาปหนัก

    ครั้นเมื่อพญามารเนรมิตกาย เป็นพระพุทธเจ้า ประกอบด้วยมหาปุริสลักษณะ และฉัพพรรณรังสี อันวิจิตร มีพระอัครสาวกเบื้องซ้าย เบื้องขวา แวดล้อมด้วย มหาสาวกทั้งหลายเป็นบริวาร เสด็จเยื้องย่าง ด้วยพุทธลีลาอันงดงามยิ่ง พระเถระ และบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เห็นเช่นนั้น ก็ลืมตัวพากันถวายนมัสการ ทำเอาพญามารตกใจ รีบคืนร่างเดิม และท้วงติงว่า ทำให้ตนมีบาปหนัก แต่พระเถระ ก็กล่าวให้พญามารสบายใจว่า ทุกคนกราบไหว้พระพุทธเจ้า และพญามารก็ไม่บาปหรอก จะได้กุศลมากกว่า


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=telltext width="52%">พระอุปคุต ลงรักปิดทองเก่า

    </TD><TD width="48%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    จากนั้นพญามาร ก็กลับคืนสู่สวรรค์ ชั้นที่ 6 วิมานของตน และนับแต่นั้นมา พญามารได้มีจิตอ่อนน้อมเลื่อมใส ในพระพุทธศาสนา หมดสิ้นน้ำใจริษยา และบำเพ็ญบารมี เพื่อพุทธภูมิต่อไป

    หมายเหตุ
    เนื้อเรื่องได้กล่าวถึง พระพระกัสสปพุทธเจ้า ดังนั้นเพื่อความเข้าใจ ในการอ่าน ขอเสริมว่าตามตำนาน โลกเรานั้น แบ่งช่วงเวลาเป็นกัลป์ ซึ่งแต่ละช่วง ในแต่ละกัลป์ ก็จะมีพระพุทธเจ้า ที่มาตรัสรู้ โปรดบรรดาสัตว์โลก เป็นคราวไป ดังนั้นพระพุทธเจ้า จึงมีหลายพระองค์ ซึ่งเวลาหนึ่งกัลป์นั้นนานนัก (กัลป์ที่เราอยู่นี้ มีพระพุทธเจ้า มาตรัสรู้แค่ 5 พระองค์ และมีหลายๆ ช่วงในแต่ละกัลป์ ที่ปราศจากพระพุทธศาสนา โดยสิ้นเชิง ดังนั้นถือว่าเราโชคดีมาก ที่เกิดมาพบพระพุทธศาสนาในชาตินี้
    ประวัติเพิ่มเติมตามตำนาน พระอุปคุต คัมภีร์อโศกอวทาน
    ประวัติเพิ่มเติมตามตำนาน พระอุปคุต คัมภีร์ปฐมสมโพธิ์<!-- google_ad_section_end --> <!-- / message --><!-- sig -->

    คำบูชา พระอุปคุต
    หรือ พระบัวเข็ม<O:p</O:p


    http://palungjit.org/threads/คำบูชา-พระอุปคุต-หรือ-พระบัวเข็ม.21900/

    การตั้งบูชา นิยมการตั้งบูชาบนฐานรองรับ อยู่กลางภาชนะใส่น้ำ เป็นการจำลองคล้ายกับท่านจำพรรษาอยู่ในมหาสมุทร แล้วใช้ดอกมะลิลอยในน้ำบูชา และต้องตั้งต่ำกว่าพระพุทธ เนื่องจากเป็นพระอรหันต์ สาวกของพระพุทธเจ้า<O:p
    <O:p
    คำบูชาพระอุปคุต<O:p

    อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร สัมพุทเธนะ วิยากะโต มารัญจะ มาระพะลัญจะ โส อิทานิ มะหาเถโร นะมัสสิตะวา ปะติฎฐิโต อะหัง วันทามิ อิทาเนวะ อุปะคุตตัง จะ มาหาเถรัง ยัง ยัง อุปัททะวัง ชาตัง วิธัง เสติ อะเสสะโต มะหาลาภัง ภะวันตุเม ฯ <O:p
    หรือ (แบบย่อ) อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร ยักขาเทวา นะระปูชิโต โสระโห ปัจจะ ยาทิมปิ มะหาลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p


    (เกิดโชคลาภและคุ้มกันภัยภิบัติอันตรายทั้งปวง)<O:p</O:p

    <O:p</O:p




    คำบูชาพระมหาอุปคุต<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    พระมหาอุปคุตโต พระมหาอุปคุตตัง จะมหาเถโร สัพเพชะนา พะหูชะนา อิถีชะนา มามังพุทธะจิตตัง จะมหาลาโภ พุทธะธัมโม จะมหาลาภัง พุทธะสังฆัง จะมหาสัจจัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    อุปคุตตะ จะมหาเถโร สัพพะเสน่หาปุพชิโต โสระโห อุปะคุตะ ปัจจะยา ธิมะหิ อุตตะโม โหติ สัพพะทุกขะ สัพพะภะยะ สัพพะโรคะ พุทธา ธัมมา สังฆา อานุภาเวนะ วินาสสันติ ฯ<O:p</O:p


    (นิยมสวดบูชาพระบัวเข็ม หรือ พระธาตุอุปคุต)<O:p</O:p

    <O:p</O:p




    คำบูชาขอลาภพระอุปคุต<O:p</O:p

    มหาอุปคุตโต จะมหาลาโภ พุทโธลาภัง สัพเพชะนา พะหูชะนา ราชาปุริโส อิถีโยมานัง นะโมโจรา เมตตาจิตตัง เอหิจิตติจิตตัง ปิยังมะมะ สะเทวะกัง สะพรหมมะกัง มะนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    เอหิจิตติ จิตตังพันธะนัง อุปะคุตะ จะมหาเถโร พุทธะสาวะกะ อานุภาเวนะ มาระวิชะยะ นิระภะยะ เตชะปุญณะตา จะเทวะตานัมปิ มะนุสสานันปิ เอหิจิตตัง ปิยังมะมะ อิมังกายะ พันธะนัง อะทิถามิ ปะอัยยิสสุตัง อุปัจสะอิ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p



    วิธีสวดขอลาภ<O:p</O:p

    ให้จุดธูปเทียนบูชา พร้อมกับดอกไม้หอม เครื่องหอมน้ำหอมต่างๆ เทหยดใส่ในขันน้ำมนต์ ณ ที่บูชาพระในร้านค้าขาย หรืออาคารสำนักงาน แล้วอธิษฐานขอให้กลิ่นควันธูปเทียน ลมพัดไปทางไหน ของให้ดลใจผู้คนเข้ามาอุดหนุนตลอด ขอให้ดำเนินกิจการด้วยความราบรื่น มีความสำเร็จสมปรารถนาทุกประการ เมื่ออธิษฐานจุดธูปเทียนบูชาแล้ว ให้สวด นะโม ๓ จบ และสวดคำบูชาขอลาภพระอุปคุต จบ แล้วทำน้ำมนต์สวดด้วย คำบูชาขอลาภพระมหาอุปคุต อีก ๑ จบ เสร็จแล้ว เอาน้ำมนต์ประพรมร้านค้า และสินค้าในร้านค้า หรือทำธุรกิจ ก็ให้เอาน้ำมนต์ประพรมภายในสำนักงานและอุปกรณ์ต่างๆ ที่เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำธุรกิจนั้นทั้งหมด<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คาถาพระมหาอุปคุตผูกมาร<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    มหาอุปคุตโต มหาอุปคุตตัง กายะพันทะนัง อมยิสะ พุทธังทะเถโร ธัมมังทะเถโร สังฆังทะเถโร ปะอัยยะสุตัง อุปัจสะอิ อิมังกายะพันทะนัง อะทิถามิ ฯ<O:p</O:p
    (คาถาพระมหาอุปคุตผูกมาร มีอานุภาพความศักดิ์สิทธิ์มาก เสกด้วยสายสิญจน์ทำเป็นมงคลสวมคอ หากปลุกเสกครบ ๑๐๘ ครั้งสามารถป้องกันภูตผีปีศาจทั้งปวง และป้องกันอุปัทวอันตรายต่างๆ ถ้าเสก ๓ - ๗ คาบ ผูกคอหรือคล้องคอคนถูกผีเจ้าเข้าสิง จะเจ็บปวดร้องครวญครางโหยหวยอย่างน่าเวทนา ถ้าจะให้ผีที่สิงอยู่ออกไป ให้ถอดหรือแก้ด้ายผูกคอออก แล้วเอาด้ายนี้ตีปัดตามตัวคนที่ถูกผีสิงอยู่ ผีจะอยู่ไม่ได้จะเผ่นออก และไม่กล้ากลับมารบกวนคนในบ้านอีก และยังมีการปลุกเสกในทางพิชิตโรคาพาธได้วิเศษนัก)<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำบูชาพระบัวเข็ม<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    กิจจะมาคะอุปคุตโต อะมะหาเถโร สัมพุทเธวิยาคะโต มาระรัญจะ โสอิทานิ จะมะหาเถโร นะมัดปะสิทตะวาปะ ถิติโกอหัง วันทามิ พาเนวะอุปคุตตัง จะมะ หาเถรัง ยังยังอุปัทธะวังชาติ วิทังเสนติ อะเสสะโต นโมพุทธายะ<O:p</O:p
    พระบัวเข็มจะมะหาเถโร สัพพะลาภังภะวันตุเม อิติปิโสภะคะวา พุทโธชัยโย ธัมโมชัยโย สังโฆชัยโย เมตตา ฉิมพาลีจะมะหา เถโร สัพพะลาภัง ตะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    ชัยยะตัง ปัตถะพีตับภัง สามินโท โสราชาปูเชมิ ฯ<O:p</O:p


    <O:p</O:p



    หรือ<O:p</O:p



    จิตติจิตติ มิตติเอหิมะมะ อุปปะคุตโต จะมะหาเถโร นานาปาระมิ สัมมะปัณโน อิติปิโสภะคะวา มะอะอุเมตตา จะมะหาราชา สัพพะสะเนหา จะปูชิตา สัพพะทุกขัง มะหาลาภัง สัพพะโกพัง วินาสสันติ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กุมภาพันธ์ 2010
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กำเนิด ประวัติ เรื่องราวความเป็นมา พระอุปคุต - คัมภีร์อโศกอวทาน


    กำเนิด ประวัติ เรื่องราวความเป็นมา พระอุปคุต - คัมภีร์อโศกอวทาน
    http://www.phuketvariety.com/buddhism/uppakut-asok/index.htm

    เรื่องราวความเป็นมาของท่าน จากที่ปรากฎอยู่ในคัมภีร์อโศกอวทาน มีกล่าวไว้ว่า พระอุปคุตเถระ ท่านถือกำเนิด มาในตระกูลของพ่อค้า ที่เมืองมถุราซึ่งเป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำยมุนา ท่านมีพี่ชาย 2 คน ส่วนท่านนั้น เป็นคนสุดท้อง มูลเหตุที่ทำให้พระอุปคุตได้บวชนั้น ก็สืบเนื่องมาจาก บิดาของท่าน ได้เคยให้สัญญาไว้กับ พระเถระรูปหนึ่ง คือ พระสาณวาสี ว่าถ้าตนมีลูกชาย ก็จะให้บวชในพระพุทธศาสนา ทีนี้พอมีลูกชายคนแรก ก็ไม่ยอมให้บวช ด้วยอ้างว่าจะต้องเอาไว้ดูแลทรัพย์สิน ในเหย้าเรือน เอาไว้ถ้ามีลูกชายคนที่ 2 เมื่อไร แล้วจะยอมให้บวช แต่พอมีลูกชายคนที่ 2 เข้าจริง ๆ ก็หาเรื่องบิดเบือนอีก ว่ามีความจำเป็น ต้องเอาไว้สำหรับ ทำธุระตามหัวเมือง ขอให้รอไว้มีลูกชายคนที่ 3 แล้วจะต้องบวชให้อย่างแน่นอน
    พอลูกชายคนที่ 3 ซึ่งมีชื่อว่า “อุปคุต” เกิดมาก็แกล้งทำไม่รู้ไม่ชี้กับสัญญาที่ได้ให้ไว้กับพระเถระ พระเถระท่านเห็นว่า ยังไม่ถึงเวลา ท่านจึงนิ่งไว้ก่อน และก็ไม่ได้ไปทวงถามถึงสัญญานั้น จนกระทั่งอุปคุตโตเป็นหนุ่ม
    ตอนนั้นอุปคุตได้มาช่วยบิดาขายเครื่องหอมอยู่ที่ร้านในตลาด ตั้งแต่อุปคุตมาอยู่ที่ร้าน ก็ปรากฎว่า เครื่องหอม ขายดิบขายดี เป็นเทน้ำเทท่า ผู้คนมาซื้อหากันไม่ขาดสาย นี่เป็นธรรมดาของผู้มีบุญไปอยู่ที่ไหน ทรัพย์สิน ก็จะหลั่งไหลมา ด้วยอำนาจแห่งบุญ
    เพราะฉะนั้นจึงเชื่อกันว่า ผู้ที่ค้าขาย หากได้บูชาพระอุปคุตเป็นประจำทุกเช้าตอนเปิดร้าน ก็จะทำให้ค้าขายดี มีคนมาซื้อหาไม่ขาดสายทรัพย์สิน ก็จะหลังไหลมาเทมา กิจการเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงตลอดไป
    วันหนึ่งพระสาณวาสีเถระ ได้แวะเข้าไปในร้านที่อุปคุตขายของ และได้กล่าวธรรมกถาให้อุปคุตฟัง ปรากฏว่า อุปคุตฟังแล้ว เกิดสังเวช ได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาปัตติผล เป็นพระอริยบุคคลชั้นต้น ในพระพุทธศาสนา เมื่อพระสาณวาสีเถระเห็นว่า อุปคุตได้ดวงตาเห็นธรรมแล้ว จึงได้ไปทวงสัญญากับนายพาณิชย์ ผู้เป็นพ่อของอุปคุต “ไหนว่าจะถวายลูกชายคนที่ 3 แก่อาตมา เพื่อให้บวชยังไงล่ะ” พอนายพาณิชย์ถูกทวงถามเช่นนั้น ก็อับจนปัญญา ไม่อาจหาวิธีพูดบ่ายเบี่ยงหลีกเลี่ยงได้อีก จึงตัดสินใจอนุญาตให้อุปคุตออกบวชได้
    <SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-5530375026656530";google_ad_width = 468;google_ad_height = 60;google_ad_format = "468x60_as";google_ad_type = "text_image";google_ad_channel ="2932561251";google_color_border = "FFFFFF";google_color_bg = "FFFFFF";google_color_link = "5A1E44";google_color_url = "999999";google_color_text = "999999";//--></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript></SCRIPT>​
    กิตติศัพท์ขจรขจาย
    เมื่ออกบวชแล้ว ท่านพระอุปคุตก็ตั้งใจเจริญกรรมฐาน จนได้บรรลุพระอรหันต์ เป็นพระอริยบุคคลชั้นสูงสุด ในพระพุทธศาสนา และต่อมาท่านพระอุปคุต ก็ได้เป็น พระอาจารย์สอนกรรมฐานที่มีชื่อเสียงโด่งดัง มากที่สุด ในยุคนั้น โดยในคัมภีร์ได้กล่าวว่า ท่านมีพระอรหันต์ผู้เป็นศิษย์อยู่ถึง 18,000 รูป ส่วนสำนักของท่าน ตั้งอยู่ ณ วัดนตภัติการาม ภูเขาอุรุมนท์
    ศรัทธาของพระเจ้าอโศก
    กิตติศัพท์ด้านความรู้ความสามารถของท่านได้แพร่สะพัดไป จนทราบถึงพระกรรณของพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ จึงตั้งพระทัย จะเสด็จไปอาราธนา ท่านพระอุปคุตให้มาโปรดยังกรุง ปาฏลีบุตร
    แต่วิสัยของพระอรหันต์ผู้ยิ่งด้วยอภิญญาเฉกเช่นท่านพระอุปคุตนั้น เพียงแค่พระเจ้าอโศกทรงดำริเท่านั้น ท่านก็ทราบแล้ว จึงได้รีบลงเรือเดินทางมาสู่กรุงปาฏลีบุตรในทันที ฝ่ายพระเจ้าอโศก เมื่อทรงทราบว่า ท่านพระอุปคุต ได้เดินทางมาแล้ว จึงได้โปรดให้ตั้งพิธีต้อนรับ และเสด็จมารับ ท่านพระอุปคุต ด้วยพระองค์เอง อันเป็นตำนาน ที่ปรากฎอยู่ ใน คัมภีร์อโศอวทาน
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระคาถาอิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘

    หันทะ มะยัง อะนุสสะระณะ ปาฐะ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ

    <O:pนะโมฯ 3 จบ

    พระพุทธคุณ ๕๖


    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

    ๑ อิ. อิฏโฐ สัพพัญญุตัญญานัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง <O:pอิฏฐัง ธัมมัง อะนุปปัตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง

    ๒ ติ. ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม <O:pติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง

    ๓. ปิ. ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโยพรหมานะมุตตะโม <O:pปิโย นาคะสุปัณณานัง ปิณินทริยัง นะมามิหัง

    ๔. โส. โสกา วิรัตตะจิตโต โย โสภะนาโม สะเทวะเก <O:pโสกัปปัตเต ปะโมเทนโต โสภะวัณณัง นะมามิหัง

    ๕. ภะ. ภะชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา <O:pภะยะสัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง

    ๖. คะ. คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปิโต สะเทวะกัง <O:pคัจฉะมาโน สิวัง รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามิหัง

    ๗. วา. วานา นิกขะมิ โย ตัณหา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง <O:pวานะ นิพพาปะ นัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง

    ๘. อะ. อะนัสสา สะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โย ชิโน <O:pอะนันตะคุณะสัมปันโน อันตะคามิง นะมามิหัง

    ๙. ระ. ระโต นิพพานะสัมปัตเต ระโต โย สัตตะโมจะเน <O:pรัมมาเปตีธะ สัตเต โย ระณะจัตตัง นะมามิหัง

    ๑๐. หัง. หัญญะติ ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง <O:pหังสะมานัง มะหาวีรัง หันตะปาปัง นะมามิหัง

    ๑๑. สัม. สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมา เทเสสิ ปาณินัง <O:pสังสารัง สังวิฆาเฏติ สัมพุทธันตัง นะมามิหัง

    ๑๒. มา. มาตาวะ ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโต <O:pมานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง

    ๑๓. สัม. สัญจะยัง ปาระมี สัมมา สัญจิตะวา สุขะมัตตะโน <O:pสังขารานัง ขะยัง ทิสวา สันตะคามิง นะมามิหัง

    ๑๔. พุท. พุชฌิตวา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง <O:pพุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง

    ๑๕. โธ. โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณินัง<O:pโธตะเกลสัง มะหาปุญญัง โธตาสะวัง นะมามิหัง

    ๑๖. วิช. วิเวเจติ อะสัทธัมมา วิจิตะวา ธัมมะเทสะนัง <O:pวิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง

    ๑๗. ชา. ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต <O:pชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติมุตตัง นะมามิหัง

    ๑๘. จะ. จะเยติ ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง <O:pจะชันตัง ปาปะกัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง

    ๑๙. ระ. ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตา โลกะสัมปะทา <O:pระชะโทสาทิเกลเสหิ ระหิตันตัง นะมามิหัง

    ๒๐. ณะ. นะมิโตเยวะ พรหเมหิ นะระเทเวหิ สัพพะทา <O:pนะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง

    ๒๑. สัม. สังขาเร ติวิเธ โลเก สัญชานาติ อะนิจจะโต <O:pสัมมา นิพพานะสัมปัตติ สัมปันโน ตัง นะมามิหัง

    ๒๒. ปัน. ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก <O:pปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ๒๓. โน. โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะ ปาปัง อะการะยิ โน สะโม อัตถิ ปัญญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง

    ๒๔. สุ. สุนทะโร วะระรูเปนะ สุสะโร ธัมมะภาสะเน <O:pสุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง

    ๒๕. คะ. คัจฉันโต โลกิยา ธัมมา คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง <O:pคะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตัญญาณัง นะมามิหัง

    ๒๖. โต. โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร <O:pโตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตละจิตตัง นะมามิหัง

    ๒๗.โล. โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร <O:pโลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง

    ๒๘. กะ. กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัตวา ทุกขักขะยัง ชิโน <O:pกะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถาสัณหัง นะมามิหัง

    ๒๙. วิ. วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสตวา ตะโย ภะเว <O:pวิเสสัญญาณะสัมปันโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง

    ๓๐.ทู. ทูเส สัตเต ปะหาเสนโต ทูรัฏฐาเน ปะกาสะติ <O:pทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหันตัง นะมามิหัง

    ๓๑. อะ. อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทิปะทุตตะโม <O:pอะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง

    ๓๒. นุต. นุเทติ ราคะจิตตานิ นุทาเปติ ปะรัง ชะนัง <O:pนุนะ อัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง

    ๓๓. ตะ. ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง <O:pตัณหายะ วิจะรันตานัง ตัณหาฆาฏัง นะมามิหัง

    ๓๔. โร. โรเสนโต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กุชฌะติ <O:pโรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะหันตัง นะมามิหัง

    ๓๕. ปุ. ปุณันตัง อัตตะโน ปาปัง ปุเรนตัง ทะสะปาระมี <O:pปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง

    ๓๖. ริ. ริปุราคาทิภูตัง วะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ <O:pริตตัง กัมมัง นะ กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง

    ๓๗. สะ. สัมปันโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะวะโร ชิโน <O:p</O:pสะยัมภูญาณะสัมปันโน สัณหะวาจัง นะมามิหัง

    ๓๘. ทัม. ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิตะวา สะเทวะกัง <O:pทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินทริยัง นะมามิหัง

    ๓๙. มะ. มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ <O:pมะหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทธัง นะมามิหัง

    ๔๐. สา. สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทัง <O:pสาระถี วิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง

    ๔๑. ระ. รัมมะตาริยะสัทธัมเม รัมมาเปติ สะสาวะกัง <O:pรัมเม ฐาเน วะสาเปนตัง ระณะหันตัง นะมามิหัง

    ๔๒. ถิ. ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก <O:p</O:pถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตัง ธัมเม นะมามิหัง

    ๔๓. สัต. สัทธัมมัง เทสะยิตวานะ สันตะนิพพานะปาปะกัง <O:pสะสาวะกัง สะมาหิตัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง

    ๔๔. ถา. ถานัง นิพพานะสังขาตัง ถาเมนาธิคะโต มุนิ <O:pถาเน สัคคะสิเว สัตเต ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง

    ๔๕. เท. เทนโต โย สัคคะนิพพานัง เทวะมะนุสสะปาณินัง <O:pเทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะเสฏฐัง นะมามิหัง

    ๔๖. วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง <O:pวันทิตัง เทวะพรหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง

    ๔๗. มะ. มะหะตา วิริเยนาปิ มะหันตัง ปาระมิง อะกา<O:pมะนุสสะเทวะพรหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง

    ๔๘. นุส. นุนะธัมมัง ปะกาเสนโต นุทะนัตถายะ ปาปะกัง <O:pนุนะ ทุกขาธิปันนานัง นุทาปิตัง นะมามิหัง<!-- google_ad_section_end -->

    ๔๙. สา. สาวะกานังนุสาเสติ สาระธัมเม จะ ปาณินัง สาระธัมมัง มะนุสสานัง สาสิตันตัง นะมามิหัง

    ๕๐.นัง. นันทันโต วะระสัทธัมเม นันทาเปติ มะหามุนิ <O:pนันทะภูเตหิ เทเวหิ นันทะนียัง นะมามิหัง

    ๕๑. พุท. พุชฌิตาริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกัง <O:pพุทธะญาเณหิ สัมปันนัง พุทธัง สัมมา นะมามิหัง

    ๕๒. โธ. โธวิตัพพัง มะหาวีโร โธวันโต มะละมัตตะโน <O:pโธวิโต ปาณินัง ปาปัง โธตะเกลสัง นะมามิหัง

    ๕๓. ภะ. ภะยะมาปันนะสัตตานัง ภะยัง หาเปติ นายะโก <O:pภะเว สัพเพ อะติกกันโต ภะคะวันตัง นะมามิหัง

    ๕๔. คะ. คะหิโต เยนะ สัทธัมโม คะตัญญาเณนะ ปาณินัง <O:pคะหะณิยัง วะรัง ธัมมัง คัณหาเปนตัง นะมามิหัง

    ๕๕. วา. วาปิตัง ปะวะรัง ธัมมัง วานะโมกขายะ ภิกขุนัง <O:pวาสิตัง ปะวะเร ธัมเม วานะหันตัง นะมามิหัง

    ๕๖. ติ. ติณโณ โย สัพพะปาเปหิ ติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต <O:pติเร นิพพานะสังขาเต ติกขะญาณัง นะมามิหัง ฉัปปัญญาสะ พุทธะคาถา พุทธะคุณา สุคัมภิรา


    เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา

    อภิวาท แด่พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น , ผู้มีวิญญาณวิเศษอันหลักแหลมคมกล้า พระพุทธคุณคาถารวม ๕๖ พระคาถา แสดงถึงพระพุทธคุณอย่างลึกซึ้ง ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธคุณทั้งหลาย ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ในกาลทั้งปวงตลอดกาลเป็นนิตย์ด้วย เทอญ ..
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระธรรมคุณ ๓๘


    สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก <O:pโอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วัญญูหีติ

    ๑. สวาก. สวาคะตันตัง สิวัง รัมมัง สวานะยัง ธัมมะเทสิตัง <O:pสวาหุเนยยัง ปุญญะเขตตัง สวาสะภันตัง นะมามิหัง

    ๒. ขา. ขาทันโต โย สัพพะปาปัง ขายิโต โย จะ มาธุโร <O:pขายันตัง ติวิธัง โลกัง ขายิตันตัง นะมามิหัง

    ๓. โต. โตเสนโต สัพพะสัตตานัง โตเสติ ธัมมะเทสะนัง<O:pโตสะจิตตัง สะมิชฌันตัง โตสิตันตัง นะมามิหัง

    ๔. ภะ. ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห อนุตตะโร <O:pภัคคะกิเลสะสัตตานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง

    ๕. คะ. คัจฉันโต รัมมะเก สิเว คะมาปิโต สะเทวะเก<O:pคัจฉันโต พรหมะจะริเย คัจฉันตันตัง นะมามิหัง

    ๖.วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง วันตะปาปะกัง <O:pวันตัง พาละมิจฉาทีนัง วันตะคันถัง นะมามิหัง

    ๗.ตา. ตาเรสิ สัพพะสัตตานัง ตาเรสิ โอริมังติรัง<O:pตาเรนตัง โอฆะสังสารัง ตาเรนตันตัง นะมามิหัง

    ๘. ธัม. ธะระมาเนปิ สัมพุทเธ ธัมมัง เทสัง นิรันตะรัง <O:pธะเรติ อะมังตัง ฐานัง ธะเรนตันตัง นะมามิหัง

    ๙. โม. โมหัญเญ ทะมันโต สัตเต โมหะชิเต อะการะยิ <O:p</O:pโมหะชาเต ธัมมะจารี โมหะชิตัง นะมามิหัง

    ๑๐. สัน. สัพพะสัตตะตะโมนุโท สัพพะโสกะวินาสะโก <O:pสัพพะสัตตะหิตักกะโร สัพพะสันตัง นะมามิหัง

    ๑๑. ทิฏ. ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปัตโต ทิฏฐิกังขาทะโย ลุโต <O:pทิฏฐี ทวาสัฏฐิ ฉินทันโต ทิฏฐะธัมมัง นะมามิหัง

    ๑๒. ฐิ. ฐิติสีละสะมาจาเร ฐิติเตระสะธุตังคะเก <O:p</O:pฐิติธัมเม ปะติฏฐาติ ฐิติปะทัง นะมามิหัง

    ๑๓. โก. โกกานัง ราคัง ปีเฬติ โกโธปิ ปะฏิหัญญะติ <O:pโกกานัง ปูชิโต โลเก โกกานันตัง นะมามิหัง

    ๑๔. อะ. อัคโค เสฏโฐ วะระธัมโม อัคคะปัญโญ ปะพุชฌะติ <O:pอัคคัง ธัมมัง สุนิปุณัง อัคคันตัง วะ นะมามิหัง

    ๑๕. กา. กาเรนโต โย สิวัง รัชชัง กาเรติ ธัมมะจาริเย <O:pกาตัพพะสุสิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหัง

    ๑๖. ลิ. ลิโต โย สัพพะทุกขานิ ลิขิโต ปะฏิกัตตะเย <O:p</O:pลิมปิเตปิ สุวัณเณนะ ลิตันตังปิ นะมามิหัง

    ๑๗. โก. โก สะทิโสวะ ธัมเมนะ โก ธัมมัง อะภิปูชะยิ <O:pโก วินทะติ ธัมมะระสัง โกสะลันตัง นะมามิหัง

    ๑๘. เอ. เอสะติ พุทธะวะจะนัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง <O:p</O:pเอสะติ สัคคะโมกขัญจะ เอสะตันนัง นะมามิหัง

    ๑๙. หิ. หิเน ฐาเน นะ ชายันเต หิเน โถเมติ สุคคะติง <O:pหิเน โมหะสะมัง ชาลัง หินันตังปิ นะมามิหัง

    ๒๐. ปัส. ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก<O:pปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง

    ๒๑. สิ. สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา <O:pสีเลนะ นิพพุติง ยันติ สีละธัมมัง นะมามิหัง

    ๒๒.โก. โก โส อัคคะปุญโญ พุทโธ โกธะชะหัง อะธิคัจฉะติ<O:p]โก ธัมมัญจะ วิชานาติ โกธะวันตัง นะมามิหัง

    ๒๓. โอ. โอภะโต สัพพะกิเลสัง โอภัญชิโต สัพพาสะวัง<O:pโอภะโต ทิฏฐิชาลัญจะ โอภะตัง ตัง นะมามิหัง<!-- google_ad_section_end -->

    ๒๔. ปะ. ปัญญา ปะสัฏฐา โลกัสมิง ปัญญา นิพเพธะคามินี ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง

    ๒๕.นะ. นะรานะระหิตัง ธัมมัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง <O:pนะรานัง กามะปังเกหิ นะมิตันตัง นะมามิหัง

    ๒๖. ยิ. ยิชชะเต สัพพะสัตตานัง ยิชชะเต เทวะพรหมุนา<O:pยิชชิสสะเต จะ ปาณีหิ ยิฏฐันตัมปิ นะมามิหัง

    ๒๗. โก. โกปัง ชะหะติ ปาปะกัง โกธะโกธัญจะ นาสะติ<O:pโกธัง ชะเหติ ธัมเมนะ โกธะนุทัง นะมามิหัง

    ๒๘. ปัจ. ปะปัญจาภิระตา ปะชา ปะชะหิตา ปาปะกา จะโย <O:p</O:pปัปโปติ โสติวิปุโล ปัชโชตันตัง นะมามิหัง

    ๒๙. จัต. จะริตวา พรหมะจะริยัง จัตตาสะโว วิสุชฌะติ <O:pจะชาเปนตัง วะ ทาเนนะ จะชันตันตัง นะมามิหัง

    ๓๐. ตัง. ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ สัพพะวีริยัง <O:p]ตะโนติ สีละสะมาธิง ตะนันตังวะ นะมามิหัง

    ๓๑. เว. เวรานิปิ นะ พันธันติ เวรัง เตสูปะสัมมะติ <O:pวรัง เวเรนะ เวรานิ เวระสันตัง นะมามิหัง

    ๓๒.ทิ. ทีฆายุโก พะหุปุญโญ ทีฆะรัตตัง มะหัพพะโล <O:pทีฆะสุเขนะ ปุญเญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหัง

    ๓๓.ตัพ. ตะโต ทุกขา ปะมุญจันโต ตะโต โมเจติ ปาณิโน<O:pตะโต ราคาทิเกลเสหิ ตะโต โมกขัง นะมามิหัง

    ๓๔. โพ. โพธิง วิชชา อุปาคะมิ โพเธติ มัคคะผะลานิ จะ <O:pโพธิยา สัพพะธัมมานัง โพธิยันตัง นะมามิหัง

    ๓๕. วิญ. วิระติ สัพพะทุกขัสมา วิริเยเนวะ ทุลละภา <O:pวิริยาตาปะสัมปันนา วิระตันตัง นะมามิหัง

    ๓๖. ญู. ญูตัญญาเณหิ สัมปันนัง ญูตะโยคะสะมัปปิตัง <O:pญูตัญญาณะทัสสะนัญจะ ญูตะโยคัง นะมามิหัง

    ๓๗. หี. หีสันติ สัพพะโทสานิ หีสันติ สัพพะภะยานิ จะ<O:pหีสะโมหา ปะฏิสสะตา หีสันตันตัง นะมามิหัง

    ๓๘.ติ. ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม<O:p ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง


    อัฏฐัตติงสะ ธัมมะคาถา ธัมมะคุณา สุคัมภิรา เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา

    พระธรรมคุณ คือ คุณของพระธรรมโดยพิสดาร มี ๓๘ บท เป็นบทที่ได้แสดงคุณของพระธรรมอันลึกซึ้ง ด้วยอานุภาพของพระสัทธรรม ๑๐ ประการนั้น ขอความสุขสวัสดีมีชัย จงบังเกิดมีแก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลเป็นนิตย์ด้วย เทอญ
    <O:p<!-- google_ad_section_end -->
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระสังฆคุณ ๑๔

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิฯ


    ๑. สุ. สุทธะสีเลนะ สัมปันโน สุฏฐ โย ปะฏิปันนะโก สุนทะโร สาสะนะกะโร สุนทะรันตัง นะมามิหัง

    ๒. ปะ. ปะฏิสัมภิทัปปัตโต โย ปะสัฏโฐ วะ อะนุตตะโร ปัญญายะ อุตตะโร โลเก ปะสัฏฐันตัง นะมามิหัง

    ๓. ฏิ. ติตถะกะระชิโต สังโฆ ติตโถ ธีโรวะ สาสะเนติตถิโย พุทธวะจะเน ติตถันตังปิ นะมามิหัง

    ๔. ปัน. ปะสัฏโฐ ธัมมะคัมภีโร ปัญญะวา จะ อะวังกะโตปัสสันโต อัตถะธัมมัญจะ ปะสัฏฐังปิ นะมามิหัง

    ๕. โน. โน เจติ กุสะลัง กัมมัง โน จะ ปาปัง อะการะยิโนนะตัง พุชฌะติ ธัมมัง โนทิสันตัง นะมามิหัง

    ๖. ภะ. ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห จะ ปาณินัง ภัญชะโก สัพพะเกลสานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง

    ๗. คะ. คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต โลกุตตะรัมปิจะคะโตเยวะ กิเลเสหิ คะมิตันตัง นามาะมิหัง

    ๘. วะ. วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติ สีละสัมปะทังวัณเณติ สีละรักขิตัง วัณณิตันตัง นะมามิหัง

    ๙. โต. โตเสนโต เทวะมะนุสเส โตเสนโต ธัมมะเทสะยิโตเสติ ทุฏฐะจิตเตปิ โตเสนตันตัง นะมามิหัง<O:p

    ๑๐ สา. สาสะนัง สัมปะฏิจฉันโน สาสันโต สิวะคามินิสาสะนะมะนุสาสันโต สาสันตันตัง นะมามิหัง

    ๑๑. วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง สุทิฏฐิกัง วันตัญจะ สัพพะปาปานิ วันตะเกลสัง นะมามิหัง

    ๑๒. กะ. กะโรนโต สีละสะมาธิง กะโรนโต สาระมัตตะโน กะโรนโต กัมมะฐานานิ กะโรนตันตัง นะมามิหัง

    ๑๓. สัง. สังสาเร สังสะรันตานัง สังสาระโต วิมุจจิ โสสังสาระทุกขา โมเจสิ สังสุทธันตัง นะมามิหัง

    ๑๔. โฆ. โฆระทุกขักขะยัง กัตวา โฆสาเปติ สุรัง นะรังโฆสะยิ ปิฏะกัตตะยัง โฆสะกันตัง นะมามิหัง

    จะตุททะสะ สังฆะคาถา สังฆะคุณา สุคัมภิรา เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา ฉัปปัญญาสะ พุทธะคุณา ธัมมะคุณา อัฏฐะติงสะติ สังฆคุณา จะ จุททะสะ อัฏฐตตะระสะเต อิเม ทิเน ทิเน สะระเตปิ โสตถี โหนติ นิรันตะรันติ.

    พระสังฆคาถา ๑๔ บท แสดงพระสังฆคุณลึกซึ้ง ด้วยอานุภาพแห่งพระสังฆคุณเหล่านั้น ขอความสวัสดี มีชัยจงมีแก่ ข้าพระพุทธเจ้า ในกาลทั้งปวง
    นิพพานะ ปัจจโย โหตุ

    สะตะอัฏฐะธัมมะคาถา รัตตะนัตตะยะคุณาสะมัตตา เอเตนะ ชะยะเตเชนะ โสตถิเม ชะยะมังคะลัง ฯ
    ปุตโต ตะยาหัง มะหาราชัง ตะวัง มังโปสะชานาที อัญโญ กิญจิ เทโว โทเสติ สะมัง ปัชชะ ฯ<O:p</O:p
    อิติปาระมิตา ติงสา อิติ สัพพัญญุมาคะตา อิติ โพธิมะ นุปปัตโต อิติ ปิโสจะเต นะโม ฯ<O:p</O:p
    ภะคะวา ภะคะวา นามะ ภะโค กิเลสะ พาหะโน ภะโคสังสาระจักกานัง ภะคะวา นามะ เตนะโม ฯ
    <O:p</O:p
    รวม ๓ ห้อง ๑๐๘ คาถา อิติปิโสระตะนะมาลา นิฏฐิตัง<O:p<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กุมภาพันธ์ 2010
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อิติปิโสธงชัย

    นะโม ๓ จบ<O:p</O:p


    พุทธัง ชีวิตัง ยาวะนิพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p


    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุขะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ<O:p</O:p


    ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะนิพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p


    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฎฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ<O:p</O:p


    สังฆัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p


    สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อุฎฐะ ปุริสะปุคคลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชลีกะระณีโย อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ<O:p</O:p



    อิติปิโสเต็ม<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สุขะโต<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา โลกะวิทู<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา พุทโธ ภะคะวาติ<O:p</O:p


    คาถาหัวใจมงกุฏพระพุทธเจ้า<O:p</O:p

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธนาเมอิ อิเมนา พุทธตังโสอิ อิโสตัง พุทธปิติอิ<O:p</O:p

    (หลวงปู่เอี่ยม ได้ถวายแด่สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในการเสด็จประพาสยุโรบ)<O:p</O:p

    พระคาถาอิติปิโส ๘ ทิศ<O:p</O:p
    คาถายันต์เกราะเพ็ชร สมเด็จลุน แห่งนครจำปาศักดิ์<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    ๑. อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา<O:p</O:p
    ชื่อ กระทู้ ๗ แบก ประจำอยู่ทิศบูรพา ( ทิศตะวันออก )<O:p</O:p
    ๒. ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง<O:p</O:p
    ชื่อ ฝนแสนห่า ประจำอยู่ทิศอาคเนย์ ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )<O:p</O:p
    ๓. ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์เกลื่อนสมุทร ประจำอยู่ทิศทักษิณ ( ทิศใต้ )<O:p</O:p
    ๔. โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์ถอดจักร ประจำอยู่ทิศหรดี ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )<O:p</O:p
    ๕. ภะ สัม สัม วิ สา เท ภะ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ ประจำอยู่ทิศประจิม ( ทิศตะวันตก )<O:p</O:p
    ๖. คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์พลิกแผ่นดิน ประจำอยู่ทิศพายัพ ( ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ )<O:p</O:p
    ๗. วา โธ โน อะ มะ มะ วา<O:p</O:p
    ชื่อ ตวาดฟ้าป่าหิมพานต์ ประจำอยู่ทิศอุดร ( ทิศเหนือ )<O:p</O:p
    ๘. อะ วิช สุ นุต สา นุ ติ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์แปลงรูป ประจำอยู่ทิศอีสาน ( ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ )<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อิติปิโส ถอยหลัง<O:p</O:p

    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สะ มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ติ อิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p

    อิติปิโส แปลงรูป<O:p</O:p


    กะ วิ โล ทู โต อะ คะ นุต<O:p</O:p


    สุ ตะ โน โร ปัน ปุ สัม ริ<O:p</O:p


    ณะ สะ ระ ทัม จะ มะ ชา สา<O:p</O:p


    วิช ระ โธ ถิ พุท สัต สัม ถา<O:p</O:p


    มา เท สัม วะ หัง มะ ระ นุส<O:p</O:p


    อะ สา วา นัง คะ พุท ภะ<O:p</O:p


    โธ โส ภะ ปิ คะ ติ วา อิ ติ<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    อิติปิโส ตรึงไตรภพ<O:p</O:p


    อิ ติ ติ วา ปิ คะ โส ภะ<O:p</O:p


    ภะ โธ คะ พุท วา นัง อะ สา<O:p</O:p


    ระ นุส หัง มะ สัม วะ มา เท<O:p</O:p


    สัม ภา พุท สัต โธ ถิ วิช ระ<O:p</O:p


    ชา สา จะ มะ ระ ทัม ณะ สะ<O:p</O:p


    สัม ริ ปัน ปุ โน โร สุ ตะ<O:p</O:p


    คะ นุต โต อะ โล ทู กะ วิ<O:p</O:p
    พระพุทธมนต์บทนี้ เรียกอิติปิโสตรึงไตรภพ ไตรภพคือมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก ถ้าต้องการให้คนในสามโลกนี้ เคารพนับถือ เราให้เสกคาถานี่เป็นกิจวัตรประจำวัน ทั้งเทวดา และพระพรหมจะมากราบไหว้บูชาเรา ก่อนจะไปสังคมใดให้เสกคาถานี้กี่จบก็ได้ จะเป็นที่เคารพนับถือ กราบไหว้บูชาของคนในสังคมนั้น เราจะพูดสนทนา หรือสั่งเสียอะไรเขาจะเชื่อฟัง คนหรือสัตว์มีทิฐิมานะกล้าแข็ง ถ้าต้องการให้หายพยศ ให้เสกคาถาบทนี้ก่อน หรือจะเสกทำน้ำมนต์ให้อาบให้กินก็ได้<O:p</O:p
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียน ท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และ คณะพระวังหน้า ทุกๆท่าน

    ภายในวัน สองวันนี้ ผมจะไปสั่งกล่องสแตนเลส ประมาณ 5 กล่อง(ก่อน) (ในการบรรจุพระพิมพ์ต่างๆของวังหน้า) เพื่อที่จะนำไปบรรจุตามพระเจดีย์ต่างๆ โดยพระเจดีย์แรก จะนำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์(ผมจำชื่อไม่ได้แล้ว) ที่จังหวัดนราธิวาส (ซึ่งที่ผมเคยนำมาลงไว้ในกระทู้พระวังหน้าฯนี้)

    และจะถวาย พระบูชาหลวงปู่พระอุปคุต(ปางฉันทกิจ) 1 องค์

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    และต้องไปซื้อแผ่นทองเหลือง เพื่อไว้เขียนรายละเอียดของพระพิมพ์ที่จะบรรจุ ซึ่งแผ่นทองเหลืองที่เขียนรายละเอียดแล้ว จะนำใส่ไว้ในกล่องสแตนเลสด้วย

    อีกทั้งรายชื่อผู้ที่ร่วมกันถวาย ผมจะเขียนลงในแผ่นทองเหลือง และนำใส่ไว้ในกล่องสแตนเลสด้วยเช่นกัน

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • yeen.JPG
      yeen.JPG
      ขนาดไฟล์:
      20.9 KB
      เปิดดู:
      265
    • yeen1.JPG
      yeen1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      32.8 KB
      เปิดดู:
      255
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 15 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 13 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, psombat+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 22 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 19 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, newcomer+, psombat+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ่า ท่านลูกน้อง ดีป่าวครับ แรงป่าวครับ

    .
     
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    นำหยกเทพเจ้าไฉ่ซิ้งเอี้ยมาฝากครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010433.JPG
      P1010433.JPG
      ขนาดไฟล์:
      309.1 KB
      เปิดดู:
      746
    • P1010434.JPG
      P1010434.JPG
      ขนาดไฟล์:
      339.5 KB
      เปิดดู:
      499
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  14. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    จองด้วย2องค์เช่นกันครับ หุ หุ
     
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    [​IMG][​IMG]

    ขอจอง 2 องค์ครับคุณเพชร

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    จองด้วย2องค์เช่นกันครับ หุ หุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    หุ..หุ..หลานเพิ่งกลับจากฮ่องกง เช่ารูปหล่อลอยองค์ทอง 18 K มาฝาก ขนาดเท่าฝ่ามือ ประกอบกับปีนี้ตรงกันหลายวาระ ทั้งวันอมาวสี ทั้งวาเลนไทน์ ทั้งตรุษจีน ปีนี้เลยจะไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิ้งเอี้ยที่บ้านไปด้วย ก็คิดว่าจะวางชิ้นหยกที่โต๊ะพิธีด้วยครับ ของวังหน้า วังหลวงมีสื่อเทพเจ้าองค์เดิมเมื่อ 100 กว่าปี ดีอยู่แล้ว พระท่านจะได้เสด็จลงมาได้ง่ายขึ้น ของเขาวางเทียบเขียว ของเรานำหยกวางทับเทียบเขียวอีกชั้น..อิ..อิ..พระองค์ท่านต้องเสด็จมาแน่ๆอยู่แล้วครับ ไม่เสด็จไม่ได้ครับ...

    ส่วนท่านใดต้องการเช่าหา เพื่อนำปัจจัยเข้าสมทบทุนพระเจดีย์ผาผึ้งก็ต้องติดต่อคุณหนุ่ม เจาะจงกันไปเลยว่า ขอบูชาแผ่นหยกเทพเจ้าไฉ่ซิ้งเอี้ย...
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ไหนๆก็เป็นบรรยากาศจีนๆ ก็นำพระธาตุพระแม่กวนอิมมาให้กราบสักการะกัน..

    คาถาจากพระแม่เจ้ากวนอิม

    เหว่ย-ฉาง-ซิน-เจี่ย......คาถาจากพระแม่กวนอิม





    นำมาจาก...8 วัน 8 วรรค.....ที่มอบให้แก่อาจารย์คุณแม่สงกรานต์ สมบูรณ์ศฤงค์ ใช้สวดภาวนาคู่กับคาถาบท นำโมฮูก นำโมฮวบ ทุกๆวัน จะปรากฏอัศจรรย์ยิ่งนัก.....


    "เหว่ย-ฉาง-ซิน-เจี่ย ผู้ชนะสิบทิศ อมตะ ณ จิตข้าอย่าแปรผัน


    เหลี่ยว-ปอ-เปีย-ซา-งัก ดุจตะวันส่องแสงแจ้งสุขสม


    จิง-ฉัก-เฉา-โป-ปอ ชนะแล้วไม่กลับมาสู่ปลักตม


    เหว่ย-ฉาง-หยุ่ย-ฉอ-เหล่า-เฉียง-หว้า แด่บรมพระนิพพานสถานเดียว


    ปิ่ง-เฉีย-ยา-จิ่ง-เกี้ย-เปียง-เจียง-ฉั่ว อมตะชนะนี้พลีชีพถวาย


    จิ่ว-เฉี้ยว-ฉาย-ปุง-เปียว-ปะ-ปา-หมิง จงสลายจากสิ่งหมองอย่าข้องเกี่ยว


    เจ็ก-เฉียก-ฉอย-เฉียง-ต้า-บ่-ตอ-ปิง ประกาศิตหมดจดอย่าลดเลี้ยว


    เหยียง-จง-มิง-ซือ-จื่อ-ล่ง-เจี่ยง-กัง-จี ชาวเพียวเพียวบริสุทธิ์รุดทำใจ




    ผู้ตั้งกระทู้ ปู่ใหญ่ :: วันที่ลงประกาศ 16-10-2007 21:32:59​


    http://www.phranippan.com/index.php?...ge=3&No=259457<!-- google_ad_section_end -->



    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]


    </FIELDSET>
    เคยแจกให้เพื่อนๆเวบพลังจิต 36 ท่านเมื่อ 2 ปีก่อน เอาไว้หากได้รับมาอีก จะนำมามอบกันอีกครับ..

    นำภาพพระแม่กวนอิมทองคำบริสุทธิ์เกิน ๑๐๐ % ที่"เสด็จมา"ใน"ผลส้ม"ที่มีท่านผู้หนึ่งถวายพระก่อนเจริญกรรมฐาน และเมื่อเสร็จจากกรรมฐานได้แกะผลส้มออกจะทาน จึงได้พบพระแม่กวนอิมทองคำบริสุทธิ์องค์นี้ภายในผลส้ม และท่านได้นำไปให้สถาบันแห่งหนึ่งตรวจสอบค่าความบริสุทธิ์ของทองคำนี้ทางวิทยาศาสตร์

    ขอนำภาพความอัศจรรย์ของการบูชาพระแม่กวนอิมด้วยจิตที่เคารพมาให้ชมกัน ท่านสามารถจะไปยังสถาบันฯที่กล่าวอ้างดังข้อมูลเพื่อสอบถามความเป็นไปได้ครับ...

    ภาพพระแม่กวนอิมทองคำบริสุทธิ์ ๑๐๐.๑ % ที่ "เสด็จมา" ในผลส้มที่มีผู้ถวายพระก่อนเจริญกรรมฐาน<!-- google_ad_section_end -->



    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    กระหน่ำตามด้วยหยก ๑๒ นักษัตรฝีมือช่างสิบหมู่ ปีขาล

    [​IMG]

    พระเครื่องยุคเก่าๆ ประเภทพระเนื้อดิน พระเนื้อผงและเครื่องรางของขลังต่างๆ นั้น เราจะเห็นว่าบางครั้งพระและเครื่องรางเหล่านั้นมีการลงรักปิดทองบ้าง ลงรักอย่างเดียวบ้าง คนในสมัยก่อนเขาลงรักไว้ทำไม ซึ่งที่เขาลงรักไว้นั้นมีเหตุผลอยู่สองอย่างคือ การลงรักเพื่อรักษาเนื้อพระไว้ไม่ให้สึกหรอได้ง่ายๆ และอีกเหตุผลหนึ่งก็คือลงรักไว้เพื่อปิดทองที่องค์พระ

    การลงรักเพื่อรักษาองค์พระ เพราะในสมัยก่อนนั้นการเลี่ยมยังไม่มีการทำตลับ หรือเลี่ยมปิดอย่างในปัจจุบัน ส่วนมากเขาจะถักลวด ถักเชือกห้อยคอ หรือที่ดีหน่อยก็เลี่ยมทองหรือเลี่ยมเงินจับขอบองค์พระแล้วห้อยอย่างนั้น อีกแบบหนึ่งก็คือนำพระมาห่อผ้าผูกติดแขน หรือผูกเชือกห้อยคอ และอีกแบบก็คือเวลาจะเดินทางไปไหนมาไหนก็นิยมอมพระไว้ในปากเสียเลย พระบางองค์จึงมีคราบน้ำหมากจับผิวพระ การลงรักเคลือบองค์พระไว้ก็จะทำให้สามารถรักษาผิวพระที่ถูกสัมผัสกับเนื้อหนังของเราได้ ไม่ให้สึกหรอลงไปมากนัก ประเภทเครื่องรางของขลังเราจะเห็นว่าประเภทตะกรุดและเบี้ยแก้จะมีการลงรักกันมาก เครื่องรางเหล่านี้จะถักเชือกไว้เพื่อคาดติดตัวตลอดเวลา การลงรักก็เพื่อเป็นการเคลือบเชือกที่ถักไว้ เพื่อรักษาให้เชือกมีความคงทนไม่ขาดได้ง่ายๆ


    การลงรักอีกจุดประสงค์หนึ่งก็คือ เพื่อทำการปิดทองที่องค์พระ การปิดทองที่องค์พระนั้นก็เพราะความเคารพศรัทธาในองค์พระนั้นๆ แต่ถ้าจะปิดทองลงไปเฉยๆ ทองที่ปิดไว้ก็จะลอกออกได้ง่ายๆ เพราะทองจะไม่จับกับองค์พระแนบแน่น เขาจึงนำน้ำรักมาลงอาบไว้ก่อน น้ำรักจะมีความเหนียวและแห้งยาก หลังจากนั้นเขาจึงนำทองคำเปลวมาปิดไว้อีกทีหนึ่ง ตัวน้ำยางรักจะเป็นตัวยึดเหนี่ยวองค์พระกับทองให้ติดไว้ได้อย่างแนบแน่นไม่หลุดลอกออกได้ง่ายๆ

    จากเหตุผลที่ได้กล่าวมานี้เราจึงได้พบเห็นพระเก่าๆ และเครื่องรางต่างๆ มีรักและทองปิดอยู่ พระและเครื่องรางนั้นๆ บางอย่างก็ไม่ได้มีการลงรักมาจากวัด แต่เจ้าของนำมาลงรักหรือปิดทองกันเอาเอง และที่มีการลงรักปิดทองมาจากวัดเลยก็มี โดยเฉพาะพระเนื้อผงหรือพระปิดตาผงคลุกรักเป็นต้น

    พระที่มีการลงรักอย่างเช่น พระสมเด็จ วัดระฆังฯ พระโคนสมอ พระหลวงพ่อโตบางกระทิง พระวัดตะไกร พระปิดตาสายเมืองชลฯ ต่างๆ เหล่านี้ ถ้าเป็นพระแท้ๆ เราจะสังเกตเห็นความเก่าของรักได้ เครื่องรางประเภทตะกรุดก็ตาม บางทีไม่ทราบว่าเป็นตะกรุดของวัดใด แต่เราก็สามารถประเมินความเก่าได้จากรักที่ลงไว้ได้ ความแห้งของตัวน้ำรักนั้นจะแสดงถึงความเก่าได้เป็นอย่างดี

    พระเก่าๆ ที่มีรักติดอยู่ที่องค์พระนั้น นอกจากจะทำให้ประเมินความเก่าของพระได้แล้ว ยังมองดูแล้วเกิดความซึ้งได้ ทำให้องค์พระมีเสน่ห์ ดูเข้มขลัง

    ที่มา นสพ.ข่าวสด


    อีกนัยหนึ่งที่อาจารย์ปู่ประถม อาจสาครได้กล่าวไว้ในหนังสือวิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จฯ ได้กล่าวถึงการลงรักว่า ลงด้านหน้า และหลัง นัยว่ารักทั้งต่อหน้า และลับหลัง ลงรักด้านข้าง นัยว่า คนรอบข้างก็รักด้วยเช่นกัน เป็นกลที่ทุกคนคิดไปไม่ถึงความลึกซึ้งนี้ ซึ่งปัจจุบันการลงรักในพระเครื่องนี้ ไม่เห็นที่ไหนเขาจะทำกัน เนื่องจากยางรักที่มีราคาแพงนั่นเอง การทำในปัจจุบัน จึงใช้สี flex ทำกันเท่านั้น


    เรื่องการลงรักปิดทองพระด้วยทองคำเปลว
    งานลงรักปิดทองเดิมเรียกช่างแขนงนี้ว่าช่างลายรดน้ำเป็นงานประณีตศิลป์ของไทย จัดอยู่ในงานช่างสิบหมู่แขนงช่างรัก มีวิวัฒนาการสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษแต่ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีมาตั้งแต่สมัยใด ได้รับอิทธิพลจากใครแต่สำหรับในประเทศไทยเชื่อว่าน่าจะมีการพัฒนามาจากงานช่างรักเมื่อครั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี มีการลงรักปิดทองพระพุทธรูป ต่อมาได้พบว่าการลงรักปิดทองได้นำมาตกแต่งประดับสิ่งของเครื่องใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ ชนชั้นสูงจนถึงชาวบ้านธรรมดาและเป็นเครื่องใช้ในพระศาสนา งานลงรักปิดทองมีตั้งแต่สิ่งของที่มีขนาดเล็กจนถึงผนังห้องที่มีขนาดใหญ่ ตั้งแต่เนื้อที่ไม่กี่ตารางนิ้ว จนถึงหลายร้อยตารางฟุต ปัจจุบันการบูชาองค์จตุคามรามเทพทำให้การลงรักปิดทองพระกลับมาเป็นกระแสนิยมของแทบทุกชุมชน ทุกภาคของประเทศ ทำให้เกิดเป็นอาชีพหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับหลายชุมชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการปิดทองพระด้วยทองคำเปลว มิได้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ แต่อาศัยกระแสเพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียนเท่านั้นการลงรักปิดทองพระ วิธีการดั้งเดิมใช้ยางจากต้นรักป่า ปัจจุบันหายากและราคาแพงมากจึงมีผู้ผลิตสีแทนยางรักป่าเรียกว่าสีแฟลกซ์(Flex) ซึ่งเป็นสีเชื้อน้ำมัน ผสมให้เจือจางด้วยน้ำมันสนและล้างออกด้วยทินเนอร์ ทำให้การปฏิบัติงานปิดทองพระด้วยทองคำเปลวมีวิธีการที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยากเหมือนแต่ก่อน การปฏิบัติงานลงรักปิดทองพระด้วยทองคำเปลววัสดุ-อุปกรณ์
    1. องค์พระขนาดเล็ก ( พระห้อยคอ )
    2. สีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์ (Flex)
    3. พู่กันสีน้ำเบอร์ 0
    4. พู่กันสีน้ำเบอร์ 12
    5. แผ่นทองคำเปลว
    6. ไม้แหลม
    7. น้ำมันสน
    8. ทินเนอร์
    9. ภาชนะรูปถ้วยขั้นตอนการปฏิบัติงาน
    1. จับองค์พระด้วยมือที่ถนัดด้วยหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้วกลาง เอียงองค์พระประมาณ45องศา
    เพื่อสังเกตให้เห็นด้านลึกหรือด้านหนาขององค์พระ
    2. นำพู่กันสีน้ำเบอร์ 0 จุ่มสีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์(Flex) โดยให้สีติดเฉพาะปลายพู่กันแล้วหมุนปลายพู่กันกับขอบภาชนะที่ใส่สี เพื่อให้ปลายพู่กันแหลม
    3. เริ่มระบายสีจากบริเวณขอบองค์พระจากด้านลึกขององค์พระ(ส่วนที่สูงจากพื้นขององค์พระ) แล้วค่อยระบายส่วนอื่นๆจนทั่วทั้งองค์พระ ขณะระบายสีให้แตะปลายพู่กันบนองค์พระเบาๆอย่ากดให้ปลายพู่กันงอ เพราะจะทำให้เส้นสีที่ระบายไม่คมชัด การระบายสีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์ (Flex)ให้ระบายเป็นแนวยาวอย่างต่อเนื่องตามเส้นขอบขององค์พระ เพราะถ้าระบายสีสั้นๆแล้วต่อเส้นสี จะเกิดเป็นรอยหยักของเส้นสี เมื่อปิดทองคำเปลวแล้วงานจะไม่ประณีต เมื่อระบายสีขอบขององค์พระเสร็จแล้วให้ระบายองค์พระให้ทั่ว เกลี่ยสีให้บางและเรียบโดยระบายสีให้ทีพู่กันไปในทิศทางเดียวกัน ( ในขั้นตอนนี้ถ้าสีเลอะโดนพื้นขององค์พระให้ใช้ไม้แหลมขูดออกเบาๆ )
    4. นำองค์พระที่ระบายสีแล้วไปผึ่งให้แห้ง โดยปกติสีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์ (Flex) จะแห้งในระยะเวลา 3- 4 ชั่วโมง ถ้าต้องการให้สีแห้งเร็วขึ้นให้นำองค์พระไปผึ่งแดด ( สีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์ (Flex)จะแห้งในระยะเวลา 30-45 นาที ) ขึ้นอยู่กับความเข้มของแสงแดดหรือจะใช้วิธีเป่าด้วยลมร้อน สีรักเทียมหรือสีแฟลกซ์ (Flex) จะแห้งภายในระยะเวลา 30 นาที
    ( ขณะเร่งให้สีแห้งเร็วหรือจะปล่อยให้แห้งตามปกติก็ตาม ให้สังเกตว่าการแห้งในระดับใดเหมาะสมที่สุดสำหรับการปิดทองคำเปลว วิธีสังเกตให้ใช้นิ้วชี้แตะที่สีแฟลกซ์ (Flex) ถ้าสีไม่ดูดติดมือถือว่าสีแฟลกซ์ (Flex) แห้งพอเหมาะพร้อมสำหรับนำไปปิดทองคำเปลวต่อไป )
    5. การปิดทองคำเปลวให้วางองค์พระไว้ในภาชนะทรงถ้วย โดยวางองค์พระบนผ้าหรือวัสดุที่อ่อนนุ่นเพื่อไม่ให้องค์พระเกิดรอยขีดข่วน การวางองค์พระไว้ในภาชนะทรงถ้วยขณะปิดทองหรือปัดทองคำเปลว จะมีเศษทองคำเปลวหลุดร่วงจะได้ตกอยู่ภายในภาชนะที่รองรับ เศษทองคำเปลวสามารถนำมาปิดเก็บรายละเอียดขององค์พระได้อีก
    6. การเปิดแผ่นทองคำเปลว ให้เปิดเปลือกทอง ( กระดาษห่อทอง ) ทีละครึ่งแผ่นหรือเปิดเปลือกทอง ¾ ของแผ่นก็ได้ โดยจับเปลือกทองด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ ใช้ขนพู่กันสีน้ำเบอร์ 12 กดที่แผ่นทองคำเปลวเพื่อฉีกแผ่นทองเป็นชิ้น ใช้ขนพู่กันเดิมแตะที่แผ่นทองคำเปลวที่ฉีกไว้เพื่อดูดแผ่นทองไปปะบนองค์พระให้เต็มทั้งองค์ ใช้ขนพู่กันเดิมกดให้ทองคำเปลวติดแน่นกับองค์พระจนมองไม่เห็นสีแฟลกซ์ (Flex)
    7. จับพู่กันสีน้ำเบอร์ 12 หรือเบอร์ที่ใหญ่กว่าที่ปลายด้ามด้วยนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้วกลาง ปัดทองคำเปลวเพียงแค่สัมผัสผิวทอง ปัดไปมาหรือหมุนวนทุกซอกมุมขององค์พระก็จะได้องค์พระที่มีความเปล่งปลั่งของทองคำเปลว เหมือนองค์พระเป็นทองคำ
    ข้อสังเกต
    - การปิดทองคำเปลว ถ้าสีแฟลกซ์ (Flex) แห้งเกินไป ทองคำเปลวจะติดไม่หมดทั้งองค์พระ ต้องซ่อมในส่วนที่ทองคำเปลวไม่ติดตามวิธีการเดิม
    - ถ้าปิดทองคำเปลวในขณะที่สีแฟลกซ์ (Flex) ยังไม่แห้ง จะทำให้ทองคำเปลวจม มีสีหม่นหรือเรียกว่าทองหมอง
    - การปิดทองคำเปลวบนองค์พระที่เป็นเนื้อดิน ควรทาองค์พระด้วยกาวลาเท็กซ์ผสมน้ำเล็กน้อยแล้วรอให้แห้งก่อนระบายสีแฟลกซ์ (Flex) เพื่อไม่ให้สีแฟลกซ์ (Flex) ซึมเข้าเนื้อดินจะมีผลให้สีแห้งไม่สม่ำเสมอทั้งองค์พระ อีกวิธีหนึ่งคือพ่นเคลือบด้วยแลคเกอร์สเปรย์หรือสีสเปรย์ก็ได้
    - การปิดทองคำเปลวบนองค์พระที่เป็นเนื้อโลหะ ควรทาสีแฟลกซ์ (Flex) ที่องค์พระสองชั้น
    โดยทาชั้นแรก แล้วรอให้แห้งสนิทก่อนทาซ้ำครั้งที่สอง แต่ครั้งที่สองรอเพียงแค่สีหมาดแล้วปิดทองคำเปลวตามวิธีการเดิม
    http://www.wimut.moe.go.th/main/index.php?option=com_content&task=view&id=34&itemid=56
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    พระเครื่องชุดนี้ มี ๑๒ ชิ้น ไม่ควรแยกชิ้นออกเด็ดขาด หากเข้าใจการ"ชง" การ"ฮะ" จะได้ประโยชน์มากมาย ปฏิทินดวงจีนมีบอกไว้แทบทุกเล่มว่าปีนักษัตรใดชงกับปีใด เราก็สามารถใช้หลักการของปีนักษัตรที่เข้าได้กับปีนั้นแทน สีเขียวของหยก ตามหลักของ New Age แล้ว ถือว่าเป็นสีเกี่ยวกับการบำบัด และรักษา จะสังเกตในห้องผ่าตัด เสื้อกราวด์ของหมอ พยาบาล จะมีโทนสีเขียวทั้งหมด เป็นสีของต้นไม้ใบหญ้า ดูสดชื่น ผ่อนคลาย สบายใจ อีกนัยหนึ่งหมายถึงการเจริญเติบโต ความร่ำรวย มั่งคั่ง เป็นลักษณะของกระแสการดึงดูด...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    นั่นคือเวลามาก็มาเป็นชุด ๑๒ ชิ้น เวลาจะไปก็ไปเป็นชุด ๑๒ ชิ้น ...

    ความรู้เรื่องการชง การฮะ..

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" bgColor=#640002 border=0><TBODY><TR><TD>ดวงคู่สมพงษ์แบบจีน(ชง-ฮะ)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]ตารางดูคู่สมพงศ์แบบจีน ( ชง - ฮะ )
    วิชาคู่สมพงศ์ทั้งหลายที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีนทั้งสิ้น มาจากหลักวิชาฮวงจุ้ย(คัมภีร์อี้จิง) การดูคู่สมพงศ์นี้เพื่อประโยชน์ ในการใช้ดูคู่เรื่องเนื้อคู่ หรือคู่หุ้นส่วนธุรกิจการค้า เพื่อนฝูงผู้ร่วมงานทั้งหลาย

    ถ้าดูแล้วเห็นว่าดวงทั้งสองเกิดชงกันหรือปะทะกัน หมอดูก็จะแนะนำให้หลีกเลี่ยงเสีย ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็ต้องลดแรงปะทะให้หนักเป็นเบาลง ซึ่งวิธีการลดแรงปะทะหรือแก้นั้น ท่านซิงแสแนะนำไว้ให้ทำได้ 2 อย่างคือ

    1ใช้อุปกรณ์เป็นตัวแก้(ใช้เหรียญหรือล็อคเก็ตมาช่วยรับแรงปะทะ)
    2 ใช้บุคคลเป็นตัวแก้(หาบุคคลที่มีปีเกิดนักษัตรตามตำรามาแก้ชงเนื้อหารายละเอียดในเรื่องแก้ชงนี้มีค่อนข้างมากคงไม่สามารถแจงในwebนี้ได้)

    แต่มีอีกวิธีหนึ่งที่คนนิยมทำกันมากคือการไปทำบุญ[​IMG]ถวายสังฆทาน(ตามความเชื่อของไทย)ร่วมกันในทุกๆครบรอบวันแต่งงานหรือครบรอบวันเปิดกิจการร้านค้า(ที่เป็นหุ้นส่วนกัน) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง อุทิศส่วนบุญกุศลที่กระทำให้แก่เจ้ากรรมนายเวรเพื่อเปิดทางให้มีความสุขในด้านชีวิตคู่หรือเกิดความเจริญรุ่งเรืองในเรื่องคู่ ซึ่งรวมทั้งการเป็นคู่หุ้นส่วนธุรกิจด้วย แต่อีกนัยความเชื่อหนึ่งของคนจีนนิยมให้ไป ไหว้เทพเจ้าแห่งดวงชะตา <!-- google_ad_section_end --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์ 22 มกราคม 2549

    ทุกปีก่อนเทศกาลตรุษจีน เรามักจะได้ยินคำว่า “ปีชง”
    เมื่อทางวัดและศาลเจ้าต่างๆขึ้นบอร์ดว่า 4 ปีไหนชงกันบ้าง ต้องแก้ด้วยวิธีทำบุญ สะเดาะเคราะห์
    ปัดรังควานกับเทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตา หรือไท้ส่วยเอี้ย
    คนทั้งหลายตามนักษัตรปีชงนั้นก็ไม่รอช้าที่จะแก้ แก้แล้วได้ผลดีจริงๆหรือ

    คำตอบคือ ไม่แน่ใจ แต่ได้ความสบายใจ

    ปีนี้ 2549 นักษัตรปีจอ ปะทะตรงกับผู้ที่เกิดปีมะโรง ภาพรวมของปีนี้ที่จะเกิดผลคือ
    ผู้ทำความดีและเลวกรรม (การกระทำ) ย่อมส่งผลกับตนเองทั้งสิ้น

    คำว่า ชง = ปะทะ (ปรปักษ์) , ฮะ = ส่งเสริม (สมพงศ์) ตามหลักของฮวงจุ้ยแล้ว
    ชง - ฮะ เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับตัวบุคคล ไม่เกี่ยวกับทิศทาง

    ปีนี้ ชงกัน 2 คู่ 4 นักษัตร มวยคู่เอกคือ ปีมะโรงชง - ปีจอ ส่วนมวยคู่รองคือ ฉลู – มะแม

    “ชงแล้วไม่ดี เป็นเรื่องของประเพณี แต่ทางวิชาการ ชงแล้วดีก็มี
    เพราะงั้นเรื่องผิดหรือถูกอยู่ที่วิชาการ ไม่ใช่อยู่ที่ประเพณี”
    อาจารย์เกรียงไกร บุญธกานนท์ ประธานชมรมภูมิโหราศาสตร์กล่าวกับ METRO LIFE

    ตามหลักวิชาการ อาจารย์เกรียงไกรยืนยันว่า ชงหรือไม่ชงจะดูจาก “หลักปี” ไม่ได้ แต่การแก้แต่ละสำนักต่างกันไป

    “อย่างน้อยการแนะวิธีแก้ด้วยการสะเดาะเคราะห์ก็เพื่อความสบายใจ แต่ถูกหรือผิดว่ากันอีกเรื่องหนึ่ง
    ทุกสำนักจะมีศาสตร์ของตัวเอง แต่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ มุ่งให้คนทำความดีเพื่อความสบายใจ
    ไม่มีใครแนะทางแก้เพื่อให้ร้ายกับใคร”

    ชงและฮะ ตามหลักของศาสตร์นี้ต้องดูจาก 4 หลักคือ หลักปี หลักเดือน หลักวัน และยาม
    เรียก โป๊ยหยี่สี่เถี่ยว ต้องทำความเข้าใจพื้นฐานของหลักธรรมชาติว่า
    “ดีก็มีตัวไม่ดีอยู่ด้วย ตัวไม่ดีก็มีตัวดีอยู่ด้วย จะไปบอกทั้งหมดว่าไม่ดีไม่ได้”

    “เพราะฉะนั้น ชงแล้วดีก็มี 4 ปี 2 คู่เป็นขุมคลัง ถ้าปีไหนเป็นขุมคลังของใคร ชงปุ๊บ จะดีเลย
    เพราะบนขุมขลังมีตัวลาภผล ในเวลาเดียวกัน ตัวนี้เป็นตัวให้โทษดวงเค้า ชงปั๊บทำให้ตัวโทษหายไปก็ดีขึ้นมา
    หรือถ้าตัวนี้เป็นตัวให้คุณ ชงปุ๊บตัวดีหายไป

    ฮะ คือภาคี จอภาคีกับเถาะ ถือว่าดี แต่บางทีมันไม่ดีก็ได้ เพราะถ้าคนปีเถาะมีตัวดีอยู่แต่ถูกจอภาคีไป
    แทนที่จะดีก็จะแย่ ไม่ดีกับดวงเค้า ขณะเดียวกันคนปีเถาะ มีตัวไม่ดีในดวงเค้า ภาคีปุ๊บดวงเค้าก็อาจจะดีขึ้นมา”

    ดังนั้น จึงไม่เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่า ชง – ไม่ดี , ฮะ – ดี อยากรู้ว่า ชง หรือ ฮะ ต้องผูกดวงแบบสุริยคติ
    ก่อน 4 กุมภาพันธ์ทุกปี ส่วนวันตรุษจีนเป็นการเปลี่ยนตามระบบจันทรคติ รู้ว่า ชงหรือฮะ แล้วค่อย “แก้ชง”

    ปีชง รีบแก้ โดยไม่ได้ผูกดวงจีน มีผลตรงข้ามเหมือนยารักษาไม่ถูกโรค

    “ เกิดดวงของคุณ ตามหลักวิชาดูแล้วว่า ชงแล้วดี เมื่อคุณไปแก้มันออก ความดีก็ต้องหายไป
    แต่คุณก็จะได้ในด้านของความสบายใจ มีใจเป็นกุศลเท่านั้นเอง”

    เปลี่ยนศัตรูเป็นมิตร

    การวิเคราะห์ฮวงจุ้ย ต้องประกอบด้วย 4 วิชาหลักคือ
    1. ชัยภูมิ 2. ดาว 9 ยุค ( วัดองศา และคำนวณดาว 9 ยุค 3. ดวงชะตาเจ้าบ้าน 4. ฤกษ์ยาม
    ไม่ครบ 4 วิชานี้ถือว่าหลักไม่สมบูรณ์

    หลักพื้นฐานของวิชาฮวงจุ้ยคือการสร้างมิตร เมื่อเราถือเอาสิ่งที่ไม่ดีเป็นศัตรู
    เพราะฉะนั้นการแก้สำหรับความเห็นของอาจารย์เกรียงไกร บุญธกานนท์ คือ
    “เปลี่ยนศัตรูให้กลายเป็นมิตร”

    “กฎเกณฑ์เริ่มต้นพื้นฐานมันเป็นอย่างนั้น แต่พอเวลานานเข้า มีสำนักต่างๆมากมาย
    ตอนนี้มันเป็นเรื่องของบุคคลว่า เจ้าสำนักนั้นจะมีนิสัยใจคออย่างไร
    ฉะนั้นวิธีแก้ก็จะเป็นไปตามบุคคลและท้องถิ่นนั้นๆว่ามีอุปนิสัยใจคออย่างไร ก็จะแก้ไปตามอุปนิสัยนั้นๆ
    ยกตัวอย่าง ฮ่องกงเน้นการแก้ฮวงจุ้ยด้วยการต่อสู้ ทั้งที่หลักพื้นฐานบอกว่าให้เปลี่ยนจากศัตรูเป็นมิตร”

    เปลี่ยนไม่ได้ทำอย่างไรหันเหศัตรูไปทางอื่น และสุดท้ายถ้าแก้ไม่ได้ต้องสลายศัตรู
    โดยไม่ให้เราตกเป็นเป้าของศัตรู “เมื่อไม่เป็นเป้า ศัตรูก็ทำอะไรเราไม่ได้

    ส่วนรายละเอียด “แก้ชง” ของคนแต่ละคนก็ต้องว่าเป็นรายๆไป
    ใช้ทั้งแบบ “ขอฟ้าลิขิต” และ “ฝืนฟ้าลิขิต” หรือบางคนอาจจะต้องใช้วิธีแก้ทั้ง 2 อย่าง

    “ การจะขอฟ้าลิขิต ต้องมีองค์ประกอบคือ สร้างความดีถึงจะขอได้
    แต่ฝืนฟ้าลิขิต ไม่เกี่ยวกับการทำดี แต่ต้องไม่ลืมว่า การติดกรรมทำให้ชะตาคุณโดนปิด
    การทำความดี ทำการกุศล สามารถลดกรรมให้กับดวงชะตาได้
    แต่ถ้าคุณไม่สร้างบุญกุศล คุณก็หมดสิทธิ์แก้ ส่วนวิธีแก้ดวงนั้น ของเราจะมีวิธี 1 – 2 – 3 – 4 ไม่ใช่วิธีเดียว”

    การแก้ดวง “ชง – ปะทะ”
    [​IMG]
    1. พกกำเช่า (ชะเอม) 5 ก้านติดตัว อาจมัดด้วยด้ายแดง แต่ห้ามอัดกรอบ
    2. ให้นั่งสมาธิ ไปทำบุญ อุทิศส่วนกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร​

    หมายเหตุ ทำไมต้องกำเช่า – สมัยก่อน การผสมตัวยาที่แรงๆเข้าหากัน จะใช้ชะเอมเป็นตัวช่วย
    ชะเอม จึงทำหน้าที่ เปลี่ยนศัตรูเป็นมิตร จำนวน 5 ก้าน หมายถึง ครบ 5 ธาตุ (ดิน ทอง น้ำ ไม้ ไฟ) ​

    สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายยาจีนทั่วๆไป ลักษณะเป็นแท่งๆสีน้ำตาล มักขายเป็นขีด
    เมื่อแบ่งนำออกมาใช้ ส่วนที่เหลือสามารถเก็บไว้ใช้คราวต่อไปได้​
    <TABLE width=650 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffff99>
    [​IMG]
    ไฉ่ซิงเอี้ย เทพเจ้าแห่งโชคลาภ

    “ทุกคนขอความร่ำรวย แล้วทุกคนรวยมั้ย
    จริงๆแล้ว การไหว้ไฉ่ซิงเอี้ยไม่ได้อยู่ที่การขอ แต่อยู่ที่การให้ เมื่อรู้จักการให้ เราก็จะได้รับ
    จะขออะไรเราต้องคิดถึงหลักความจริงว่า ทำอย่างไรมันถึงจะได้”
    อาจารย์เกรียงไกร บุญธกานนท์ บอกกับ Metro Life

    หลักความจริง - ขอในสิ่งที่สมเหตุผล ต้องรู้จักทำและเรียนรู้ที่จะให้ เพื่อผลตอบรับ​

    ทำไมต้องไหว้ไฉ่ซิงเอี้ย - ทุกชนชั้น ทุกอาชีพ “เงิน”เป็นคือองค์ประกอบสำคัญในการดำรงชีวิต ​



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [http://www.fengshuitown.com/fengshui/fengshui-tip-clash-destiny.htm]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กุมภาพันธ์ 2010
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    1. ผู้เกิดปีวอก ชง(ปะทะ) โดยตรงกับเทพเจ้า "ไท้ส่วยเอี้ย" และเป็นอริกับปีขาลโดยตรง

    2. ผู้เกิดปีขาล ดวงทับองค์ไท้ส่วย


    3. ผู้เกิดปีมะเส็ง ปีร่วมชง

    4. ผู้เกิดปีกุน ปีร่วมชง

    องค์ไท้ส่วย คือ เทพเจ้าไฉ่ซิ้งเอี้ย นั่นเอง

    เคยได้กล่าวไว้เมื่อตอนต้นกันไปแล้ว แต่จะให้ updated เป็นปีปัจจุบัน คือปี ขาล ในปี ๒๕๕๓ นี้ ก็เลยนำบทความจาก "อิทธิปาฏิหาริย์" บางส่วนมา postไว้ประกอบเรื่องราวให้สมบูรณ์ขึ้น

    ตามหลัก "ลักจั๊บกะจื้อ" ทำให้ปราชญ์จีนโบราณหาวิธีแก้ชง หรือแก้การปะทะกับดาว และเทพผู้ดูแลชะตา โดยให้พกเครื่องรางทำเป็นรูปนักษัตรเพื่อ "แก้ชง" และ "เพิ่มฮะ (ความสมพงศ์)"

    โดยเฉพาะ ซึ่งจะเปลี่ยนตามการโคจรของดวงดาวทุกปี สำหรับปีนี้ได้แก่

    ปีวอก ชงโดยตรง ต้องแก้ชงบูชาองค์ไท้ส่วยเอี้ย พกหนู มังกร (งูใหญ่) หรืองูเล็ก

    ปีขาล ทับองค์ไท้ส่วยเอี้ย ดาวร้ายคุกคาม ต้องแก้ พกม้า สุนัข หรือหมู

    ปีมะเส็ง ร่วมชง มีดาวร้ายคุกคาม แต่มีดาวมงคลคู่คอยช่วย พกวัว ไก่ สุนัข

    ปีกุน ร่วมชง ดาวอัปมงคลคุกคาม แต่มีดาวมงคลส่งเสริม พกเสือ กระต่าย แพะ

    ปีชวด ยังอยู่ในรัศมีดาวร้าย ให้บูชาฮก ลก ซิ่ว และพก วัว มังกร (งูใหญ่) หรือลิง

    ปีฉลู มีดาวมงคลนกคู่รักคุ้มครอง แต่เผชิญรังสีดาวป่วยไข้ พกหนู งูเล็ก ไก่ และจัดตั้ง เหมย ไผ่ สน

    ปีเถาะ มีดาวมงคลให้ลาภ ระวังดาวร้ายคอยจ้องเบียดเบียน พกแพะ หมู งูใหญ่

    ปีมะโรง ยังอยู่ในรัศมีดาวร้าย อย่าประมาท พกมังกร (งูใหญ่) งูเล็ก ลิง ไก่

    ปีมะเมีย ดาวมงคลให้ลาภ พกเสือ แพะ สุนัข เสริมดวง

    ปีมะแม ดาวสวรรค์คุ้มครองให้ลาภ พกกระ ต่าย ม้า หมู

    ปีระกา ดาวดอกไม้จักรพรรดิ คุ้มครอง พกวัว งูเล็ก มังกร (งูใหญ่)

    ปีจอ รัศมีดาวร้ายยังส่งผล ระวังอุปสรรค พกเสือ กระต่าย ม้า

    การพกพารูปนักษัตรต่างๆ บางคนจะหาหินหยกหรือรูปสัตว์ตามปีนักษัตรพกพา ติดตัว ติดรถ ติดบ้าน ติดที่ทำงาน ถือเป็น การแก้เคล็ด แก้ชง เพิ่มฮะ โดยเชื่อว่าเมื่อปีใดดาวเจ้าชะตาให้โทษหรือปะทะ เมื่อสาดส่องมายังเบญจธาตุในตัวคน และเมื่อพบดาวนักษัตรที่ "ฮะ" หรือ "สมพงศ์" ติดอยู่กับตัว ก็จะเปลี่ยนจากร้ายกลายเป็นดี เปลี่ยนจากศัตรูมาเป็นมิตร เปลี่ยนจากให้ โทษมาเป็นให้คุณ ผ่อนหนักเป็นเบา แล้วขอยืนยันนะครับว่านี่เป็นศาสตร์แห่งดวงดาวที่ลึกลับของจีนโบราณ ถ้าไม่แน่จริงคงไม่สืบทอดกันมาเป็นพันๆ ปี ก็ขอให้แก้ชง-เพิ่มฮะ
    คอลัมน์ พันธุ์แท้พระเครื่อง :โดย ราม วัชรประดิษฐ์
    ข้อมูลจาก[​IMG]

    และ [http://www.mahamongkol.com/content/c...hp?category=8]<!-- google_ad_section_end -->
     

แชร์หน้านี้

Loading...