พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    [​IMG]
    พัดยศสมเด็จพระสังฆราช
    ไฟล์:พัดยศสมเด็จพระสังฆราช.jpeg - วิกิพีเดีย
    คำอธิบายโดยย่อ


    <TABLE style="WIDTH: 100%"><TBODY><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">คำอธิบายภาพ</TH><TD>พัดยศสมเด็จพระสังฆราช</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เจ้าของลิขสิทธิ์</TH><TD>มหาเถรสมาคม</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">แหล่งที่มา</TH><TD>http://www.mahathera.org/</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เหตุผลในการใช้ภาพ</TH><TD>ประกอบบทความพระสังฆราช</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
    <TABLE style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; BACKGROUND: #f9f9f9; MARGIN: 1em 1em 1em 0px; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: center" cellSpacing=1 cellPadding=4 border=1><TBODY><TR style="BACKGROUND: #cccccc"><TD>ลำดับ</TD><TD>รูป</TD><TD>รายพระนาม</TD><TD>เริ่มวาระ</TD><TD>สิ้นสุดวาระ</TD><TD>สถิต ณ</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>1</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ศรี)

    </TD><TD>พ.ศ. 2325</TD><TD>พ.ศ. 2337</TD><TD>วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>2</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ศุข)

    </TD><TD>พ.ศ. 2337</TD><TD>พ.ศ. 2359</TD><TD>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>3</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (มี)

    </TD><TD>พ.ศ. 2359</TD><TD>พ.ศ. 2362</TD><TD>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>4</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (สุก ญาณสังวร)

    </TD><TD>พ.ศ. 2363</TD><TD>พ.ศ. 2365</TD><TD>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>5</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ด่อน)

    </TD><TD>พ.ศ. 2365</TD><TD>พ.ศ. 2385</TD><TD>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>6</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (นาค)

    </TD><TD>พ.ศ. 2386</TD><TD>พ.ศ. 2392</TD><TD>วัดราชบูรณะราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>7</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    (พระองค์เจ้าวาสุกรี สุวัณณรังสี)

    </TD><TD>พ.ศ. 2394</TD><TD>พ.ศ. 2396</TD><TD>วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>8</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    (พระองค์เจ้าฤกษ์ ปญฺญาอคฺคโต)

    </TD><TD>พ.ศ. 2434</TD><TD>พ.ศ. 2435</TD><TD>วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>9</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (สา ปุสฺสเทโว)

    </TD><TD>พ.ศ. 2436</TD><TD>พ.ศ. 2442</TD><TD>วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>10</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
    (พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ)

    </TD><TD>พ.ศ. 2443</TD><TD>พ.ศ. 2464</TD><TD>วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>11</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์
    (หม่อมเจ้าภุชงค์ ชมพูนุท สิริวฑฺฒโน)

    </TD><TD>พ.ศ. 2465</TD><TD>พ.ศ. 2480</TD><TD>วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>12</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (แพ ติสฺสเทโว)

    </TD><TD>พ.ศ. 2481</TD><TD>พ.ศ. 2487</TD><TD>วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>13</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
    (หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงศ์ สุจิตฺโต)

    </TD><TD>พ.ศ. 2488</TD><TD>พ.ศ. 2501</TD><TD>วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>14</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ปลด กิตฺติโสภโณ)

    </TD><TD>พ.ศ. 2503</TD><TD>พ.ศ. 2505</TD><TD>วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>15</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (อยู่ ญาโณทโย)

    </TD><TD>พ.ศ. 2506</TD><TD>พ.ศ. 2508</TD><TD>วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>16</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (จวน อุฏฐายี)

    </TD><TD>พ.ศ. 2508</TD><TD>พ.ศ. 2514</TD><TD>วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>17</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

    </TD><TD>พ.ศ. 2515</TD><TD>พ.ศ. 2517</TD><TD>วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>18</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (วาสน์ วาสโน)

    </TD><TD>พ.ศ. 2517</TD><TD>พ.ศ. 2531</TD><TD>วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร</TD></TR><TR><TD bgColor=#e9e9e9>19</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
    (เจริญ สุวฑฺฒโน)

    </TD><TD>พ.ศ. 2532</TD><TD>ปัจจุบัน</TD><TD>วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] แหล่งข้อมูล

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>


    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    </TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศรี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศุข)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (สุก ญาณสังวร)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ด่อน)
    สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (นาค)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปลด กิตฺติโสภโณ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (อยู่ ญาโณทโย)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (จวน อุฏฐายี)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระญาณสังวรฯ (เจริญ สุวฑฺฒโน)
    </CENTER>


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    หมวดหมู่: สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
     
  2. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ทุกครั้งที่ลงประวัติเรื่องนั้นเรื่องนี้ เหมือนทานอาหารจีน ที่ต้องมี"ออเดิฟ" ก่อน จานหลัก ว่าแต่ว่า ออเดิฟจานนี้เป็นร้อน หรือเย็นเท่านั้น อิ..อิ... ผมว่าน่าจะร้อนนะ
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมไม่รู้ ไม่ทราบ ไม่เห็นครับ เหอๆๆๆ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับการจองล็อกเก็ต
    http://palungjit.org/threads/พம.2445.1792/
    หากเว็บพลังจิต เข้าไม่ได้ ให้ติดต่อกันทาง Email หรือ ทางโทรศัพท์นะครับ

    ท่านที่จองแล้ว ผมจะมีวัตถุมงคลมอบให้ แต่จะเป็นอะไร ต้องติดตามและรับกันในวันงานนะครับ

    ผมเชื่อว่า หาได้ค่อยข้างยากครับ

    อีกเรื่อง ผมกำลังคิดว่า จะนำพระสมเด็จ (อัศจรรย์โกลาฤกษ์) ไปให้ผู้ที่จองล็อกเก็ต ทำบุญเข้าชมรมรักษ์พระวังหน้า แต่ไม่น่าจะเกิน 3 องค์เท่านั้น(เนื่องจากผมเหลืออยู่น้อยมาก) ท่านที่จองล็อกเก็ตมาแล้วมีจำนวนมากกว่า 3 ท่าน ซึ่งหากมีความสนใจในพระสมเด็จ(อัศจรรย์โกลาฤกษ์) มากกว่า 3 องค์ ผมขอใช้วิธีจับสลากนะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    สำหรับล็อกเก็ต

    พระพิมพ์ที่จะนำมาติดด้านหลัง ผมคิดไว้อยู่ 3 พิมพ์ก็คือ
    1.พิมพ์พิเศษ (ที่ผมเคยบอกไว้ว่า ผู้ใดห้อย จะเป็นที่รักของ 3 โลก)
    2.พิมพ์สมเด็จ (top of the top 4)
    3.พิมพ์แป้งกระแจะ ที่บุเงิน

    ผมขอดูขนาดของล็อกเก็ตก่อน

    หากผมเลือกแล้ว ผมจะมาแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

    ส่วนผงคลุกรักด้านหลังล็อกเก็ต ตอนนี้มีมวลสารที่เป็นผงของพระสมเด็จ (top of the top และ top of the top 4) อยู่ในบางส่วนแล้ว และมีผงแป้งที่ผ่านพิธีพุทธาภิเษก ในเดือนเมษายน 2550 ซึ่งผงแป้ง ได้รับพระเมตตา พระกรุณาจากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กุกกุสันโธ อธิษฐานจิต

    เพียงแค่รูป , พระพิมพ์ที่ติดด้านหลัง และ มวลสารคลุกรัก แค่นี้ก็แทบจะบินได้แล้วครับ

    งานบุญอื่นๆ - PaLungJit.com

    สำหรับจำนวนล็อกเก็ต ตอนนี้มีผู้ที่จองเข้ามาแล้วจำนวน 13 ท่าน จำนวน 33 องค์ ซึ่งผมเองกำหนดไว้ไม่ให้เกิน 50 องค์ หากมีผู้ที่จองครบ 50 องค์แล้ว จะขอปิดการจองไม่รับจองเพิ่ม ผมเกรงว่า ระยะเวลาในการสร้างต่างๆ จะไม่ทันกำหนดเวลาที่ตั้งใจไว้

    ซึ่งหากจองน้อย จะเป็นผลดี เนื่องจากในการสร้างล็อกเก็ตก็ดี การนำพระติดผงคลุกรักด้านหลังก็ดี จะได้ทำให้เสร็จทันเวลาครับ

    ในช่วงการสร้างล็อกเก็ต ผมเองจะเตรียมพระที่ต้องติดด้านหลัง และ พระที่จะมอบให้กับท่านที่จองล็อกเก็ตให้พร้อม

    ในส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผมจะแจ้งผ่านทาง Email ครับ

    ขอบคุณครับ
    http://palungjit.org/threads/พம.2445.1793/

    สำหรับท่านที่จองล็อกเก็ต อย่าลืมโอนเงินเข้าบัญชี(ผมแจ้งให้ท่านทราบทาง Email) ด้วยนะครับ

    หากหลังจากวันนี้ หากท่านใดที่จอง ยังไม่ได้โอนเงิน ผมขออนุญาตยกเลิกการจอง เนื่องจากต้องสรุปและส่งจำนวนล็อกเก็ตให้กับทางพี่สิทธิพร และโอนเงินค่าล็อกเก็ตให้กับพี่สิทธิพรด้วย

    ขอบคุณครับ

    สำหรับท่านที่จองล็อกเก็ต ผมจะมีพระวังหน้ามอบให้เพิ่มเติม

    เช่น พิมพ์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (ลงรัก) , พิมพ์พระสมเด็จ ผงยาวาสนา และ ผงยาจินดามณี , พิมพ์พิเศษ(เป็นที่รักของ 3 โลก) เป็นต้น

    ห้ามพลาด

    http://palungjit.org/threads/เம.ml#post2829802

    PaLungJit.com - ชมรม รักษ์พระวังหน้า

    สำหรับท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และท่านสมาชิกคณะพระวังหน้า ที่ยังไม่ได้จอง ผมเปิดโอกาสให้จองวันนี้(วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) และจ่ายเงินค่าจองในวันนี้ (วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) หากพ้นจากเวลา 18.00 น.ของวันนี้ (วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) ไปแล้ว หากท่านใดที่ยังไม่ได้จองและโอนเงิน ผมขอยกเลิกการจองและปิดการจองล็อกเก็ตครับ

    ส่วนเรื่องของการนำพระวังหน้าที่แตกหัก มาบดเป็นผงเพื่อผสมเป็นมวลสารนั้น ขอเรียนชี้แจงว่า ผมได้ขอคำแนะนำจากท่านอาจารย์ประถม อาจสาครมาเรียบร้อยแล้ว ท่านอาจารย์ประถม ท่านเป็นผู้ที่แนะนำว่า พระวังหน้าที่แตกหัก ต้องซ่อมให้อยู่ในรูปขององค์พระเดิม หากชิ้นส่วนไหนที่ไม่สามารถที่จะซ่อมได้ ถึงจะสามารถนำมาบดเป็นผงเพื่อเป็นมวลสารในการสร้างพระใหม่ได้ ซึ่งมวลสารที่จะนำมาบดเป็นผงเพื่อคลุกรักแล้วติดด้านหลังล็อกเก็ตนั้น เป็นเศษพระวังหน้าที่ไม่สามารถนำมาซ่อมได้แล้ว มีทั้งพระสมเด็จ(top of the top , top of the top4) เป็นต้น จึงแจ้งมาเพื่อทราบกันครับ


    ขอบคุณครับ

    โมทนาสาธุครับ

    sithiphong .11.12553/

    ------------------------------------------------

    สำหรับการจองล็อกเก็ต ได้ปิดการจองโดยสมบูรณ์แล้ว

    จำนวนท่านที่จองล็อกเก็ต ทั้งหมด 19 ท่าน รวมจำนวนล็อกเก็ต 55 องค์

    วันนี้ผมจะดำเนินการในเรื่องของการแจ้งจำนวนล็อกเก็ตให้พี่สิทธิพรทราบ และดำเนินการเรื่องของการโอนเงินค่าจัดทำล็อกเก็ตด้วยครับ

    รายละเอียดเพิ่มเติม ผมจะนำมาแจ้งให้ทราบกันอีกครั้งครับ

    กระทู้พระวังหน้า หน้าที่ 1798 ลว.12 มกราคม 2553

    กลุ่ม/ชมรม พระวังหน้า กระทู้รักษ์พระวังหน้า หน้าที่ 8 ลว.12 มกราคม 2553

    โมทนาสาธุครับ



    .
     
  7. chantasakuldecha

    chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    กำลังรออยู่นะครับ ไม่แน่ใจว่าผมจะเกิดในสมัยนั้นรึเปล่า รู้สึกคุ้นๆจัง
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ส่วนงานพิธีพุทธาภิเษก หากท่านใดมีความประสงค์ที่จะนำพระพิมพ์หรือวัตถุมงคลเข้าพิธีด้วย มีรายละเอียดดังนี้

    1.ท่านที่จองล็อกเก็ตไว้ สามารถนำพระพิมพ์และวัตถุมงคล เข้าร่วมพิธีได้

    2.ท่านใดที่ไม่ได้จองล็อกเก็ตไว้ สามารถนำพระพิมพ์และวัตถุมงคลเข้าร่วมพิธีได้ แต่ต้องร่วมบริจาคเข้าชมรมรักษ์พระวังหน้า จำนวน 2,000 บาท

    ขอบคุณครับ
    โมทนาสาธุครับ
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong<!-- google_ad_section_end -->

    กระทู้พระวังหน้า หน้าที่ 1798 ลว.12 มกราคม 2553

    กลุ่ม/ชมรม พระวังหน้า กระทู้รักษ์พระวังหน้า หน้าที่ 8 ลว.12 มกราคม 2553


    .<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2833850", true); </SCRIPT>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หลังไมค์ดีกว่าครับ อิอิ

    เดี๋ยวโดนลอกไปอีก ประเภทพวกที่ชอบลอกไป แล้วไปอ้างว่า ตัวเองเขียนเอง เหอๆๆๆ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ศุกร์นี้ปิดซ่อม สะพานคลองตัน เริ่มขาออก 60 วัน

    Ș?ì?թ?Դ?荁 ʐ?ҹ?ō??ѹ ?聢ҍ͡ 60 Ǒ?



    ดึกศุกร์นี้ปิดซ่อม สะพานคลองตัน เริ่มขาออก60วัน (ไทยรัฐ)

    พ.ต.ท.วิทยา พูนวิทย์ รอง ผกก.จร.สน.คลองตัน เปิดเผยว่า ตั้งแต่คืนวันศุกร์ที่ 15 ม.ค. ต่อเช้าวันเสาร์ที่ 16 ม.ค. ผู้รับเหมาปรับปรุงซ่อมแซมสะพานข้ามแยกคลองตัน จะเริ่มปิดการจราจรเพื่อซ่อมสะพานคลองตัน ฝั่งขาออก จากถนนเพชรบุรีมุ่งหน้าถนนพัฒนาการ จำนวน 2 ช่องทาง ใช้เวลาซ่อมแซม 60 วัน โดยจะจัดช่องทางพิเศษให้รถฝั่งขาออกวิ่งสวนขึ้นสะพานฝั่งขาเข้าได้ ระหว่างเวลา 17.00-20.00 น. ส่วนรถฝั่งขาเข้าจะต้องใช้ถนนพื้นราบแทน เหตุผลที่ไม่จัดช่องทางพิเศษวิ่งสวนฝั่งละ 1 ช่องเหมือนกับสะพานอื่น ๆ เนื่องจากสะพานคลองตันยาวและโค้ง หากเปิดให้รถวิ่งสวนกันบนสะพานอาจจะเกิดอุบัติเหตุรถชนกัน หลังจากซ่อมสะพานขาออกเสร็จแล้วจะสลับมาปิดซ่อมสะพานฝั่งขาเข้า จากถนนพัฒนาการมุ่งหน้าถนนเพชรบุรี ใช้เวลาอีก 60 วัน โดยช่วงเช้าระหว่างเวลา 06.00-09.00 น. จะจัดช่องทางพิเศษให้รถวิ่งขึ้นสะพานฝั่งขาออกได้ 2 ช่อง เพื่อระบายรถเข้าเมือง ส่วนรถฝั่งขาออกต้องใช้ถนนพื้นราบแทน หลังจากซ่อมสะพานข้ามแยกเสร็จแล้วก็จะเริ่มปิดซ่อมสะพานข้ามคลองแสนแสบซึ่งอยู่ด้านล่าง โดยจะปิดซ่อมขาเข้า 30 วัน และขาออกอีก 30 วัน รวมระยะเวลาการปิดซ่อมสะพานข้ามแยกคลองตันทั้งหมด180 วัน

    พ.ต.ท.วิทยากล่าวว่า สำหรับประชาชนที่ไม่จำเป็นต้องผ่านแยกคลองตันขอให้เลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่น ส่วนทางเลี่ยงจุดก่อสร้างมีดังนี้ รถจากถนนเพชรบุรี ขาออก ให้เลี้ยวซ้ายเข้าซอยศูนย์วิจัย ออกถนนพระราม 9 หรือวิ่งตรงมาก่อนถึงสะพานคลองตัน ให้เลี้ยวซ้ายที่แยกเพชร-พระราม เข้าถนนพระราม 9 หรือใช้ถนนกำแพงเพชร 7 หรือถนนโลคัลโรด ออกถนนรามคำแหง บริเวณนาซ่าเก่า โดยจะเปิดให้รถวิ่งตรงข้ามทางรถเข้าถนนกำแพงเพชร 7 ถึง สน.คลองตัน ไปออกถนนพัฒนาการได้ ช่วงเช้าเวลา 06.00-08.30 น. ช่วงเย็นเวลา 17.00-20.00 น. โดยจะมีเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรอำนวยความสะดวกให้ สำหรับรถจากถนนพัฒนาการฝั่งขาเข้า ให้เลี้ยวขวาที่สามแยกพัฒนะ ไปออกถนนกำแพงเพชร 7 เข้าถนนเพชรบุรี พระราม 9 ได้เช่นกัน

    ด้าน พ.ต.ท.ประสิทธิ์ ทองคำ สว.จร.สน.หัวหมาก กล่าวว่า ขณะนี้ยังประเมินไม่ได้ว่าการจราจรจะมีปัญหาติดขัดเพิ่มขึ้นมากน้อยแค่ไหน ต้องรอดูก่อนว่า สน.คลองตันจะปรับสัญญาณไฟที่แยกคลองตันอย่างไรบ้าง เพราะถ้ารถเข้าคลองตัน สุขุมวิท 71 พระราม 9 ไม่ได้ ท้ายแถวจะพันมาถึงถนนรามคำแหง และติดขัดถึงแยกลำสาลีอย่างแน่นอน ขอแนะนำให้ประชาชนศึกษาเส้นทางเลี่ยงเผื่อไว้ล่วงหน้า และวางแผนก่อนออกจากบ้านเร็วขึ้น น่าจะช่วยผลกระทบได้บ้าง



    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
    [​IMG]
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิกฤติ จราจร ปี 53 ตำรวจ แก้ปัญหาได้แค่ไหน

    ǔ?ĵԠ?Ò?à?ՠ53 ?ӃǨ ᡩ?ѭ˒䴩ᤨ䋹


    [​IMG]

    จราจร​


    วิกฤติ จราจร ปี 53 ตำรวจ แก้ปัญหาได้แค่ไหน? (เดลินิวส์)

    จากที่มีการคาดการณ์ว่า ในปี 2553 ปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่กรุงเทพฯ จะยังอยู่ในขั้นวิกฤติไม่แพ้การจราจรในปี 2552 ซึ่งปัจจัยหลักเกิดจากโครงการก่อสร้างบนท้องถนน ทั้งโครงการถนน สะพาน อุโมงค์ และโครงการซ่อมแซม ที่ต้องปิดพื้นผิวจราจรซึ่งมีอยู่ในหลายพื้นที่ทั่วกรุงเทพฯ นอกจากนี้ปัจจุบันโครงการหมู่บ้านจัดสรรต่าง ๆ ยังผุดขึ้นมากมายราวกับดอกเห็ด โดยเฉพาะพื้นที่ย่านตะวันออกของกรุงเทพฯ ยิ่งส่งผลกระทบต่อการจราจรให้มีสภาพติดขัดทวีคูณมากขึ้นไปอีก ซึ่งเป็นเรื่องที่หนักอกหนักใจของผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาจราจรเป็นอย่างมาก และผู้ที่คนทั่วไปมักนึกถึงเมื่อเกิดปัญหาการจราจรติดขัด คงหนีไม่พ้นตำรวจจราจร มาดูกันว่าในปี 2553 ตำรวจมีมาตรการในการแก้ปัญหาการจราจรติดขัด ที่เป็นปัญหายอดฮิตของคนเมืองกรุงอย่างไร

    พล.ต.ต.ภาณุ เกิดลาภผล รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ดูแลงานจราจร เปิดเผยว่า ปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่กรุงเทพฯ เป็นปัญหาโลกแตกที่แก้ไขให้สำเร็จได้ยาก เนื่องจากระบบการขนส่งมวลชนยังไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถรองรับการเดินทางของคนกรุงเทพฯ ได้อย่างแท้จริง ทำให้คนที่มีกำลังซื้อต้องออกรถใหม่มาใช้อำนวยความสะดวกในการเดินทาง ส่งผลให้มีปริมาณรถเพิ่มมากขึ้นทุกปี แต่ถนนที่ให้รถวิ่งได้มีเท่าเดิม หรือหากจะเพิ่มขึ้นก็มีอัตราเพิ่มที่ไม่มาก ไม่ทันกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนรถส่วนตัว ปัญหาการจราจรติดขัดจึงตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้การวางผังเมืองยังไม่เป็นระบบ เป็นเพราะการออกกฎหมายผังเมืองทำได้ช้า ทำให้มีการปลูกบ้าน อาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ล้ำหน้าไปก่อนมีการออกกฎหมายควบคุม ทำให้เมืองมีสภาพสะเปะสะปะ เห็นได้จากพื้นที่ในเมืองมีการจราจรหนาแน่น แต่ไม่มีที่จอดรถทำให้ต้องแอบจอดริมถนน สร้างปัญหารถติดตามมาอีก ​

    แนวทางการปฏิบัติงานแก้ปัญหาของตำรวจจราจรในปี 2553 พล.ต.ต.ภาณุ แจงว่า ในระยะสั้น ต้องส่งกำลังไปแก้ปัญหาตรงสาเหตุหลักของปัญหา อาทิ ตรงจุดไหนที่มีโครงการก่อสร้างที่จำเป็นต้องปิดช่องจราจร หรือต้องใช้พื้นผิวจราจรบางส่วน ทางกองบังคับการตำรวจจราจร (บก.จร.) หรือที่เรียกว่า จราจรกลาง ต้องส่งกำลังเจ้าหน้าที่ลงช่วยเสริมกำลังของตำรวจจราจรท้องที่ ช่วยจัดการจราจรบริเวณสถานที่ก่อสร้าง จุดใดที่ขยายช่องจราจรได้ต้องทำเพิ่ม จุดใดไม่มีพื้นที่อาจต้องใช้วิธีเปิดช่องทางพิเศษระบายรถด้านที่มีปริมาณมากกว่า สิ่งที่สำคัญ คือ ต้องประสานงานกับผู้รับเหมาเพื่อให้ทราบข้อมูลการก่อสร้างทุกระยะ เพื่อนำข้อมูลต่าง ๆ มาประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ว่า จุดใดที่มีการก่อสร้าง จุดใดมีการปิดถนน พร้อมแนะนำเส้นทางเลี่ยงต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบข้อมูลล่วงหน้า สามารถวางแผนการเดินทางได้ ​

    นอกจากนี้ ตำรวจจะเข้มมาตรการจับกุม 10 ข้อหาหลัก ได้แก่ เมาไม่ขับ ขับรถเร็ว ย้อนศร ฝ่าไฟแดง แซงที่คับขัน โทรไม่ขับ ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ไม่มีใบอนุญาตขับขี่ ความผิดเกี่ยวกับอุปกรณ์ส่วนควบของรถ เพื่อลดอุบัติเหตุและการเสียชีวิต ส่วนการจับกุมในข้อหาที่เป็นการแก้ปัญหารถติด เช่น การจอดรถในที่ห้ามจอด หรือการขับขี่รถกีดขวางการจราจรนั้น ต้องเข้มงวดในจุดที่มีปัญหามาก เชื่อว่าเมื่อคนมีวินัยจราจรเพิ่มมากขึ้น ปัญหารถติดจะลดน้อยลง


    ส่วนการแก้ปัญหาระยะยาว ทางเดียวที่จะแก้ได้ดีที่สุด คือ ต้องมีโครงข่ายรถไฟฟ้าให้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ โดยเฉพาะจุดที่เป็นย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่น โดยจะเลือกก่อสร้างเป็นระบบรถไฟฟ้าขนาดหนักแบบที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน หรือจะก่อสร้างเป็นแบบโมโนเรลก็ได้ เพราะรถไฟฟ้าสามารถขนส่งคนได้ครั้งละจำนวนมาก สามารถกะเวลาการเดินทางได้แน่นอน และไม่สร้างมลพิษ ทั้งนี้ตนไม่เห็นด้วยกับการก่อสร้างทางยกระดับให้รถวิ่ง เพราะไม่ว่าจะซ้อนกันกี่ชั้นก็ตาม ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาการจราจรได้มาก และอาจเป็นการสร้างปัญหาการจราจรให้มากขึ้นด้วยซ้ำ ​

    "เวลาเกิดปัญหารถติด ใคร ๆ ก็นึกถึงแต่ตำรวจ ตำหนิแต่ตำรวจว่าทำไมไม่แก้ปัญหา ซึ่งจริง ๆ ตำรวจเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายทาง คนก็มองแค่ปลายทาง ตำหนิแต่ปลายทาง ทั้งที่ต้นทางยังมีหน่วยงานอื่นที่มีหน้าที่แก้ปัญหาอยู่หลายหน่วยงาน ที่ต้องทำงานประสานกัน หากการวางแผนแก้ปัญหาจราจรที่ต้นทางดี ก็จะสะท้อนภาพดี ๆ ให้เห็นที่ปลายทาง แต่ในปัจจุบันการร่วมมือกันเรื่องการแก้ปัญหาจราจรของหน่วยงานต่าง ๆ ยังมีน้อย ปัญหาการจราจรจึงค้างคาล่าช้า อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ทั้งนี้จึงอยากให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมมือกันแก้ปัญหาอย่างจริงจัง เพื่อให้สามารถแก้ปัญหานี้ได้อย่างลุล่วงโดยเร็ว" พล.ต.ต.ภาณุ กล่าวในตอนท้าย ​

    การแก้ปัญหารถติดให้สำเร็จ จะเป็นไปได้หรือไม่?​



    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
    [​IMG]
    Daily News Online > หน้ากทม. > วิกฤติ'จราจร'ปี 53...
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ในวันเสาร์ที่ 16 มกราคม 2552 เราถือว่าวันนี้เป็นวันครู

    อย่าลืมไหว้ครูและรำลึกนึกถึงพระคุณครูบาอาจารย์ที่ได้อบรมสั่งสอนเรามากันนะครับ

    --------------------------

    วันครู

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา



    วันครู เป็นระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน และบางประเทศมีการจัดงานเลี้ยงสำหรับครู


    [แก้] วันครูของประเทศไทย

    วันครูได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2500 สืบเนื่องมาจากการประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ พ.ศ. 2488 ซึ่งระบุให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการเรียกว่า คุรุสภาเป็นนิติบุคคลให้ครูทุกคนเป็นสมาชิกคุรุสภา โดยมีหน้าที่ในเรื่องของสถาบันวิชาชีพครูในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษาและวิชาการศึกษาทั่วไปแก่กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุม จรรยาและวินัยของครูรักษาผลประโยชน์ ส่งเสริมฐานะของครู จัดสวัสดิการให้ครูและครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรู้และความสามัคคีของครู
    ด้วยเหตุนี้ในทุกปี คุรุสภาจะจัดให้มีการประชุมสามัญคุรุสภาประจำปี เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้แทนครูจากทั่วประเทศแถลงผลงานในรอบปีที่ผ่านมา และชักถามปัญหาข้อข้องใจต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภาโดยมีคณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเป็นผู้ตอบข้อสงสัย สถานที่ ในการประชุมสมัยนั้นใช้หอประชุมสามัคคยาจารย์ หอประชุมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และในระยะหลังใช้หอประชุมคุรุสภา
    ปี พ.ศ. 2499 ในที่ประชุมสามัญคุรุสภาประจำปี จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการอำนวยการคุรุสภากิตติมศักดิ์ ได้กล่าวคำปราศรัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศว่า
    "ที่อยากเสนอในตอนนี้ก็คือว่า เนื่องจากผู้เป็นครูมีบุญคุณ เป็นผู้ให้แสงสว่างในชีวิตของเราทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าวันครูควรมี สักวันหนึ่งสำหรับให้บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายได้แสดงความเคารพ สักการะต่อบรรดาครูผู้มีพระคุณทั้งหลาย เพราะเหตุว่าสำหรับ คนทั่วไปถ้าถึงวันตรุษ วันสงกรานต์ เราก็นำเอาอัฐิของผู้มีพระคุณบังเกิดเกล้ามาทำบุญ ทำทาน คนที่สองรองลงไปก็คือครูผู้เสียสละ ทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าในโอกาสนี้จะขอฝากที่ประชุมไว้ด้วย ลองปรึกษาหารือกันในหลักการ ทุกคนคงจะไม่ขัดข้อง"
    จากแนวความคิดนี้ กอปรกับความเห็นของครูที่แสดงออกทางสื่อมวลชนและอื่นๆ ล้วนเรียกร้องให้มีวันครูเพื่อให้เป็นวันแห่งการรำลึก ถึงความสำคัญของครูในฐานะที่เป็นผู้เสียสละ ประกอบคุณงามความดี เพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นอันมากในปีเดียวกันที่ประชุมคุรุสภาสามัญประจำปีจึงได้พิจารณาเรื่องนี้และมีมติเห็นควรให้มีวันครูเพื่อเสนอ คณะกรรมการอำนวยการต่อไป โดยได้เสนอหลักการว่า เพื่อจะได้ประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์ ส่งเสริมสามัคคีธรรมระหว่างครูและเพื่อส่งเสริม ความเข้าใจอันดีระหว่างครูกับประชาชน
    การจัดงานวันครูได้จัดเป็นครั้งแรกเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2500 กระทรวงศึกษาธิการสั่งการให้นักเรียนและครูหยุดในวันดังกล่าวได้ ในส่วนกลางใช้สถานที่ของกรีฑาสถานแห่งชาติเป็นที่จัดงานวันครูนี้ได้กำหนดเป็นหลักการให้มีอนุสรณ์งานวันครูไว้แก่อนุชนรุ่นหลังทุกปี อนุสรณ์ที่สำคัญคือ หนังสือประวัติครู หนังสือที่ระลึกวันครู และสิ่งก่อสร้างเป็นถาวรวัตถุ

    การจัดงานวันครูได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดเวลา ในปัจจุบันได้จัดรูปแบบ การจัดงานวันครูจะมีกิจกรรม 3 ประเภทหลักดังนี้
    • กิจกรรมทางศาสนา
    • พิธีรำลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์ ประกอบด้วยพิธีปฏิญาณตน การกล่าวคำระลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์
    • กิจกรรมเพื่อความสามัคคีระหว่างผู้ประกอบอาชีพครู ส่วนมากเป็นการแข่งขันกีฬาหรือการจัดงานรื่นเริงในตอนเย็น
    [แก้] รายชื่อประเทศที่มีวันครู


    [แก้] ประเทศที่มีวันครูที่ไม่ใช่วันหยุด

    ประเทศวันครู
    [​IMG] อินเดีย5 กันยายน
    [​IMG] มาเลเซีย16 พฤษภาคม
    [​IMG] ตุรกี24 พฤศจิกายน

    [แก้] ประเทศที่มีวันครูเป็นวันหยุด

    ประเทศวันครู
    [​IMG] แอลเบเนีย7 มีนาคม
    [​IMG] จีน10 กันยายน
    [​IMG] สาธารณรัฐเช็ก28 มีนาคม
    [​IMG] อิหร่าน2 พฤษภาคม
    ละตินอเมริกา11 กันยายน
    [​IMG] โปแลนด์14 ตุลาคม
    [​IMG] รัสเซีย5 ตุลาคม
    [​IMG] สิงคโปร์1 กันยายน
    [​IMG] สโลวีเนีย28 มีนาคม
    [​IMG] เกาหลีใต้15 พฤษภาคม
    [​IMG] ไต้หวัน28 กันยายน
    [​IMG] ไทย16 มกราคม
    [​IMG] สหรัฐอเมริกาวันอังคารในสัปดาห์แรกที่เต็ม 7 วันในเดือนพฤษภาคม
    [​IMG] เวียดนาม20 พฤศจิกายน

    [แก้] แหล่งข้อมูล
    • หนังสือวันสำคัญโครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยฯ ของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
    [​IMG]วันครู เป็นบทความเกี่ยวกับ ปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น

    ข้อมูลเกี่ยวกับ วันครู ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ

    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9".
    หมวดหมู่: วันสำคัญ | วันสำคัญของไทย | บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่รอการตรวจสอบรูปแบบ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    16 มกราคม วันครู
    http://www.thaigoodview.com/library/...a/day/s3p1.htm

    ปาเจราจริยา โหนฺติ

    คุณุตฺตรานุสาสกา

    ปัญฺญาวุฒิกเร เต เต

    ทินฺโนวาเท นมามิหํ



    [​IMG] ครู หมายถึง ผู้อบรมสั่งสอน ผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้สร้างสรรค์ ภูมิปัญญา และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อนำไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ของสังคมและประเทศชาติ
    [​IMG] ครูนับเป็นปูชนียบุคคลที่มีความสำคัญอย่างมาก ในการให้การศึกษาเรียนรู้ ทั้งในด้านวิชาการ และประสบการณ์ ตลอดจนเป็นผู้มีความเสียสละ ดูแลเอาใจใส่สั่งสอนอบรมให้เด็กได้พบกับแสงสว่างแห่งปัญญา อันจะเป็นหนทางในการประกอบอาชีพเลี้ยงดูตนเอง รวมทั้งการนำพาสังคมประเทศชาติก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
    ด้วยเห็นความสำคัญของครูดังกล่าวมาแล้วนั้น จึงได้กำหนดให้มีวันครูขึ้น ในวันที่ 16 มกราคม ของทุกปี เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวที และให้ครูเป็นผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูในสังคม

    ประวัติความเป็นมาของการจัดงานวันครู


    ในปี พ.ศ. 2499 จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานกรรมการอำนวยการคุรุสภากิตติมศักดิ์ ได้กล่าวปราศัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศ ถึงความคิดที่จะกำหนดให้มีวันครู และเป็นการสอดคล้องกับความคิดเห็นของครูทั่วไป
    ดังนั้น ในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 คณะรัฐมนตรีได้มีมติกำหนดให้ วันที่ 16 มกราคมของทุกปีเป็น "วันครู" โดยถือเอาวันที่ประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2488 เป็นวันครู
    วันครูได้จัดให้มีในครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2500 สืบเนื่องมาจากการประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษาในปี พ.ศ. 2488 ซึ่งระบุให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า "คุรุสภา" เป็นนิติบุคคล ให้ครูทุกคนเป็นสมาชิกคุรุสภา โดยมีหน้าที่ในเรื่องของสถาบันวิชาชีพครู ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษาและวิชาการศึกษาทั่วไปแก่กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุมจรรยาและวินัยของครู รักษาผลประโยชน์ส่งเสริมฐานะของครู จัดสวัสดิการให้ครูและครอบครัวได้รับความช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรู้และความสามัคคีของครู
    ในทุก ๆ ปี คุรุสภาได้ให้มีการประชุมสามัญคุรุสภาประจำปี เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้แทนครูจากทั่วประเทศแถลงผลงานในรอบปีที่ผ่านมา และซักถามข้อข้องใจต่าง ๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภา โดยมีคณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเป็นผู้ตอบข้อสงสัย​

    [​IMG] คำปฏิญาณ [​IMG]



    ข้อ 1 ข้าจะบำเพ็ญตนให้สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็นครู​


    ข้อ 2 ข้าจะตั้งใจฝึกสอนศิษย์ให้เป็นพลเมืองดีของชาติ

    ข้อ 3 ข้าจะรักษาชื่อเสียงของคณะครูและบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
    จากนั้นพระสงฆ์เจริญชัยมงคล แล้วต่อด้วยนายกรัฐมนตรีมอบรางวัลครูดีเด่นประจำปี มอบของที่ระลึกให้ครูอาวุโสนอกและในประจำการ สุดท้ายกล่าวปราศรัยกับคณะครูที่มาประชุม​




    [​IMG] กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันครู [​IMG]



    1. ร่วมกิจกรรมทางศาสนา ทำบุญใส่บาตรพระสงฆ์ กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้แกบรรดาบูรพาจารย์ผู้ล่วงลับ

    2. ส่งบัตรอวยพร หรือไปเยี่ยมเยือนครูอาจารย์ที่เคยให้ความรู้อบรมสั่งสอน เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณงามความดี และแสดงความกตัญญูกตเวที

    3. ร่วมพิธีบูชาบูรพาจารย์

    4. ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้น เช่น นิทรรศการเกี่ยวกับครู การเรียนการสอน หรือกิจกรรมการกุศลที่หารายได้สมทบกองทุนช่วยเหลือครู เป็นต้น



    บทสวดเคารพครูอาจารย์



    (สวดนำ) ปาเจราจริยาโหนฺติ

    (รับพร้อมกัน) คุณุตฺตรานุสาสกา

    ปญฺญาวุฑฺฒิกเร เต เต

    ทินฺโนวาเท นมามิหํ





    (สวดทำนองสรภัญญะ)

    (สวดนำ) อนึ่งข้าคำนับน้อม

    (รับพร้อมกัน) ต่อพระครูผู้การุณย์


    โอบเอื้อและเจือจุน

    อนุศาสน์ทุกสิ่งสรรพ์

    ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ

    ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน

    ชี้แจงและแบ่งปัน

    ขยายอรรถให้ชัดเจน

    จิตมากด้วยเมตตา

    และกรุณา บ เอียงเอน

    เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์

    ให้ฉลาดและแหลมคม

    ขจัดเขลาบรรเทาโม

    หะจิตมืดที่งุนงม

    กังขา ณ อารมณ์

    ก็สว่างกระจ่างใจ

    คุณส่วนนี้ควรนับ

    ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร

    ควรนึกและตรึกใน

    จิตน้อมนิยมชม

    (กราบ)



    [​IMG] คุณสมบัติของครูอาจารย์ที่ดี



    1. ประพฤติตัวให้เป็นที่รัก (ปิโย)

    2. มีใจหนักแน่นทำตนให้น่ายำเกรง (ครุ)

    3. อบรมตนเองสม่ำเสมอ (ภาวนีโย)

    4. ฉลาดสอน ฉลาดพูด (วตฺตา)

    5. อดทนต่อถ้อยคำล่วงเกิน (วจนกฺขโม)


    6. พูดเรื่องลึกซึ้งให้เข้าใจลึกซึ้งได้ (คมฺภีรํ กถํ กตฺตา)

    7. ไม่ชักนำศิษย์ไปในทางเสียหาย (โน จฎฺฐาเน นิโยชเย)



    [​IMG] หน้าที่ของครูอาจารย์พึงมีต่อศิษย์



    1. แนะนำดี

    2. ให้เรียนดี

    3. บอกศิลปให้สิ้นเชิง ไม่ปิดบังอำพราง

    4. ยกย่องให้ปรากฎในเพื่อนฝูง

    5. ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย



    [​IMG] หน้าที่ของศิษย์พึงมีต่อครูอาจารย์



    1. ให้การต้อนรับ

    2. เสนอตัวรับใช้

    3. เชื่อฟัง

    4. คอยปรนนิบัติ

    5. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ

     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไหว้ 5 ครั้ง
    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ )
    วัดเทพศิรินทราวาส

    [​IMG]


    คัดลอกจาก http://www.konmeungbua.com/saha/Lung...pu_armpan.html


    คัดลอกจาก http://www.konmeungbua.com/saha/Lung...pu_armpan.html

    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาไร ตามแต่เหมาะต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวนั้น ถ้ามีดอกไม้ธูปเทียนก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ


    ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประณมมือว่า

    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ 3 หน

    แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ
    อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ฯ

    หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตามของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ


    ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ

    สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโน สนฺทิฆฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหีติ ฯ

    หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ


    ครั้งที่ 3 ว่าพระสังฆคุณ คือ
    สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโยทกฺขิเนยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติฯ

    หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบ ของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    นั่งพับเพียบประณมมือตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ
    พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ
    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ
    สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ
    ทุติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ
    ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ
    ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ
    ตติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ
    ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ
    ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ


    ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้ว กราบลงหน 1 ฯ

    ข้า ฯ ขอ กราบไหว้คุณท่านบิดาและมารดา

    เลี้ยงลูกเฝ้ารักษา แต่คลอดมาจึงเป็นคน
    แสนยากลำบากกายไป่คิดยากลำบากตน
    ในใจให้กังวลอยู่ด้วยลูกทุกเวลา
    ยามกินพอลูกร้องก็ต้องวางวิ่งมาหา
    ยามนอนห่อนเต็มตาพอลูกร้องก็ต้องดู
    กลัวเรือดยุงไรมดจะกวนกัดรีบอุ้มชู
    อดกินอดนอนสู้ ทนลำบากหนักไม่เบา
    คุณพ่อแม่มากนักเปรียบน้ำหนักยิ่งภูเขา
    แผ่นดินทั้งหมดเอามาเปรียบคุณไม่เท่าทัน
    เหลือที่ จะแทนคุณ ของท่านนั้น ใหญ่อนันต์
    เว้นไว้ แต่เรียนธรรม์ เอามาสอนพอผ่อนคุณ
    สอนธรรมที่จริงให้ รู้ไม่เที่ยงไว้เป็นทุน
    แล้วจึงแสดงคุณ ให้เห็นจริงตามธรรมดา
    นั่นแหละจึงนับได้ ว่าสนองซึ่งคุณา
    ใช้ค่าข้าวป้อนมาและน้ำนมที่กลืนกิน ฯ

    ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผุ้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์และครูบาอาจารย์ เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    ข้า ฯ ขอนอบน้อมคุณแด่ท่านครู ผู้อารี

    กรุณาและปรานีอุตส่าห์สอนทุก ๆ วัน
    ยังไม่รู้ ก็ได้รู้ ส่วนของครูสอนทั้งนั้น
    เนื้อความทุกสิ่งสรรพ์ดีชั่วชี้ ให้ชัดเจน
    จิตมากด้วยเอ็นดูอยากให้รู้เหมือนแกล้งเกณฑ์
    รักไม่ลำเอียงเอนหวังให้แหลมฉลาดคม
    เดิมมืดไม่รู้แน่เหมือนเข้าถ้ำเที่ยวคลำงม
    สงสัยและเซอะซมกลับสว่างแลเห็นจริง
    คุณส่วนนี้ควรไหว้ ยกขึ้นไว้ ในที่ยิ่ง
    เพราะเราพึ่งท่านจริงจึงได้รู้ วิชาชาญ ฯ

    (บทประพันธ์สรรเสริญคุณมารดาบิดา และ ครูบาอาจารย์ของ ท่านอาจารย์ จางวางอยู่ เหล่าวัตร วัดเทพศิรินทราวาส ลิขสิทธิ์เป็นของ ท่านเจ้าคุณพระโศภนศีลคุณ (หลวงปู่หลุย พาหิยาเถร) วัดเทพศิรินทราวาส)

    ต่อไปนี้ไม่ต้องประณมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่อง และร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจังไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้งพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณมีมารดาบิดา เป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือพระมหากษัตริย์ ทั้งเทพยดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ

    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยกมือไม่ขึ้น ก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้เป็นเครื่องพยุงตนให้เป็นคนดี ไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดี ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่ง ๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และ ตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มขั้นของตน ๆ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญญาณวรเถระ )

    http://72.14.235.104/search?q=cache:...h&ct=clnk&cd=7

    [​IMG]

    สมเด็จพระพุทธโฆษจารย์ นามเดิม เจริญ สุขบท เกิดในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2415 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรนาย ทองสุก และนางย่าง

    เมื่ออายุ 8 ปี ได้เป็นศิษย์ของท่านเจ้าคุณชลโธปมคุณมุณี (พุฒ ปุณณกเร) ปฐมวัยอาวาสวัดเขาบางทราย เมื่ออายุ 12 ปีได้บรรพชาที่วัดเขาบางทราย

    และเข้าศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดราชบพิธอุปสมบทเมื่อวันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2435 ที่วัดเขาบางทราย จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2439 ได้ศึกษาพระวินัยปิฎกในสำนัก สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่วัดเทพศิรินทราวาส

    "ตาบุญ (พระยาธรรมปรีชา) ผู้เป็นอาจารย์สอนบาลีของ
    เจ้าพระคุณสมเด็จฯ มอบช้างเผือกส่งเข้ามาให้ "

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชิรญาณวโรรส ออกพระโอษฐ์รับสั่งเมื่อครั้งสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร) สอบไล่ภาษาบาลี ในมหามงกุฎราชวิทยาลัยได้ที่ 1ทุกชั้นเป็นลำดับมา

    พ.ศ.2441 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระราชาคณะที่พระอัมราภิลักขิต เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลปราจีนบุรี ต่อมาได้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้เลื่อนสมณศักดิ์เรื่อยมา พ.ศ.2471 โปรดให้สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

    พ.ศ.2476กรรมการเถรสมาคมมีมติให้ท่าน เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระสังฆราชเจ้าซึ่งสิ้นพระชนม์ ประมวลเกียรติคุณพิเศษสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร)เป็นพระเถระบริหารงานพระศาสนาถึง 5 แผ่นดิน คือแต่รัชกาลที่ 5-9 เป็นพระราชาคณะแต่อายุ 28 ปี เป็นสมเด็จพระราชาคณะแต่อายุ 57 ปี นับเป็นพระเถระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พรรษาน้อยกว่า พระเถระหลายรูปเป็นเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส แต่อายุ 28 ปี ถึง 80 ปีรวม 53 ปี นับว่ายาวนานที่สุดไม่มีใครเทียบได้
    เมื่อสอบนักธรรม หรือบาลีจะสอบได้ที่ 1 ทุกชั้นทุกประโยคเป็นรูปเดียวในสังฆมณฑล ดำรงตำแหน่งแม่กองธรรมสนามหลวง แม่กองบาลีสนามหลวง องค์เดียวกัน

    ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2494เวลา 10.30 น. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเระ)มรณภาพด้วยโรคเนื้องอกที่ตับรวมอายุได้ 80 ปี พรรษาที่ 59

    ความคิดเห็นส่วนตัวผม
    ท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) ท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) ท่านบอกกับผู้ที่ไปกราบท่านว่า ขอให้ทุกๆวันได้ไหว้ 5 ครั้ง จะได้เป็นศิริมงคลกับตนเอง จะเหมือนกับชื่อของท่าน (เจริญ) ครับ ท่านเจ้าคุณนรเอง ก็มีความเคารพในท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ)มาก โดยท่านเจ้าคุณนรเอง เวลาเดินผ่านกุฎิของท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ)ทุกครั้ง ท่านเจ้าคุณนร ก็จะก้มลงกราบที่กุฎิอยู่ทุกครั้งครับ

    วันที่ 14 สิงหาคม 2550
    ขอเพิ่มเติมเรื่องราว ไหว้ 5 ครั้ง
    http://www.saktalingchan.com/index.p...icle&Id=262016

    [​IMG]


    เจ้าพระคุณสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร​

    เจ้าพระคุณสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร
    วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร

    1. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวงนี้ เมื่อพระคุณท่านมีอายุเพียง 27 ปี มีพรรษา 7 ยั่งยืนตลอดมาเป็นเวลาช้านานถึง 53 ปีฯ

    2. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ นั้นมีอายุเพียง 56 ปี เท่านั้น ฯ

    3. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งธรรมเนียมการเทศนาธรรมในวันอาทิตย์ขึ้นเป็นแห่งแรก เริ่มเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2471 ติดต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ นับเป็นเวลา 45 ปี ล่วงแล้ว ฯ

    4. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ แลบัญชาการคณะสงฆ์โดยตรงสืบต่อมาเป็นเวลา 5 ปี ( ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึง พ.ศ. 2481 ) ฯ

    5. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้ถวายพระธรรมเทศนามงคลวิเสสกถาติดต่อกันถึง 4 รัชกาล คือตั้งแต่รัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเวลาถึง 25 ปี ฯ

    6. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ มีสัทธิวิหาริก-อันเตวาสิก มากที่สุดถึง 6,666 องค์ ฯ

    7. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นต้นกำเนิดตำราไหว้ 5 ครั้งให้ศิษยานุศิษย์ปฏิบัติตาม หากผู้ใดไหว้ครบ 1 ปี เป็นกำหนด ผู้นั้นจักได้รับรูปที่ระลึกจากองค์ท่านด้านหน้าเป็นรูปองค์ท่าน ด้านหลังเป็นรูปยันต์ภควัม จากกรึกนามองค์ท่านเป็นอักษรย่อ โดยลำดับแห่งราชทินนามนั้น ๆ กระทั่งครั้งสุดท้ายได้จารึก 3 อักษรว่า พ.ฆ.อ. ซึ่งย่อจากราชทินนามว่า พุทธโฆษาจารย์ สมเด็จพระราชาคณะ ฯ

    8. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่มีอายุยืนยาวที่สุด คือ ท่านเจ้าคุณพระโศภณศีลคุณ ( หลวงปู่หลุย พาหิยเถร ) ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 23 ปัจจุบันอายุ 92 ปี พรรษา 67 ( เกิด 9 สิงหาคม 2426 ) ยังเดินลงโบสถ์ลงสวดมนต์ทำวัตรได้เป็นประจำทุก ๆ วัน เป็นพระเถราจารย์องค์สำคัญ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือยิ่งของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ

    9. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่ประพฤติปฏิบัติยอดเยี่ยม และเป็นพระเถระองค์สำคัญที่มีเกียรติคุณโด่งดังในปัจจุบัน คือ ท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ ธมมฺวิตกฺโก ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 1740 ฯ

    ไหว้ 5 ครั้ง ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดเทพศิรินทราวาส

    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาใด ตามแต่เหมาะ ต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวกัน ถ้ามีดอกไม้ ธูปเทียน ก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ

    ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประนมมือว่า นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ อิติปิ โส ภควา อรหสมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน&deg; พุทฺโธ ภควาติ ฯ หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตาม ของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ สฺวากฺขาโต ภควตา ธฺมโม สนฺทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺ จตฺต เวทิตพฺโพ วิญฺญหีติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    ครั้งที่ 3ว่าสังฆคุณ คือ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ยทิทฺ จฺตตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสฺงโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนฺยโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรฺ ปุญฺญกฺเขตตฺ โลกสฺสาติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    นั่งพับเพียบประนมมือ ตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ

    พุทฺธสรณคจฺฉามิ
    ธมฺมสรณคจฺฉามิ
    สงฺฆสรณคจฺฉามิ ฯ
    ทุติยมฺปิ พุทฺธสรณคจฺฉามิ
    ทุติยมฺปิ ธมฺมสรณคจฺฉามิ
    ทุติยมฺปิ สงฺฆสรณคจฺฉามิ ฯ
    ตติยมฺปิ พุทฺธสรณคจฺฉามิ
    ตติยมฺปิ ธมฺมสรณคจฺฉามิ
    ตติยมฺปิ สงฺฆสรณคจฺฉามิ ฯ

    ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผู้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์ และครูบาอาจารย์เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ

    ต่อนี้ไปไม่ต้องประนมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่องและร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพราก จากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจัง ไม่เที่ยงไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้นพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณ มีบิดามารดาเป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือ พระมหากษัตริย์ ทั้งเทพดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ

    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้หนี้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยอมือไม่ขึ้นก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้ เป็นเครื่องหยุดตนให้เป็นคนดีไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดีไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอจนตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่งๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มชั้นของตน ฯ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปัจฉิมโอวาท
    ของ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรมหาเถระ
    วัดเทพศิรินทราวาส

    ไม่ตายควาวนี้ ก็ตายคราวหน้า อย่างเศร้าโศก เสียทีที่ศึกษาปฏิบัติมา ร้องให้เศร้าโศก ก็ร้องไห้เสร้าโศกสังขารที่
    เกิดแก่เจ็บตายนั้นเอง ที่ไม่ร้องไห้เศร้าโศกนั้นมิใช่จะเป็นคนใจไม้ใส้ระกำอะไร

    ธรรมของพระก็คือ
    สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา
    ย่นลงก็ สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา แล้วปรินิพพาน
    ไม่ต้องเกิดมาแก่ มาเจ็บ มาตายอีก

    (มีบัญชาให้บันทึกไว้เมื่อเช้าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๙๔)
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีการไหว้ ๕ ครั้ง ( มนต์พิธี )


    คนเราทุกคน ในวันหนึ่งๆ จะต้องไหว้ให้ได้ ๕ ครั้ง เป็นอย่างน้อยคือ ในเวลาค่ำใกล้จะนอน ตั้งใจระลึกถึงพระรัตนตรัยอันเป็นสรณะอันสูงสุดและท่านผู้มีพระคุณแก่ตน คือ มารดาบิดา และครูอาจารย์ โดยประนมมือ


    ๑. นมัสการพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า
    อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    กราบลงหนหนึ่ง

    ๒. ไหว้พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ว่า
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ
    กราบลงหนหนึ่ง

    ๓. ไหว้พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า ว่า
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ
    กราบลงหนหนึ่ง

    ๔. ไหว้คุณมารดาบิดา ว่า
    มัยหัง มาตาปิตูนังวะปาเท วันทามิ สาทะรัง
    กราบลงหนหนึ่ง

    ๕. ไหว้ครูอาจารย์ ว่า
    ปัญญาวุฑฒิกะเร เต เต ทินโน วาเท นะมามิหัง
    กราบลงหนหนึ่ง

    ต่อจากนั้น พึงตั้งใจแผ่เมตตาจิตไปในเพื่อนมนุษย์ และสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ว่า ขอท่านทั้งหลายอย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยด้วยกันหมดทั้งสิ้น เทอญ.
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ออเดิฟจานนี้ร้อนมากๆ...
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    การบ้านที่พี่สิทธิพรมอบให้ผมผ่านท่านเลขาฯมานี่ ท้าทายมากๆครับ นานๆจะเจอ"คำถามย้อนยุค"แบบนี้ซักที จะลองพยายามทำการบ้านส่งนะครับ ช่วงนี้ติดงานด่วนมากๆ หากส่งช้าอย่าตัดคะแนนผมนะครับ..
     

แชร์หน้านี้

Loading...