พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    ขอจองล็อกเก็ต 1 องค์ครับ
    ใอนเงินแล้ว(09/01/10:เวลา 14:45 น.)
     
  2. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    หวัด D ครับ พี่หนุ่ม ผมจองล็อกเก็ตด้วยครับ 1 องค์ โอนเงินแล้วจะแจ้งให้ทราบครับ

    ปล. ผมเข้า web ไม่ค่อยได้ครับ เป็นมาประมาณ 4-5 วันแล้วครับ ท่านอื่นเป็นไหมครับ ช้าม้ากๆๆๆๆๆ มากครับ
     
  3. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    โมทนาสาธุ
    ก็เจอปัญหานี้กันนะครับ พยายามหน่อยอยู่ที่จังหวะแล้วหล่ะครับ หุหุ
     
  4. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 67 คน ( เป็นสมาชิก 1 คน และ บุคคลทั่วไป 66 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>psombat </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีบ่ายวันอาทิตย์ครับทุกท่าน :) พรุ่งนี้ขึ้นแม่สะเรียงครับ
     
  5. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    จอง 1 องค์ครับพี่
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียนท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และ คณะพระวังหน้า ทุกท่าน

    ตามที่ผมเคยแจ้งเรื่องการจัดสร้างล็อกเก็ต คณะพิทักษ์พระพุทธศาสนา ( ซึ่งรูปในล็อกเก็ต จะเป็นรูปองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม , หลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า , หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า , หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า , หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า , หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า ,หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า , หลวงปู่แจ้งฌาณ , หลวงปู่กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ และ สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    ผมได้ติดต่อกับพี่สิทธิพร ให้ช่วยดำเนินการสอบถามเรื่องของราคาอีกครั้ง หากได้ข้อสรุปเรื่องของราคามาแล้ว ผมจะแจ้งให้ทุกๆท่านทราบอีกครั้ง

    หากท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าและคณะพระวังหน้าทุกๆท่าน มีความประสงค์ที่จะจอง ผมได้เปิดบัญชีใหม่ไว้เพื่อการนี้ ซึ่งผมได้ทราบราคาของล็อกเก็ตมาแล้ว ผมจะแจ้งให้ทุกๆท่านได้ทราบ และ ผมจะมีกำหนดระยะเวลาในการสั่งจองและโอนเงินเข้าบัญชี

    หากการสั่งจองแล้วยังไม่ได้โอนเงินเข้าบัญชีตามกำหนดระยะเวลาที่ผมได้แจ้ง ผมขออนุญาตยกเลิกการจองครับ

    ขอบคุณครับ
    sithiphong

    http://palungjit.org/threads/พம.2445.1791/

    PaLungJit.com - ชมรม รักษ์พระวังหน้า

    รายละเอียด ผมส่งให้ทาง Email แล้วนะครับ

    หากท่านใดที่ยังไม่ได้รับ Email ผม ขอความกรุณาโทร.กลับมาหาผมด้วย

    หากหลังจากวันอังคารที่ 12 มกราคม 2553 หากมีการจองและยังไม่ได้โอนเงิน ผมขออนุญาตยกเลิกการจอง

    รายละเอียด ผมแจ้งให้ทราบทาง Email แล้วครับ

    ขอบคุณครับ

    ขอบคุณครับ
    sithiphong

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

    PaLungJit.com - ชมรม รักษ์พระวังหน้า

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

    PaLungJit.com - ชมรม รักษ์พระวังหน้า

    --------------------------------------------

    สำหรับท่านที่จองล็อกเก็ต อย่าลืมโอนเงินเข้าบัญชี(ผมแจ้งให้ท่านทราบทาง Email) ด้วยนะครับ

    หากหลังจากวันนี้ หากท่านใดที่จอง ยังไม่ได้โอนเงิน ผมขออนุญาตยกเลิกการจอง เนื่องจากต้องสรุปและส่งจำนวนล็อกเก็ตให้กับทางพี่สิทธิพร และโอนเงินค่าล็อกเก็ตให้กับพี่สิทธิพรด้วย

    ขอบคุณครับ

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับท่านที่จองล็อกเก็ต ผมจะมีพระวังหน้ามอบให้เพิ่มเติม

    เช่น พิมพ์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (ลงรัก) , พิมพ์พระสมเด็จ ผงยาวาสนา และ ผงยาจินดามณี , พิมพ์พิเศษ(เป็นที่รักของ 3 โลก) เป็นต้น

    ห้ามพลาด
    http://palungjit.org/threads/เธžเธฃ...นˆเธˆเธฐเน„เธ”เน‰.22445/page-1797#post2829802

    http://palungjit.org/groups/เธŠเธกเ...ฑเธ‡เธซเธ™เน‰เธฒ-829-page8.html#gmessage23107

    สำหรับท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และท่านสมาชิกคณะพระวังหน้า ที่ยังไม่ได้จอง ผมเปิดโอกาสให้จองวันนี้(วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) และจ่ายเงินค่าจองในวันนี้ (วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) หากพ้นจากเวลา 18.00 น.ของวันนี้ (วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2553) ไปแล้ว หากท่านใดที่ยังไม่ได้จองและโอนเงิน ผมขอยกเลิกการจองและปิดการจองล็อกเก็ตครับ

    ส่วนเรื่องของการนำพระวังหน้าที่แตกหัก มาบดเป็นผงเพื่อผสมเป็นมวลสารนั้น ขอเรียนชี้แจงว่า ผมได้ขอคำแนะนำจากท่านอาจารย์ประถม อาจสาครมาเรียบร้อยแล้ว ท่านอาจารย์ประถม ท่านเป็นผู้ที่แนะนำว่า พระวังหน้าที่แตกหัก ต้องซ่อมให้อยู่ในรูปขององค์พระเดิม หากชิ้นส่วนไหนที่ไม่สามารถที่จะซ่อมได้ ถึงจะสามารถนำมาบดเป็นผงเพื่อเป็นมวลสารในการสร้างพระใหม่ได้ ซึ่งมวลสารที่จะนำมาบดเป็นผงเพื่อคลุกรักแล้วติดด้านหลังล็อกเก็ตนั้น เป็นเศษพระวังหน้าที่ไม่สามารถนำมาซ่อมได้แล้ว มีทั้งพระสมเด็จ(top of the top , top of the top4) เป็นต้น จึงแจ้งมาเพื่อทราบกันครับ

    ขอบคุณครับ

    โมทนาสาธุครับ

    sithiphong
    11/1/2553
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เพิ่มเติมสำหรับท่านที่ร่วมทำบุญในวันเสาร์ที่ 9 มกราคม 2553
    1.น้องอุ้ม
    2.คุณแด๋น
    3.คุณกุ้งมังกอน

    ตามที่ผมได้แจ้งให้ทุกๆท่านทราบในเรื่องที่ถวายพระบูชาองค์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร ทาง Email แล้ว

    พระอาจารย์รูปหนึ่ง ท่านได้มอบพระสมเด็จ (หลังเบี้ย) มาให้ทุกๆท่านที่ร่วมทำบุญ ท่านละ 1 องค์ อย่าลืมทวงผมด้วยครับ

    โมทนาบุญกับทุกๆท่าน ทุกๆประการ สาธุครับ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ขอบคุณความเป็นผู้ให้...จากใจจริง
    /เรื่องเล่านิสิตแพทย์
    Campus - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 มกราคม 2553 15:16 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> เรื่องเล่านักศึกษาคอลัมน์นี้ Life on campus พาไปฟังเรื่องราวของ นิสิตรั้วจามจุรี ต่อ หนึ่งภารกิจการเรียนรู้ที่ใครหลายคนอาจจะขนลุกขนพอง หากไม่เคยได้สัมผัส กับ การผ่าร่างอาจารย์ใหญ่ เรื่องราวความรู้สึกและประสบการณ์นี้จะถูกถ่ายทอดโดย 1 ใน 300 นิสิตแพทย์รั้วจามจุรีที่ได้ร่วมเรียนรู้บนเรือนร่างไร้ลมหายใจของอาจารย์ใหญ่ผู้เสียสละ


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ตึก ตึก ตึก ตึก...
    ฉันย่ำเท้าออกมาจากหอยูเซนเตอร์ หอพักนิสิตรั้วจามจุรีที่คุ้นเคยหลังจากใช้ชีวิตอยู่มาเป็นปีที่ 2 วันนี้เป็นเช้าวันเสาร์ที่อากาศแจ่มใส แต่ฉันต้องแต่งชุดนิสิตเดินมุ่งหน้าไปคณะทั้งที่เข็มนาฬิกาบอกเวลาว่ายังไม่ถึงแปดนาฬิกา ขณะที่เดินเข้าไปในรั้วจุฬาฯใหญ่ ก็พลันเห็นป้ายคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ฉันแอบนึกอิจฉาเพื่อนต่างคณะที่ป่านนี้คงนอนหลับกันอย่างสบายในห้องแอร์เย็นฉ่ำ แต่ฉันกลับต้องไปผ่ากรอสในห้องแอร์เย็นเฉียบ

    "ผ่าอาจารย์ใหญ่ไม่กลัวหรอ" ฉันนึกถึงบทสนทนาที่เพื่อนๆ และใครหลายๆ คนก็มักจะถามฉันอยู่เป็นประจำ

    "ไม่กลัวหรอกค่ะ อาจารย์ใหญ่ท่านมีจิตประสงค์ดี" ฉันตอบพร้อมกับรอยยิ้มทุกครั้งโดยไม่สนใจความฉงนบนใบหน้าของผู้ถาม
    จริงอยู่ว่าสิ่งที่พวกเราศึกษาอยู่นั้นคือ 'ศพ' แต่สำหรับอาจารย์ใหญ่ ท่านไม่ได้เป็นศพที่เป็นเพียงร่างไร้วิญญาณ รอการฌาปนกิจตามหลักศาสนาเท่านั้น แต่ท่านเป็น 'ศพ' ที่เปี่ยมไปด้วยจิตศรัทธาของความเป็นผู้ให้...ให้โดยไม่หวังผลตอบแทน
    หลายคนคิดว่า ความตายคือสิ่งสุดท้ายของชีวิต เพราะเมื่อความรู้สึกนึกคิดของวิญญาณออกจากร่างแล้ว ก้อนเนื้อที่ถูกปกคลุมด้วยผิวหนังร่างนั้น สุดท้ายก็ต้องกลายเป็นผงเถ้าธุลีไปเหมือนๆ กัน

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> แต่ฉันเชื่อว่าอาจารย์ใหญ่แต่ละท่านไม่ได้คิดแบบนั้นแน่นอน
    เพราะความตายไม่ใช่ปลายทาง แต่กำลังจะเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้ให้แก่นิสิตแพทย์เกือบ ๓๐๐ คนในแต่ละปี เพื่อเป็นฐานความรู้ไปรักษาคนไข้ในภายภาคหน้าอีกหลายชีวิต การให้ของท่าน ไม่ใช่การให้ด้วยทรัพย์สินเงินทองเหมือนมรดกที่ตกทอดให้ลูกหลาน แต่เป็นการให้ที่นำไปต่อชีวิตคนให้เป็นประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์อย่างไม่มีที่สิ้นสุดยามเมื่อสิ้นลมหายใจ...

    พลั่ก!
    แรงถูกกระทำจากการเดินชนตามกฎของนิวตันที่ว่า Action = Reaction ทำให้ร่างของฉันเด้งกลับและสัมผัสได้ว่าเดินชนคนเข้านั่นเอง
    เขาเป็นฝรั่งตัวใหญ่ใจดีเสียด้วยสิ ฉันรีบขอโทษขอโพยยกใหญ่ แต่ชายเจ้าของผมสีบลอนด์ ตาสีฟ้าก็ไม่ว่าอะไร ได้แต่ยิ้มๆ แล้วบอก "It's alright' It's ok" ก่อนจะโบกมือลาและเร่งรีบเดินเข้าไปในตึกเปรมบุรฉัตร ตึกที่เป็นห้องพักอาจารย์ชาวต่างประเทศ ชายคนนั้นคงเป็นอาจารย์ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้สินะ เขาทำให้ฉันนึกถึงฝรั่งตัวใหญ่ใจดีที่เป็นอาจารย์อีกคนหนึ่ง

    "รู้สึกตื่นเต้นมากเลยที่ได้อาจารย์เป็นฝรั่ง" ตัวแทนจากโต๊ะแล๊ปโต๊ะหนึ่งกล่าวถึงอาจารย์ใหญ่รูดอล์ฟ โฮริช วอลล์ “แม้ว่าร่างของท่านจะใหญ่กว่าคนทั่วไป ทำให้ผ่ายาก แต่โต๊ะเราก็รู้สึกดีที่ได้ศึกษาท่าน ทำให้ได้เห็นความแตกต่างของร่างกายจากทั้งคนไทยและคนต่างชาติ"

    ความไม่ได้เป็นคนไทยของท่านทำให้ฉันฉุกคิดขึ้นมาว่า แท้จริงแล้ว จิตศรัทธาของผู้ให้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ ศาสนา หรืออายุเลย
    "ตอนแรกอาจารย์ใหญ่ท่านบอกลูกว่าถ้าตายแล้วอยากให้เอาร่างของท่านโยนลงทะเล เพราะท่านชอบกินปลามาก แต่ลูกสาวให้ความเห็นว่าถ้าจะทำอย่างนั้น ไปบริจาคร่างกายให้นิสิตแพทย์ศึกษาเสียดีกว่า ท่านก็เห็นดีเห็นงามด้วย" เขาเล่าติดตลก

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> อาจารย์ใหญ่เฮี้ยง เซียงหว่องที่เป็นอาจารย์ประจำโต๊ะที่ฉันศึกษาอยู่เสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิตด้วยอายุ 80 ปีนั้น ในตอนแรกก็ไม่อยากบริจาคร่างกายด้วยความเชื่อตามประสาคนโบราณว่าเสียชีวิตแล้วควรนำไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนา แต่ด้วยการอธิบายถึงความขาดแคลนอาจารย์ใหญ่ที่คณะแพทย์ จุฬาฯ ประสบโดยลูกชายที่ชอบทำบุญทำทานเป็นชีวิตจิตใจแล้ว อาจารย์ใหญ่เฮี้ยงก็ยอมบริจาคร่างกายด้วยกุศโลบายอันยิ่งใหญ่และจิตใจอันบริสุทธ์
    จะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ใหญ่ประจำโต๊ะไหนๆ ทุกท่านก็มีจิตศรัทธาเต็มใจที่จะมอบและเสียสละร่างกายให้พวกเราได้เรียนกัน

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ท้องฟ้าวันนี้โปร่งสบาย เมฆสีขาวก้อนโตกำลังลอยตามแรงลมเอื่อยๆ ทำให้พระพักตร์พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลแลดูผ่องใสเป็นพิเศษ ฉันยกมือไหว้เหมือนทุกครั้งที่เดินผ่านมา ก่อนจะปิดเครื่องเล่น MP3 ด้วยความหงุดหงิดที่หูฟังเสียงไม่ดังอีกแล้ว อุปกรณ์ใดในโลกนี้ที่มนุษย์พยายามคิดค้นขึ้นมาสุดท้ายก็ยังไม่มีสิ่งไหนเรียกได้ว่าสมบูรณ์แบบ มันทำให้ฉันคิดถึงตำราเรียนแพทย์ที่แม้จะมีภาพประกอบที่สีสันสวยงามพร้อมคำอธิบายทุกสิ่งทุกอย่างแล้วก็ยังไม่สามารถทำให้นิสิตเข้าใจได้ 100% เท่ากับการศึกษาจากอาจารย์ใหญ่
    นี่คงเป็นเหตุผลสำคัญที่จำเป็นจะต้องมีการศึกษาจากร่างกายมนุษย์จริงๆ ในรั้วโรงเรียนแพทย์กระมัง
    เพราะคงไม่มีอุปกรณ์ใดจะดีไปกว่าการได้ลงมือผ่าและจับต้องด้วยมือของเราเอง เห็นด้วยตาของเราเอง ไม่มีเทคโนโลยีใดจะทดแทนคุณค่าทางการศึกษานี้ได้อีกแล้ว แหล่งความรู้ที่ไม่ว่าเมื่อใดก็ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเสมอ และยังไม่ต้องให้นิสิตจินตนาการทึกทักเอาเองจากตัวหนังสือใน textbook เล่มโต แต่เป็นการได้เรียนรู้ ได้เข้าใจจากของจริง จำได้ง่าย แม้บางครั้งจะลืมไปบ้าง แต่ก็ง่ายที่จะทบทวน
    ฉันกดลิฟต์หมายเลข 5 ที่ตึกแพทยพัฒน์เพื่อพาตัวเองไปชั้นเรียนที่เรียงรายด้วยร่างของอาจารย์ใหญ่ แม้วันนี้จะไม่ใช่วันแรกของการผ่ากรอส แต่ความตื่นเต้นก็ยังคงอยู่ทุกครั้งด้วยความอยากรู้ว่าวันนี้จะได้เรียนรู้อะไรใหม่บ้างหรือเปล่า ฉันเป็นหนึ่งในหลายๆ คนที่รักวิชา anatomy อย่างสุดขั้วหัวใจ หากไม่มีการเรียนการสอนวิชานี้แล้ว นิสิตแพทย์คงยากที่จะเข้าใจโครงสร้างพื้นฐานในระบบต่างๆ ของร่างกาย
    พวกเราพยายามผ่ากรอสด้วยความระมัดระวังเพื่อไม่ทำให้เส้นเลือดและเส้นประสาทที่หายากขาดไป เลาะไขมันออกออกมาให้ได้เห็นเป็นกล้ามเนื้อที่สวยงาม การได้ลงมือศึกษาด้วยตัวเองทำให้เราจำได้มากขึ้น มีความรู้มากขึ้นตามเนื้อหาวิชาที่ได้เรียนรู้ทุกวัน

    ติ๊ง!
    เสียงลิฟต์บอกจุดหมายปลายทางของฉันในเช้าวันนี้ ขณะที่เดินเข้าไปในห้องกรอสก็เห็นอาจารย์ท่านหนึ่งช่วยนิสิตผ่ากรอสประจำโต๊ะ อีกมุมหนึ่งของห้องมีรุ่นพี่แพทย์ใช้ทุนกำลังอธิบายโครงสร้างสร้างและกลไกการทำงานของเนื้อหาที่จะสอบในอีกไม่กี่วันข้างหน้า อาจารย์หลายๆ ท่านเดินไปมาคอยให้ความช่วยเหลือและตอบคำถามที่นิสิตสงสัย

    ฉันรู้สึกว่าตัวเองช่างโชคดีนักที่ได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาคณะแพทย์ในรั้วจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีคณาจารย์ที่น่ารักและเก่งระดับแนวหน้า ผู้ไม่ได้ยัดเยียดความรู้ให้พวกเราท่องจำเพียงอย่างเดียว แต่สอนให้พวกเราสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตของการเป็นแพทย์จริงๆ

    ฉันเปิดผ้าคลุมสีขาวสะอาดออกจากร่างอาจารย์ใหญ่เฮี้ยงประจำโต๊ะ ไหว้ขอขมาด้วยความขอบคุณอย่างทุกครั้งที่เคยทำ ใบหน้าของอาจารย์นั้นหากมีชีวิตเหมือนอาจารย์ทั่วไปก็คงจะยิ้มออกมาเมื่อพบหน้าลูกศิษย์ แต่ท่านคงไม่สามารทำเช่นนั้นได้ เพราะท่านเป็นอาจารย์ใหญ่ผู้ไร้วิญญาณ

    กระนั้นฉันยังคงสัมผัสได้ถึงความศรัทธา ความเสียสละที่ท่านมีให้ลูกศิษย์แพทย์เสมอมาอย่างไม่เสื่อมคลาย / นางสาวจริงใจ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>นิทานสอนใจ :บาบูผู้ทรงความยุติธรรม
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 มกราคม 2553 09:43 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> สำหรับคุณพ่อคุณแม่ที่ติดตามคอลัมน์ครอบครัวตัวหนอนที่ได้นำนิทานดี ๆ มานำเสนออย่างต่อเนื่อง วันนี้เป็นนิทานจากหนังสือ "รวมนิทานคัดสรร ด้วยรักบันดาล...นิทานสีขาว" เล่าเรื่องโดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ของสำนักพิมพ์ฟรีมายด์ ซึ่งต้องขอขอบคุณ มา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ ส่วนเนื้อเรื่องของนิทานจะเป็นอย่างไรนั้น ติดตามกันได้เลยค่ะ

    **********************

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=280 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=280>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ณ ดินแดนอันไกลโพ้น มีเมือง ๆ หนึ่งสร้างขึ้นอย่างวิจิตรงดงาม ที่เมือง ๆ นี้มีพระราชาพระนามว่า "บาบู" เป็นผู้ปกครอง

    พระราชาบาบูทรงเป็นพระราชาที่ประชาชนรักมาก เพราะพระองค์ทรงยึดเอาความยุติธรรมเป็นที่ตั้งในการปกครองบ้านเมือง ถึงขนาดทรงให้แขวนกระดิ่งทองคำเสียงกังวานก้องไว้หน้าพระราชวัง เมื่อชาวบ้านคนใดมีความเดือดร้อน หรือได้รับความอยุติธรรมใด ๆ ก็ให้มาสั่นกระดิ่งทอง แล้วพระองค์จะเสด็จออกมารับฟังและช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ด้วยพระองค์เอง

    มาในระยะหลัง ๆ ปรากฏภาวะแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ำกินน้ำใช้ ประชาชนปลูกข้าวไม่ได้ พืชผลต่าง ๆ ล้มตายไปตาม ๆ กัน ทุก ๆ วันจึงมีประชาชนมาสั่นกระดิ่งทองคำเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระราชาบาบู โดยในช่วงแรก ๆ พระราชาบาบูได้มีราชโองการเบิกข้าวสารและพืชผลที่เก็บไว้ในคลังผลผลิตของพระราชวังมาแจกจ่ายแก่ชาวบ้านเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปก่อน แต่เมื่อต้องแจกเช่นนี้ไปทุก ๆ วัน ข้าวสารและพืชผลต่าง ๆ ที่เคยมีอยู่เต็มคลังก็เริ่มร่อยหรอ ไม่พอแก่การแจกจ่าย ทำให้ทรงกลุ้มพระทัยเป็นอย่างมาก

    ในที่สุดก็ทรงตัดสินพระทัยส่งพระราชสาส์นไปกับนกพิราบถึงเจ้าชายบาเบ พระโอรส ซึ่งทรงศึกษาวิชาการปกครองอยู่ในป่ากับพระอาจารย์

    เจ้าชายบาเบเมื่อได้รับพระราชสาส์นจากพระบิดาก็ไม่รอช้า ทรงเข้าพบพระอาจารย์เพื่อขอลากลับบ้านเมืองทันที อย่างไรก็ตาม เจ้าชายบาเบก็อดที่จะโอดครวญแก่พระอาจารย์ด้วยความเสียดายไม่ได้ ในเรื่องที่ตนเองไม่อาจอยู่ศึกษาจนจบหลักสูตรดังเช่นเจ้าชายจากเมืองอื่น ๆ พระอาจารย์ฟังเจ้าชายโอดครวญแล้วกล่าวว่า

    "ความรู้ไม่ได้มีอยู่ที่นี่ที่เดียวดอก บาเบ ครูสอนการปกครองที่ดีที่สุดไม่ใช่ข้า แต่คือประชาชนของเจ้าเอง"

    เจ้าชายบาเบเห็นจริงดังคำพระอาจารย์ว่า จึงรีบกราบลาแล้วทรงม้าคู่บารมีเสด็จกลับเมืองในทันที

    เจ้าชายบาเบทรงม้าติดต่อกันสามวันสามคืน โดยไม่ยอมหยุดพัก เนื่องด้วยเห็นว่าความเดือดร้อนที่กำลังเกิดแก่ประชาชนนั้นรอช้าไม่ได้ และแล้วในวันที่ 4 ซึ่งเจ้าชายบาเบและม้าทรงของพระองค์รู้สึกเหนื่อยล้าเป็นอย่างมาก ก็เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น

    มีลูกวัวน้อยตัวหนึ่งเดินออกมาจากพงหญ้าทึบข้างทางเพื่อเล็มหญ้าอ่อนตรงทางที่เจ้าชายบาเบเสด็จผ่าน ด้วยความเหน็ดเหนื่อยผสมอาการสะลึมสะลือ เพราะไม่ได้นอนหลับมาหลายวัน ทำให้เจ้าชายบาเบบังคับม้าทรงให้หลบลูกวัวน้อยไม่ทัน เป็นเหตุให้ม้าทรงเหยียบลูกวัวน้อยถึงแก่ความตาย เจ้าชายบาเบทรงตกพระทัยตื่นจากอาการสะลึมสะลือนั้น รีบเหลียวกลับไปมองพร้อมกับร้องอุทานว่า

    "หยุดก่อนเจ้าม้าเอ๋ย เห็นทีว่าข้าคงจะเหยียบเด็กคนใดเข้าแล้ว"

    เจ้าชายบาเบจ้องไปยังร่างที่พระองค์คิดว่าเป็นเด็ก แต่แล้วก็เห็นเพียงแค่วัวน้อยตัวหนึ่งนอนแน่นิ่งสิ้นลมหายใจอยู่เท่านั้น

    "โธ่เอ๋ย ที่แท้ก็แค่ลูกวัว" เจ้าชายบาเบเอ่ยอย่างโล่งใจ แล้วรีบควบม้าทรงต่อไปจนกระทั่งถึงบ้านเมืองและได้เข้าเฝ้าพระราชาบาบู ซึ่งเมื่อได้เห็นหน้าพระโอรสก็รู้สึกดีพระทัยเหลือจะกล่าว รวมทั้งข้าราชบริพารต่างก็พากันโห่ร้องแสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่ง

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=299 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=299>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ในระหว่างที่ความยินดีปรีดากำลังบังเกิดอยู่นั้นเอง จู่ ๆ เสียงกระดิ่งทองคำก็ดังก้องกังวาน พระราชาบาบูจึงรีบละจากพระโอรสออกไปรับเรื่องเดือดร้อนจากชาวบ้านทันที แต่เมื่อเห็นผู้สั่นกระดิ่ง พระราชาบาบูก็ทรงรู้สึกแปลกพระทัยยิ่ง เพราะผู้สั่นกระดิ่งในครั้งนี้คือแม่วัวสาวที่มีน้ำตาไหลอาบแก้ม และร้องครวญอย่างน่าเวทนา

    "มีใครในที่นี้รู้บ้าง ว่าเหตุใด แม่วัวตัวนี้จึงมาสั่นกระดิ่งทองคำร้องเรียกเรา" พระราชาบาบูตรัสถามข้าราชบริพารแต่ไม่มีใครทราบ จึงทรงมีราชโองการออกไปว่า

    "เราเชื่อว่าต้องมีเรื่องทุกข์ใจแสนสาหัสเกิดแก่แม่วัวตัวนี้แน่ จงไปสืบความจากชาวบ้านและผู้เห็นเหตุการณ์ ถึงเรื่องราวเลวร้ายที่เกิดขึ้นแก่แม่วัว แล้วนำความนั้นมาบอกเราเดี๋ยวนี้"

    เหล่าทหารรีบรุดออกจากวังไปสอบถามชาวบ้าน แล้วรีบกลับมากราบทูลให้พระราชาบาบูทรงทราบ เมื่อทรงรับทราบเรื่องราวทั้งหมดแล้ว จึงรับสั่งให้เจ้าชายบาเบเข้าเฝ้า แล้วตรัสถามเจ้าชายว่า

    "ลูกพ่อ พ่อรู้เรื่องที่ลูกได้คร่าชีวิตลูกวัวน้อยแล้ว ไยเจ้าจึงทำเช่นนั้นเล่า"

    "กราบทูลเสด็จพ่อ ด้วยความรีบร้อนเดินทางกลับบ้านเมือง ทำให้ลูกขาดสติในการบังคับม้า ม้าของลูกจึงพลาดไปเหยียบลูกวัวจนถึงแก่ชีวิตพระเจ้าข้า" เจ้าชายบาเบตอบ

    "เมื่อเจ้าทำให้ชีวิตลูกวัวน้อยหลุดลอยไปแล้ว เจ้าแสดงความรับผิดชอบอย่างไรบ้างเล่าลูกรัก" พระราชาบาบูตรัสถามอีก

    "ลูกมิได้ทำสิ่งใดเลย ด้วยเห็นว่านั่นเป็นเพียงแค่ลูกวัวตัวหนึ่งเท่านั้น"


    เมื่อทรงได้ฟังคำตอบเช่นนั้น พระราชาบาบูถึงกับทรงทรุดตัวลงบนพระที่นั่ง เจ้าชายบาเบเห็นดังนั้นก็ตกพระทัย เนื่องจากไม่เข้าใจว่า สิ่งที่ตนทำลงไปนั้นเป็นเรื่องร้ายแรงอย่างไร

    "ลูกทำอะไรผิดอย่างนั้นหรือเสด็จพ่อ" เจ้าชายบาเบตรัสถามด้วยความกังวลใจ

    "เจ้าเป็นถึงลูกพระราชา ไยดูแคลนคุณค่าของชีวิตเช่นนั้น แม้นั่นจะเป็นลูกวัว แต่ลูกวัวก็มีชีวิต มีเลือดเนื้อ มีความเจ็บปวดเช่นเดียวกับเจ้า ลองหันไปดูสิลูกรัก หากชีวิตของลูกวัวน้อยไม่มีค่าดังเช่นที่เจ้าว่า เหตุใดจึงทำให้แม่วัวเศร้าโศกถึงขนาดต้องมาร้องทุกข์กับพ่อ ลูกรัก หากเจ้ามองไม่เห็นความสำคัญของสิ่งเล็กน้อยในวันนี้ แล้ววันหน้าเจ้าจะปกครองประเทศด้วยใจที่เป็นธรรมได้อย่างไร ต่อไปเจ้าคงต้องละทิ้งหน้าที่ ละทิ้งความเป็นธรรม ละทิ้งสิ่งสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งละทิ้งประชาชนและสูญสิ้นประเทศ ลูกรัก..พ่อไม่ยอมให้พระราชาเช่นนั้นมาปกครองประชาชนของพ่อเป็นแน่ และความผิดของเจ้าสมควรได้รับการชำระโทษอย่างเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย"

    เมื่อตรัสจบ พระราชาบาบูก็ทรงตัดสินพระทัยที่จะลงโทษพระโอรสด้วยวิธีเดียวกับที่เจ้าชายได้ทำกับลูกวัวน้อย สร้างความตกตะลึงให้แก่ทหารและข้าราชบริพารในที่แห่งนั้นเป็นอันมาก ต่างทัดทานให้พระราชาทรงตัดสินพระทัยใหม่ ด้วยเห็นว่าการลงโทษนี้ร้ายแรงเกินไปสำหรับความผิดของเจ้าชายที่ฆ่าลูกวัวหนึ่งตัว

    "วัวหนึ่งตัวก็คือหนึ่งชีวิต เมื่อหนึ่งชีวิตสูญสิ้นในแผ่นดินของเราอย่างไม่เป็นธรรม ตัวเราซึ่งเป็นพระราชาก็ต้องเรียกร้องความยุติธรรมนั้นคืนมาให้ เจ้าชายไม่คิดว่าหนึ่งชีวิตน้อย ๆ ของลูกวัวสำคัญ ฉะนั้นเราจะทำให้เจ้าชายรู้ซึ้งถึงความเจ็บปวดก่อนสิ้นชีวิต เพื่อที่เขาจะได้เข้าใจคุณค่าของชีวิตมากขึ้น และเราผู้เป็นพ่อก็สมควรได้รับโทษแห่งความสูญเสีย ดังเช่นที่แม่วัวกำลังได้รับอยู่ขณะนี้..ตัวเราจะเป็นผู้คร่าชีวิตลูกของเราเอง"

    ท่ามกลางเสียงคัดค้านของเหล่าเสนาอำมาตย์ เจ้าชายบาเบกลับยอมรับโทษจากพระบิดาด้วยจิตใจที่สำนึกผิด ทรงเดินไปยังหน้าพระราชวังแล้วล้มตัวลงนอนทอดกายบนดินที่ร้อนระอุ เพื่อรอรับการลงพระอาญาจากพระบิดา

    "ลูกพร้อมรับโทษจากเสด็จพ่อแล้ว ขอให้ลงโทษลูกให้สมกับความผิดด้วยเถิด"

    พระราชาบาบูมองพระโอรสแล้วรู้สึกประหนึ่งพระทัยจะแตกออกเป็นเสี่ยง ๆ แต่ก็ต้องแข็งใจทรงม้าพระที่นั่งเพื่อลงโทษเจ้าชายด้วยพระองค์เองตามที่ได้ลั่นวาจาไว้ ม้าพระที่นั่งเหยียบร่างของเจ้าชายอย่างแรงจนพระโลหิตทะลักออกทางพระโอษฐ์และพระนาสิก และทำให้เจ้าชายสิ้นพระชนม์ในทันที

    ท่ามกลางความตกใจและเสียงร่ำไห้ พระราชาบาบูทรงลงจากม้าอย่างคนสิ้นวิญญาณ แล้วทรุดกายลงไปนั่งบนพื้นดินข้าง ๆ ร่างพระโอรส น้ำพระเนตรไหลอาบเต็มพระพักตร์

    ทันใดนั้นเอง มีแสงสว่างวาบเกิดขึ้นที่ร่างของแม่วัวที่มาร้องทุกข์ หลังสิ้นแสงนั้นร่างของแม่วัวก็หายไป ปรากฏเป็นฤาษีเฒ่าที่น่าเลื่อมใสขึ้นมาแทน

    "อย่าทุกข์ใจไปเลยองค์ราชา คุณธรรมที่มั่นคงของท่านได้ประจักษ์แก่สามโลกแล้ว เราจะชุบชีวิตพระโอรสของท่าน ผู้ซึ่งเป็นศิษย์ของเราเช่นกัน กลับคืนมา ณ บัดนี้"

    กล่าวจบ ฤาษีก็วาดไม้เท้าขึ้นกลางอากาศแล้วชี้ไปยังร่างเจ้าชายบาเบ สิ่งมหัศจรรย์ก็เกิดขึ้น เมื่อเจ้าชายบาเบรู้สึกพระองค์ ลุกขึ้นมามีลมหายใจอีกครั้ง สร้างความยินดีให้กับทุกคนโดยเฉพาะพระราชาบาบูเป็นอันมาก

    "พระอาจารย์มาช่วยศิษย์หรือพระเจ้าค่ะ" เจ้าชายบาเบตรัสถาม

    "เปล่าเลยบาเบ" พระฤาษีตอบ "ความยุติธรรมอันเป็นคุณสมบัติที่สำคัญยิ่งของพระราชาแห่งพระบิดาของเจ้าต่างหากที่ช่วยเจ้าไว้ ลูกวัวตัวนั้นเป็นร่างเสกจากข้าเพื่อทดสอบคุณธรรมในพระบิดาของเจ้า ซึ่งได้แสดงให้เห็นแล้วว่า พระราชาบาบูทรงมีความยุติธรรมเป็นที่น่าสรรเสริญยิ่ง บาเบ..เจ้าไม่ต้องกลับไปศึกษาวิชาการปกครองจากข้าอีกดอก ในเมื่อพระบิดาของเจ้าคือพระอาจารย์ที่ยิ่งใหญ่มากอยู่แล้ว จงศึกษาคุณธรรมจากพระราชาผู้นี้ แล้วเจ้าจะเป็นพระราชาผู้ครองใจประชาชนได้ในเวลาไม่นาน"

    กล่าวจบพระฤาษีก็ให้พรแก่พระราชาบาบูว่า

    "ด้วยความยุติธรรมอันโดดเด่นของท่าน ข้าขออวยพรให้บ้านเมืองท่านพ้นจากภัยแล้งเสียเดี๋ยวนี้ และขอให้บ้านเมืองของท่านอุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร ประชาชนอยู่อย่างเป็นสุข และเทิดทูนพระราชาผู้ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรมเป็นที่ตั้งดังเช่นท่านตลอดไป"

    สิ้นคำให้พรสุดท้าย พระฤาษีก็หายตัวไป เสียงโห่ร้องของชาวบ้านดังก้องไปทั้งเมือง พร้อมกับฝนตกลงมาจากฟากฟ้า เจ้าชายบาเบทรงสวมกอดพระราชาบาบูและทรงให้คำมั่นสัญญาว่า จะเป็นพระราชาผู้ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรมดังเช่นพระบิดาให้จงได้
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ศักราช
    .:: ศักราช - คลังปัญญาไทย ::.

    ศักราช ช่วงเวลาที่จัดตั้งขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก


    <TABLE class=toc id=toc summary=สารบัญ><TBODY><TR><TD>สารบัญ

    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript> if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดงสารบัญ"; var tocHideText = "ซ่อนสารบัญ"; showTocToggle(); } </SCRIPT>
    ความหมายของศักราช

    ศักราช หมายถึง ปีที่กำหนดเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งสำคัญมาก สำหรับจดจารึกไว้ ศักราชที่กำหนดไว้ มี พุทธศักราช รัตนโกสินทร์ศักราช (รัตนโกสินทร์ศก) จุลศักราช และคริสต์ศักราช ศักราชเหล่านี้เริ่มต้นนับแตกต่างกัน จึงต้องมีการเทียบศักราช

    ความเป็นมาของศักราช

    หนังสือไทยโบราณทั้งหลาย เช่น หนังสือพงศาวดาร ประกาศกฏหมายเก่า หรือ ตำราต่างๆ ฯลฯ มักลงศักราช ไว้ต่างๆ กัน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อจะลงศักราชบอกเวลาเป็นปี นิยมใช้ "จุลศักราช" หนังสือที่ตึพิมพ์ตั้งแต่พุทธศักราช 2431 หรือในตอนกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น หนังสือราชการ ตำราและ แบบเรียน ฯลฯ ใช้ " รัตนโกสินทรศก " แทน "จุลศักราช" ทั้งสิ้น แต่การลงศักราชเป็น"รัตนโกสินทรศก" นั้น กระทำอยู่ได้ไม่นานนัก เพราะปรากฏว่าตั้งแต่พุทธศักราช 2455 เป็นต้นมา หนังสือราชการและสิ่งพิมพ์ต่างๆ หันมาใช้ "พุทธศักราช" แทน "รัตนโกสินทรศก" ตราบจนทุกวันนี้ ประโยชน์ของการเปรียบเทียบศักราชเป็นสิ่งควรจำสำหรับใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าตำราเก่า

    ศักราชตามชื่อเรียก

    พุทธศักราช (พ.ศ.)

    ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในหมู่พระสงฆ์ ก่อนที่รัชกาล 6 จะเกล้าให้นำมาใช้แทน ร.ศ. ปีพุทธศักราชของไทย ถือกำเนิดโดยให้วันปรินิพพานเป็นปี พ.ศ. 0 แต่ ศรีลังกา พม่า ลาว และเขมร นับมากกว่าเรา 1 ปี คือนับเอาวันปรินิพพานเป็นปีที่ 1 ในปัจจุบันมีค้นพบว่าพุทธศักราช มีความคลาดเคลื่อนไปจากความเข้าใจข้างต้น 60 ปี นั่นคือ เขาเชื่อกันว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานปี พ.ศ. 60 มิใช่ พ.ศ. 0
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    ในสมัยก่อน ปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและคริสต์ศักราชคาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่นๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443
    ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม)

    คริสตศักราช (ค.ศ.)

    เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์เกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี ดังนั้นวันคริสตมาสในปี 2001 จึงครบรอบวันประสูติ 2000 ปี โดยมีวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวันขึ้นปีใหม่
    การหาว่าวันปีใหม่เป็นวันอะไร

    หากต้องการทราบว่าวันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันอะไร คำนวณได้ด้วยการเอาปี ค.ศ. ทีต้องการมาลบด้วย 1 แล้วหารด้วย 28 หากเหลือเศษ
    • 1, 7, 18, 24 เป็น อาทิตย์
    • 2, 8, 13, 19 เป็น จันทร์
    • 3, 14, 20, 25 เป็น อังคาร
    • 4, 9, 15, 26 เป็น พุธ
    • 5, 11, 22, 0 เป็น ศุกร์
    • 6, 12, 17, 23 เป็น เสาร์
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    หากต้องการทราบว่า พ.ศ. หนึ่งเป็น ค.ศ. ใดให้เอา 543 มาลบจาก พ.ศ. ก็จะเป็น ค.ศ. ในตรงกันข้ามหากต้องการทราบว่า ค.ศ. หนึ่งเป็น พ.ศ. ใดให้เอา 543 มาบวก

    มหาศักราช (ม.ศ.)

    หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า ศกาพทะ หรือ ศาลิวาหนกาล แปลว่า ปีของชาวศกะ (Scythian) เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเจ้าศาลิวาหนะ หรือบางตำนานเรียกว่า พระเจ้ากนิษกะ แห่งศกราชวงศ์ ทรงมีชัยชนะเหนือแคว้นโดยรอบ เป็นมหาศักราชที่ 1 มีวิธีการนับวันเดือนปีจะเป็นไปตามสุริยคติ โดยวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 เมษายนของทุกปี เกิดก่อนพุทธศักราช 621 ปี

    จุลศักราช (จ.ศ.)

    เป็นการนับเดือนปีเป็นแบบทางจันทรคติ เริ่มนับ จ.ศ. 1 เมื่อปี พ.ศ. 1182 โดยนับเอาวันที่พระบุพโสระหัน สึกออกจากการเป็นพระมาเพื่อชิงราชบัลลังก์เป็นวันแรกของศักราช ในสมัยโบราณถือตามสุริยคติ (คัมภีร์สุริยยาตร) ใช้วันเถลิงศก (ปัจจุบันตกราว 16 เมษายน) เป็นวันปีใหม่ แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าให้ถือตามจันทรคติ คือใช้วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปีเป็นวันสิ้นปี
    ในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับปีนักษัตร หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปีเลยทีเดียว
    การเรียกศกตามเลขท้ายปี

    ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียกด้วยศัพท์บาลี ดังนี้
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 1 เรียก "เอกศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 2 เรียก "โทศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 3 เรียก "ตรีศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 4 เรียก "จัตวาศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 5 เรียก "เบญจศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 6 เรียก "ฉศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 7 เรียก "สัปตศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 8 เรียก "อัฐศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 9 เรียก "นพศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 0 เรียก "สัมฤทธิศก"
    รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)

    เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยถือเอาปีที่ตั้งกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง เป็นปีรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และใช้อยู่จนถึง ร.ศ. 131 เป็น ร.ศ. สุดท้าย หรือเพียง 23 ปี ก็เลิกใช้ไป เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการอ้างอิงปีในประวัติศาสตร์ เช่น กล่าวว่า ไทยเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีที่ 15 ก่อน ร.ศ. เป็นต้น

    กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.)

    เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2558ปี

    วิกรมาทิตย์ศักราช (ว.ศ.)

    หรือวิกรมสังวัตเป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย เกิดหลังพุทธศักราช 486 ปี

    ศักราชพระเจ้าเหลือง (ล.ศ.)

    เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน เกิดก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้

    *** ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช 0 เช่นก่อนค.ศ. 1 คือ 1 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    - วิกิพีเดีย
    - SchoolNet Thaniland
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปฏิทินไทย

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ปฏิทินไทย เป็นปฏิทินชนิดที่เรียกว่าสุริยจันทรคติ โดยใช้ปฏิทินสุริยคติไทยในทางราชการและนิยมใช้ทั่วประเทศไทย ซึ่งขณะเดียวกัน ปฏิทินจันทรคติไทย มีการใช้งานในการนับวันสำคัญทางพุทธศาสนาและวันข้างขึ้นข้างแรม

    <TABLE class=toc id=toc sizcache="0" sizset="0"><TBODY sizcache="0" sizset="0"><TR sizcache="0" sizset="0"><TD sizcache="0" sizset="0">เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ประวัติปฏิทินไทย

    ในอดีตประเทศไทยใช้ปฏิทินจันทรคติ โดยในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ได้นับปีตามปีมหาศักราชตามที่ปรากฏในศิลาจารึก จนกระทั่งถึงสมัยพญาลิไท<SUP class="noprint Template-Fact">[ต้องการอ้างอิง]</SUP> / สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง<SUP class="noprint Template-Fact">[ต้องการอ้างอิง]</SUP> ได้เปลี่ยนมาใช้จุลศักราช โดยใช้วันเถลิงศก (วันพระญาวัน) เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งยังคงใช้ปฏิทินจันทรคติอยู่ ถึงแม้ว่าปฏิทินราชการจะใช้จันทรคติ แต่ทางคณะสงฆ์ยังนิยมใช้เทียบปีในรูปแบบพุทธศักราชอยู่ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ยังคงให้มีวันเปลี่ยนปีขึ้นจุลศักราชใหม่ตามปฏิทินสุริยคติแบบสุริยยาตรด้วยวันเถลิงศกซึ่งตรงกับวันที่ 15 เมษายนในสมัยนั้น.ส่วนปีนักษัตรให้นับเปลี่ยนปีตามปฏิทินจันทรคติ คือใช้วันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 แทน. และระหว่างวันเปลี่ยนปีนักษัตร(จันทรคติ)กับวันขึ้นปีจุลศักราช(สุริยคติ)นี้จะเป็นช่วงเวลาที่เปลี่ยนปีนักษัตรแล้วแต่ปีจุลศักราชยังเป็นปีเก่าอยู่จึงให้เพิ่มคำว่า "ยังเป็น" อีกด้วย. จนกระทั่งในปี จุลศักราช 1240 ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2431 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ เปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติมาใช้ปฏิทินสุริยคติแบบสากลตามปฏิทินเกรกอเรียนแทนที่ โดยกำหนดแบ่งให้หนึ่งปีมี 12 เดือน และในแต่ละเดือนจะมี 28-31 วันตามปฏิทินสากล ทรงให้กรมพระยาเทววงศ์วโรปการตั้งชื่อเดือน ได้แก่ เดือนแรกของปีคือเดือนเมษายน จนถึงเดือนสุดท้ายของปี คือเดือนมีนาคม ซึ่งยังคงใช้รัตนโกสินทรศก เป็นชื่อปีอย่างเป็นทางการ โดยใช้ 1 เมษายน ร.ศ. 108 แทนที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 จนกระทั่งเลิกใช้ปีรัตนโกสินทรศกที่ 131 จึงได้เปลี่ยนมาใช้ปีพุทธศักราชอย่างเป็นทางการ โดยปีพุทธศักราชแรกที่ใช้คือปี พ.ศ. 2456 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีการปรับเปลี่ยนปฏิทินอีกครั้งโดยปรับให้วันที่ 1 มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่และเป็นวันเริ่มต้นของปีแทนที่รูปแบบเดิม โดยวันขึ้นปีใหม่ในรูปแบบนี้เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2484 ซึ่งตัดสามเดือนสุดท้ายของปี 2483 ออก ทำให้เดือน มกราคม 2483, กุมภาพันธ์ 2483, และ มีนาคม 2483 หายไป

    <DL><DT>ลำดับปีและการเปลี่ยนการใช้ระบบปฏิทินไทย </DT></DL><TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center" width="100%"><TBODY><TR><TH>สมัย</TH><TH>เทียบปี พ.ศ.</TH><TH>ปฏิทิน</TH><TH>ระบบศักราช
    ที่ใช้ในราชการ
    </TH><TH>วันเริ่มปีใหม่</TH><TH>ปีสุดท้ายที่ใช้งาน</TH><TH>หมายเหตุ</TH></TR><TR><TD>สุโขทัย - ?</TD><TD>?</TD><TD rowSpan=2>จันทรคติ</TD><TD>มหาศักราช</TD><TD>วันขึ้น 1 ค่ำเดือนอ้าย</TD><TD>ม.ศ. 1491 (เทียบ พ.ศ. 2112)</TD><TD>เปลี่ยนจากมหาศักราชเป็นจุลศักราช</TD></TR><TR><TD>? - รัชกาลที่ 5</TD><TD>2112-2431</TD><TD>จุลศักราช</TD><TD>วันเถลิงศก</TD><TD>จ.ศ. 1250 (เทียบ พ.ศ. 2431)<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.A7.E0.B8.87.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1_0-0>[1]</SUP></TD><TD>เปลี่ยนจากจุลศักราชเป็นรัตนโกสิทรศก
    (ยังคงมีการใช้พุทธศาสนาควบคู่ไป)
    </TD></TR><TR><TD>รัชกาลที่ 5
    - รัชกาลที่ 6
    </TD><TD>2431-2455</TD><TD rowSpan=3>สุริยคติ</TD><TD>รัตนโกสินทรศก</TD><TD rowSpan=2>1 เมษายน<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP></TD><TD>ร.ศ. 131 (เทียบ พ.ศ. 2455)<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.A7.E0.B8.87.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1_0-1>[1]</SUP></TD><TD>เปลี่ยนจากรัตนโกสินทรศกเป็นพุทธศักราช</TD></TR><TR><TD>รัชกาลที่ 6
    - รัชกาลที่ 8
    </TD><TD>2456-2483</TD><TD rowSpan=2>พุทธศักราช</TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD>รัชกาลที่ 8
    - ปัจจุบัน
    </TD><TD>2484 - ปัจจุบัน</TD><TD>1 มกราคม</TD><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] การเทียบปีกับปฏิทินอื่น

    การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ทำให้มีข้อสังเกตในระบบปฏิทินราชการไทย ดังนี้ ตั้งแต่ ค.ศ. 1940 ย้อนไป คริสต์ศักราชจึงคาบปีพุทธศักราช 2 ปี เช่น ค.ศ. 1940 จะตรงกับ พ.ศ. 2482 (ช่วง ม.ค. ถึง มี.ค.) และ 2483 (ช่วง เม.ย. ถึง ธ.ค.) ไม่มีวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2483 ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2483 ในปฏิทินราชการไทย เพราะจะเป็น พ.ศ. 2484 แทน
    <TABLE class=wikitable style="WIDTH: 70%"><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 80%"><TD style="WIDTH: 20%">เดือน</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 80%"><TD style="WIDTH: 20%">ลำดับเดือน</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD></TR><TR><TD>คริสต์ศักราช</TD><TD style="BACKGROUND: #dfdfef" colSpan=4>1939</TD><TD style="BACKGROUND: #dfdfef" colSpan=4>1940</TD><TD style="BACKGROUND: #dfdfef" colSpan=4>1941</TD><TD style="BACKGROUND: #dfdfef" colSpan=4>1942</TD></TR><TR><TD>พุทธศักราช</TD><TD style="BACKGROUND: #dfefdf">2481</TD><TD style="BACKGROUND: #dfefdf" colSpan=4>2482</TD><TD style="BACKGROUND: #dfefdf" colSpan=3>2483</TD><TD style="BACKGROUND: #dfefdf" colSpan=4>2484</TD><TD style="BACKGROUND: #dfefdf" colSpan=4>2485</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 80%"><TD style="WIDTH: 20%">ลำดับเดือนไทย</TD><TD style="WIDTH: 5%; TEXT-ALIGN: right">12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 5%; TEXT-ALIGN: right">9</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>1</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>12</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 80%"><TD style="WIDTH: 20%">เดือนไทย</TD><TD style="WIDTH: 5%; TEXT-ALIGN: right">มี.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>เม.ย.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>มี.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>เม.ย.</TD><TD style="WIDTH: 5%; TEXT-ALIGN: right">ธ.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: left" colSpan=2>ม.ค.</TD><TD style="WIDTH: 10%; TEXT-ALIGN: right" colSpan=2>ธ.ค.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ดังนี้ตามปฏิทินราชการ ผู้ที่เกิด วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2482 จะมีอายุน้อยกว่าคนที่เกิดวันที่ 31 ธันวาคม 2482 อยู่ 1 วัน (มิใช่ อายุมากกว่า 364วัน) การคำนวณ จาก ค.ศ. เป็น พ.ศ. ในช่วงเดือน มกราคม ถึงมีนาคม เมื่อ เลข ค.ศ. มีค่าต่ำกว่า หรือเท่ากับ 1940 จะต้องบวกด้วย 542 มิใช่ 543
    ประวัติการใช้เลขปี พ.ศ. แบบของไทย เริ่มที่พระสงฆ์ไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเวลาเทศน์ได้เทศน์ว่า พระศาสนาได้ล่วงมาแล้วกี่ปี จึงหมายถึงปีเต็ม เราจึงถือว่าปีปรินิพพานเป็นปีที่ 0 ส่วนพม่า เขมร ลาว และศรีลังกา ใช้แบบปีย่าง คือนับปีปรินิพพานเป็นปีที่ 1
    [แก้] การใช้งานปฏิทินในประเทศไทย

    ในภาษาไทย คำว่า "ปฏิทิน" มาจากศัพท์ภาษาบาลี ปฏิ (เวียนกลับ) , ทิน (วัน) บัญญัติขึ้นเพื่อให้มีความหมายว่า "แบบสำหรับดู วัน เดือน ปี" สามารถเขียนได้เป็น ประติทิน (ภาษาสันสกฤต) หรือ ประฏิทิน (บาลีแผลง) ประดิทิน หรือ ประนินทิน ก็ได้ (คำหลังนี้พบในหนังสือที่เขียนโดย หมอบรัดเลย์ ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ หน้า 412 และหนังสือ สยามไสมย หน้าโษณา ของ หมอสมิท เป็นต้น) แบบสำหรับดู วัน เดือน ปี มีทั้งที่จารึกบนก้อนหิน หรือ ขีด เขียน และพิมพ์บนกระดาษ ซึ่งมีทั้งชนิดเป็นแผ่น ตั้งแต่ 1 – 12 แผ่น และชนิดพิมพ์เป็นเล่มแบบหนังสือปฏิทินชนิดเล่ม
    การพิมพ์ปฏิทินมีขึ้นเป็นครั้งแรกในเมืองไทย เมื่อ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2385 (ปลายสมัย รัชกาล ที่ 3) ซึ่งสามารถตรวจสอบและค้นคว้าหาหลักฐานได้จาก ไมโครฟิล์ม หนังสือบางกอกคาเลนดาร์ ปี ค.ศ. 1870 ( พ.ศ. 2413 ) หน้า 5 ในหอสมุดแห่งชาติ หรือค้นคว้าได้จากหนังสือต้นฉบับ ที่หอสมุดดำรงราชานุภาพ ซึ่งหมอ บรัดเลย์ ได้เขียนไว้ว่า “ 14 First Calendar print in B. 1842 ” (ไม่บอกว่าใครเป็นผู้พิมพ์ แต่คาดหมายว่า คือ หมอ บรัดเลย์ ซึ่งเป็นเจ้าของโรงพิมพ์ ผู้มีผลงานทางหนังสือมากมาย)
    รัชกาลที่ 4 ทรง ฯ โปรดให้พิมพ์ปฏิทินภาษาไทย (ภายหลังจากที่ หมอบรัดเลย์ พิมพ์ปฏิทินชิ้นแรกในสยาม เมื่อ พ.ศ. 2385) เมื่อ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2404 ดังปรากฏหลักฐานใน หนังสือบางกอกคาเลนดาร์ ฉบับ ปี ค.ศ. 1862 ( พ.ศ. 2405) หน้า 108
    ในสมัย รัชกาลที่ 5 ปฏิทินที่พิมพ์ในเมืองไทยได้แก่ “ ประนินทิน ” ซึ่งลงโฆษณาใน หนังสือสยามไสมย ของ หมอสมิท เขียนคำโฆษณาไว้ตอนหนึ่ง ว่า “ ประนินทินนี้ แจ้งให้รู้ถึงการอื่นเป็นอันมากอันควรคนทั้งปวงจะรู้ ถ้าไม่รู้เขาจะนินทาว่าคนโง่ ” แจ้งราคาขายไว้เล่มละ 4 บาท (ราคาในสมัยนั้น) ปัจจุบันยังหาประนินทินของหมอสมิทไม่พบ
    ปฏิทินในสมัย รัชกาลที่ 6 ที่น่าสนใจได้แก่ปฏิทินพกเล่มเล็กๆ ที่พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์เป็นของชำร่วย สำหรับแจกพระราชทาน แก่ขุนนางที่ลงนามถวายพระพร ในวันขึ้นปีใหม่ ปฏิทินพกแบบนี้ยังมีแจกต่อมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งบุคคลธรรมดาก็สามารถไปลงนามถวายพระพรและรับปฏิทินหลวงได้
    การพิมพ์ปฏิทินเล่มยังมีการจัดทำต่อมา จนกระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบัน ปฏิทินเล่มยังมีรายละเอียดในเรื่องของ สภาพภูมิอากาศ เวลาน้ำขึ้น – น้ำลง การเดินทางของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ และมีช่องว่างให้บันทึกเล็กน้อย ยังมีสมุดบันทึกอีกแบบหนึ่ง ซึ่งบอกรายละเอียดของ วัน เดือน ปี เรียงไปตามลำดับ และมีหน้าสำหรับจดบันทึกหมายเหตุรายวัน รวมถึงวันสำคัญ และวัน เวลา นัดหมาย ฯลฯ ที่เรียกว่า “ ไดอารี่ ” (Diary) หรือ ” สมุดบันทึกประจำวัน ” ก็สามารถอนุโลมให้เป็นปฏิทินได้
    ปฏิทินไดอารี่ เริ่มมีใช้ในเมืองไทยเมื่อใดยังไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจน แต่ไดอารี่ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไป และมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์อย่างสูง คือ ไดอารี่ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเมื่อตีพิมพ์เผยแพร่มีชื่อเรียกว่า "จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน"
    [แก้] การนับวันของปฏิทินไทย


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ ปกติสุรทิน และ อธิกสุรทิน

    </DD></DL>การกำหนดวันข้างขึ้น ข้างแรม ของปฏิทินไทย นอกจากคำนึงถึงดิถี (รูปร่างความเป็นเสี้ยว) ของดวงจันทร์แล้ว ยังคำนึงถึง รูปแบบที่เข้าใจง่าย จัดทำได้ง่าย เพื่อให้จัดงานได้ตรงกัน ด้วยเหตุนี้ ผู้คำนวณปฏิทินจึงต้องคิดรูปแบบการทดวัน และทดเดือนที่ง่ายต่อการจดจำ และการบันทึก 1 ปีของปฏิทินไทย ปกติมี 12 เดือน แต่จะมีราวร้อยละ 37 ที่มี 13 เดือน ซึ่งเรียกปีดังกล่าวนี้ว่า ปีอธิกมาส โดยที่ อธิก แปลว่า เพิ่ม, มาส แปลว่า เดือน มีเดือนแปด 2 ครั้ง ไม่ใช่ไปเพิ่มเป็นเดือนที่ 13 ส่วนปีที่มี 12 เดือน เรียกว่า ปกติมาส เดือนที่ 1 นิยมเรียกว่า เดือนอ้าย ส่วนเดือนที่ 2 เรียกว่าเดือน ยี่ โดยปกติ เดือนที่เป็นตัวเลขคี่ (เช่น อ้าย, 3, 5, 7, 9และ 11) จะมี 29 วัน ส่วนเดือนเลขคู่ (ยี่, 4, 6, 8, 10) จะมี 30วัน ดังนั้น ปีอธิกมาส จึงมี 29x6 + 30x7 = 384 วัน เสมอ ส่วนปีปกติมาส มี 2 พวก คือ พวกแรก จะมี 29x6 + 30x6 = 354 วัน เรียกว่า ปกติวาร กับพวกที่ 2 เป็นปีที่เพิ่มวันเข้าไป 1 วัน เป็นพิเศษ เรียกว่า อธิกวาร โดยที่ วาร แปลว่า วัน โดยเพิ่มในเดือน 7 ให้เป็น 30 วัน ดังนั้นปีอธิกวาร จึงมี 355วัน วันที่ 1 ของเดือน เรียกว่า วันขึ้น 1 ค่ำ หรือ ออก 1 ค่ำ (ขึ้นหรือออก แปลว่า ดวงจันทร์ กำลังสว่างเพิ่มขึ้น) วันที่ 16 ไม่ได้เรียกว่า วันขึ้น 16 ค่ำ หรือ ออก 16 ค่ำ แต่เรียกว่า วันแรม 1 ค่ำ (แรม หมายถึง ดวงจันทร์ กำลังสว่างลดลง) ในเดือนที่มี 29วันนี้ ก็จะมีสิ้นสุดแค่วันแรม 14 ค่ำ (ไม่มี วันแรม 15 ค่ำ) เวลาที่ใช้เปลี่ยนวันทางปฏิทินจันทรคติของไทย คือ เวลารุ่งเช้าของวันถัดไป ไม่ใช่เที่ยงคืน โดยมีการเสนอว่า ควรให้นิยามที่ชัดเจนของคำว่า “รุ่งเช้า” นี้ และเสนอว่า ควรใช้ค่าเฉลี่ยที่เวลาดวงอาทิตย์ขึ้น หรือเวลา 6 น. ของเส้นลองจิจูด 100 องศา ตะวันออก นั่นคือ เวลา 6:20 น. ตามเวลามาตรฐานของไทย วันพระ หรือธรรมสวนะ จัดขึ้น 4 วันในเดือนหนึ่ง ๆ คือ วันขึ้น 8 ค่ำ ขึ้น 15 ค่ำ แรม 8 ค่ำ และวันแรม สุดท้ายของเดือน
    [แก้] สังวัตสร : ค่าคงที่ประจำปีในปฏิทินไทย

    ภายหลังจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมืองได้ระบุในแต่ละปีทางจันทรคติว่าเป็นปีปกติ(12เดือน/354ค่ำ)หรือเป็นปีอธิกวาร(12เดือน/355ค่ำ)หรือเป็นปีอธิกมาส(13เดือน/384ค่ำ)อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว.ปฏิทินจันทรคติไทยจะเกิดค่าคงที่ประจำปีขึ้นมาเสมอๆ.โดยไม่ว่าจะเลือกเอาวันใดในปีมาจะได้ค่าคงที่เป็นเลขโดดหลักเดียวที่จะตรงกันตลอดปีนั้นๆ ค่านี้มีชื่อเรียกว่า สังวัตสร คุณสมบัติของ สังวัตสร นี้ถูกค้นพบเมื่อกลางปีพ.ศ.2550 โดยท่านอาจารย์พ.ปัญญาวุฒ์. และเมื่อนำสังวัตสรในแต่ละปีมาร้อยเรียงจะสามารถเก็บปฏิทินไทยในอดีตไว้ได้อย่างกระทัดรัดที่สุด. สามารถใช้ถอดวันทางจันทรคติที่ปรากฏตามพงศาวดารหรือจารึกเก่าๆออกมาเป็นค่าตัวแทนประจำปีได้อย่างรวดเร็วและยังสามารถนำสังวัตสรในการแปลงกลับคืนมาระหว่างปฏิทินสากลและปฏิทินไทยได้. แม้สังวัตสรไม่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนกำหนดปีจันทรคติของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง.แต่เนื่องจากสังวัตสรเป็นเสมือนค่าตัวแทนประจำปีของปฏิทินไทยด้วยเลขหลักเดียว ซึ่งหากนำสังวัตสรที่ได้จากดาราศาสตร์แขนงอื่นๆเช่นดาราศาสตร์สากลหรือปักขคณนามาเทียบกับสังวัตสรในปฏิทินไทยก็จะทำให้ทราบได้ว่าปฏิทินไทยปีนั้นๆกำหนดได้แม่นยำเพียงใดได้อีกด้วย.(รายละเอียดเพิ่มเติมได้รับอนุญาตลงเฉพาะ/หาอ่านได้ในเวปคลังปัญญาไทย)
    [แก้] วันสำคัญของไทย


    <DL><DD>ดูเพิ่มที่ วันสำคัญ และ วันสำคัญทางพุทธศาสนา </DD></DL>
    1. วันมาฆบูชา ได้แก่วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 (หรือเดือน 4 ในปีอธิกมาส)
    2. วันสิ้นปีทางจันทรคติ หรือวันตรุษ ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปี ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา กำหนดให้เป็นวันสิ้นปีจุลศักราช(ต้องการเอกสารอ้างอิง)
    3. วันมหาสงกรานต์ หรือที่เรียกง่าย ๆ ว่า วันสงกรานต์ เป็นวันที่โหร เชื่อว่าพระอาทิตย์เริ่มสู่ราศีเมษ ปัจจุบันตกวันที่ 13 หรือ 14 เมษายน โดยมีวันเถลิงศก หรือวันพระญาวัน คือวันขึ้นปีใหม่ทางสุริยคติแบบดั้งเดิมของไทย ปัจจุบันตกประมาณวันที่ 16 เมษายน วันที่อยู่ระหว่างวันสงกรานต์ กับวันเถลิงศก อาจมี 1 หรือ 2 วันก็ได้เรียกว่าวันเนา (การคำนวณหาวันสงกรานต์ วันเนา และวันเถลิงศก เป็นการคำนวณตามคัมภีร์สุริยยาตร)
    4. วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน6 (หรือเดือน 7 ในปีอธิกมาส)
    5. วันอัฏฐมีบูชา (เก็บพระอัฏฐิพระพุทธเจ้า) ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 (หรือเดือน7 ในปีอธิกมาส)
    6. วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (หรือเดือน 8 หนหลัง ในปีอธิกมาส)
    7. วันเข้าพรรษา ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (หรือเดือน 8 หนหลัง ในปีอธิกมาส)
    8. วันข้าวประดับดิน หรือข้าวบิณฑ์ ตรงกับวันแรม 14 ค่ำ เดือน 9
    9. วันข้าวสลากภัต/ข้าวสาก/ก๋วยสลาก ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
    10. วันสารทไทย หรือวันครึ่งปี ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 (6 หรือ 7 เดือน หลังวันตรุษในข้อ 2)
    11. วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
    12. วันตักบาตรเทโว และเริ่มเทศกาลกฐิน ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11
    13. วันลอยกระทง และสิ้นสุดเทศกาลกฐิน ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12
    14. วันสิ้นปีนักษัตร วันแรม 15 ค่ำ เดือน 12
    [แก้] การกำหนดวันพิธีกรรมทางศาสนา ในปีอธิกมาส

    เรายึดเดือน 8 หนที่สอง เป็นเดือน 8 ที่แท้จริง ดังนั้นวันวิสาขบูชาซึ่งโดยปกติจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 แต่ในปีที่มีเดือน 8 สองหน ให้เลื่อนไปอยู่ในเดือน 7 แทน โดยถือว่าเดือน 8 หนหลังเป็นเดือน 8 ที่แท้จริง ส่วนเดือน8 หนแรก ก็จะมีค่าเท่ากับเดือน 7 เป็นที่น่าสังเกตว่า ประเพณีไทยและชาวเอเชียให้ความสำคัญกับวันส่งท้ายปีเก่าที่กำลังจะจากไปมากกว่าวันปีใหม่ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อบุคคลและธรรมชาติ ที่ให้ความช่วยเหลือเราในปีที่ผ่านมา ดังนั้นจึงจัดงานเลี้ยงในหมู่คนที่คุ้นเคยกัน เพื่อแสดงความขอบคุณในความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และขออภัยที่สิ่งผิดพลาดหรือล่วงเกินในปีที่ผ่านมา ไม่ใช่การจัดชุมนุมร่วมกับคนแปลกหน้าเพื่อนับถอยหลัง สลัดของเก่าให้พ้นตัวไปแบบฝรั่ง เมื่อเป็นเช่นนี้ช่วงสิ้นปี จึงมีความสำคัญมากกว่าช่วงต้นปี อนึ่งคำว่า วันตรุษจีน ก็แปลว่า วันสิ้นปีของจีนเช่นกัน ปัจจุบันตกอยู่ประมาณวันแรม 15 ค่ำเดือนยี่ของไทย หรือเดือน 3 ในปีอธิกมาส นิยมเรียกว่า วันไหว้บรรพบุรุษ ส่วนวันปีใหม่ คือ วันถัดมา ที่เรียกว่า วันเที่ยว (แต่ในปฏิทิน และคนทั่วไปนิยมเรียกวันขึ้นปีใหม่หรือวันเที่ยวว่า วันตรุษจีน จึงไม่ต้องสงสัยว่าคนจีนให้ความสำคัญกับวันไหนมากกว่ากัน ระหว่างการไหว้บรรพบุรุษ กับการเที่ยว)
    [แก้] ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการอ่านปฏิทินไทย

    การสังเกตดวงจันทร์เพื่อใช้จัดทำปฏิทิน ใช้เวลาเที่ยงคืน ในส่วนนี้ ผู้เขียนอธิบายโดยอาศัยหลักการง่าย ๆ คือ ใช้ดวงจันทร์เสมือน ที่ถือว่าโคจรรอบโลกด้วยอัตราเร็วคงที่ (ในทางปฏิบัติดวงจันทร์จริง อาจคลาดเคลื่อนไปจากดวงจันทร์เสมือนได้ถึง 0.65 วัน)
    จันทร์ดับ หรือวันเดือนดับ หมายถึงคืนที่ดวงจันทร์เป็นเสี้ยวเล็กที่สุด ในรอบเดือนนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นแรม 14- 15 ค่ำ อาจเป็นขึ้น 1 ค่ำ ก็ได้
    จันทร์เพ็ญ หรือวันเดือนเพ็ญ หรือวันเดือนเต็มดวง หมายถึง คืนที่ดวงจันทร์สว่างเต็มดวงมากที่สุด ในรอบเดือนนั้น โดยหลักการแล้วจะไม่ใช่ทั้ง ข้างขึ้น หรือข้างแรม เพราะเป็นช่วงเวลาที่ดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง ระหว่างสองข้าง ถ้าเทียบกับภูเขา ก็คือยอดเขา ในปฏิทินไทย วันเพ็ญไม่จำเป็นต้องเป็นขึ้น 15 ค่ำ อาจเป็นแรม 1 ค่ำ ก็ได้ (ในทางทฤษฎีของดวงจันทร์เสมือน มีโอกาสเกิดในวันแรม 1 ค่ำ ราว 27%)
    จันทร์ครึ่งดวง ไม่จำเป็นต้องเป็นวันขึ้น 8 ค่ำ หรือแรม 8 ค่ำ ซึ่งเป็นวันพระ อาจเป็นวันขึ้น 7 ค่ำ หรือแรม 7 ค่ำ ก็ได้
    นอกจากความเข้าใจผิดในการอ่านปฏิทินไทยที่ได้ยกตัวอย่างมาแล้ว ปฏิทินไทยมีความคลาดเคลื่อน 2 ส่วน คือ ส่วนการทดวัน (ทางปฏิทิน) ซึ่งมีค่าได้ถึง 0.5วัน โดยเฉพาะในเดือน 6 ของปีอธิกวารเป็นช่วงที่รอทดวัน กับส่วนความเป็นวงรีของ วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก (ทางดาราศาสตร์) ซึ่งมีค่าได้ถึง 0.65วัน อีกส่วนหนึ่ง


    [แก้] การสังเกตดวงจันทร์อย่างง่าย

    วันจันทร์เพ็ญ
    วันจันทร์เพ็ญอาจเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ หรือแรม 1 ค่ำก็ได้ ผู้ที่เคยสังเกตดวงจันทร์จะทราบดีว่า เป็นการยากมากที่จะบอกได้ว่า วันไหนเป็นวันเพ็ญ เพราะมักจะเห็นว่าเต็มดวงอยู่ 2 วัน บางท่านอาจเห็น 4 วัน ต้องใช้รูปถ่ายที่ขยายแล้วนำมาเทียบกัน ผู้เขียนแนะนำการดูจันทร์เพ็ญอย่างง่าย ในเขตร้อน เช่น ประเทศไทย ให้ดูเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก ดังนี้
    1.ถ้าคืนนั้นเป็นจันทร์เพ็ญ จะเห็นดวงจันทร์กำลังขึ้นพอดี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
    2.ถ้าดวงจันทร์อยู่สูงเกิน 7 องศา แสดงว่ายังไม่ถึงวันจันทร์เพ็ญ ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าดวงจันทร์ด้านล่างยังแหว่งอยู่ เป็นข้างขึ้น เช่น ขึ้น 14 ค่ำ (หรืออาจเป็นขึ้น 15 ค่ำก็ได้ในบางเดือน)
    3.ถ้าดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้วราว 1/2 ชั่วโมง แต่ดวงจันทร์ยังไม่ขึ้นเลย และเมื่อดวงจันทร์ขึ้นแล้วให้สังเกตว่า ดวงจันทร์ด้านบนจะแหว่งไปเล็กน้อย กรณีนี้เป็นแรม 1 - 2 ค่ำ
    วันจันทร์ดับอย่างง่าย
    วันจันทร์ดับอาจเป็นวันแรม 14-15 ค่ำ หรือขึ้น 1 ค่ำก็ได้ (มีโอกาส ราว 50%) ผู้เขียนแนะนำการดูจันทร์เพ็ญดับอย่างง่าย ในเขตร้อน เช่น ประเทศไทย ให้ดูเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก ดังนี้
    1.ถ้าคืนนั้นดวงจันทร์ยังไม่ดับ จะไม่เห็นดวงจันทร์เลย เพราะดวงจันทร์ตกขอบฟ้าไปก่อนดวงอาทิตย์ เช่น วันแรม 13-14-15 ค่ำ
    2.ถ้าคืนนั้นเป็นคืนจันทร์ดับพอดี อาจไม่เห็นดวงจันทร์ก็ได้ เพราะดวงจันทร์จะตกไล่เลี่ยกับดวงอาทิตย์ คือตกก่อนหรือหลังดวงอาทิตย์ไม่เกิน ครึ่งชั่วโมง เช่น แรม 14-15 ค่ำ ขึ้น 1 ค่ำ
    3.ถ้าคืนนั้นเป็นคืน New Moon คือ คืนถัดจากคืนจันทร์ดับ จะเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวบางๆ หงายท้อง และตกตามหลังดวงอาทิตย์ไป ราว 1/2 ชั่วโมง เช่น ขึ้น 2 ค่ำ อาจเป็นขึ้น 1 ค่ำก็ได้ ในบางเดือน)

    วันจันทร์ครึ่งดวง
    รูปร่างดวงจันทร์ครึ่งดวงสังเกตได้ไม่ยาก อย่างไรก็ตามหากต้องดูให้ละเอียดขึ้น ให้สังเกตดังนี้ 1.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่งดวงข้างขึ้น ให้ดูตอนที่ดวงอาทิตย์ตก ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากเป็นวันขึ้น 8 ค่ำ แต่อาจเป็นขึ้น 7 ค่ำก็ได้
    2.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่งดวงข้างแรม ให้ดูในตอนที่ดวงอาทิตย์ขึ้น ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากตรงกับวันแรม 8 ค่ำ แต่อาจเป็นแรม 7 ค่ำก็ได้

    การดูจันทร์ดับ/เพ็ญจากอุปราคา จันทรุปราคา จะเกิดในคืนจันทร์เพ็ญเท่านั้น มักเป็นวันขึ้น 15 ค่ำและมีโอกาสเกิดในวันขึ้น 14 ค่ำได้ด้วย แต่มีโอกาสน้อยมาก แต่บางครั้งอาจเป็นแรม 1 ค่ำก็ได้ โดยเฉพาะถ้าขึ้นจันทรุปราคาในช่วงหัวค่ำ ส่วนสุริยุปราคา มักจะเกิดในวันจันทร์ดับ แต่ในบางครั้งเกิดในวันถัดไปก็ได้ โดยเฉพาะหากเกิดช่วงเช้า วันเกิดสุริยุปราคามักตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ หรือวันแรมสุดท้ายของเดือน


    [แก้] ระบบดิถีแบบ ปักขคณนา

    ปฏิทินปักขคณนา เป็นปฏิทินจันทรคติอีกชนิดหนึ่งของไทย ประดิษฐ์คิดค้นโดยพระอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 4 เพื่อทรงแก้ปัญหาปฏิทินแบบราชการดั้งเดิมขาดความชัดเจนในการกำหนดปี. ปฏิทินชนิดนี้จะมีใช้ในหมู่พระธรรมยุติกนิกาย เป็นคนละแบบกับปฏิทินหลวง ซึ่งเป็นรอบ 1 เดือนที่ตายตัว. คำว่า ปักข์ นี้ ศ.วิสุทธ์ บุษยกุล ให้คำชี้แจงว่า มาจาก ปีกข้างใดข้างหนึ่ง ซึ่งก็คือ ข้าง ในแง่ ข้างขึ้น หรือข้างแรม นั่นคือ ครึ่งเดือน ส่วนคำว่า คณนา แปลว่า คณิต หรือ คำนวณ . เพื่อความแม่นยำของปฏิทิน.พระองค์ได้ทรงเลือกที่นับค่ำให้แม่นยำในทุกๆรอบปักษ์หรือครึ่งเดือนโดยทำการวัดจากทุกๆปักษ์เมื่อครบจำนวนค่ำจาก 15 ดิถีตามคัมภีร์สารัมภ์จากมอญที่ใช้คำนวณปรากฏการณ์อุปราคาจึงทำให้ปฏิทินปักขคณนามีความแม่นยำที่สูงมาก. ภายหลังทดรอบปักษ์ทุกๆ15ดิถีจะเกิดรูปแบบในการเดินหมุดปรากฏเป็นกระดานปักขคณนาขึ้นมา และมีพระบรมราชานุญาตให้ใช้กำหนดวันลงอุโบสถ ของคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายเรื่อยมาจนปัจจุบัน. ปักขคณนาจัดเป็นปฏิทินจันทรคติล้วนๆโดยไม่มีกลไกปรับเทียบให้ปีจันทรคติกลับมาใกล้ปีสุริยคติที่ทำให้เกิดอธิกมาสแต่อย่างใด.นอกจากนี้วิธีการนับค่ำด้วยรอบปักษ์จึงไม่ต้องมีกลไกการเพิ่มอธิกวารอย่างปฏิทินราชการ. ที่มีความเที่ยงตรง ต่อความเป็นจันทร์เพ็ญ และจันทร์ดับสูงกว่า ระบบอื่น ด้วยเหตุที่เป็นรอบครึ่งเดือน อีกทั้งสามารถเลือกทดวัน ได้ทุกเดือน พบว่ามีรอบของจันทร์เพ็ญที่ 29.530594วัน ซึ่งใกล้เคียงกับ ค่าเฉลี่ยจันทร์เพ็ญทางดาราศาสตร์ จนมีคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1 วันในรอบหมื่นปี แต่มีข้อน่าสังเกตประการหนึ่ง คือ หากปักข์ใดมีแค่ 14 ค่ำ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้พระสงฆ์ออกอุโบสถ ในวัน 14 ค่ำ
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.A7.E0.B8.87.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1-0>^ <SUP>1.0</SUP> <SUP>1.1</SUP> ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมห่งชาติ
    2. ^ มหาศักราชคืออะไร กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0.5em auto; WIDTH: 40em; TEXT-ALIGN: center" cellPadding=5><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=lightsteelblue colSpan=2>ปฏิทินไทย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" align=middle>ศักราช</TD><TD>มหาศักราชจุลศักราชรัตนโกสินทรศกพุทธศักราช</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" align=middle>ปฏิทิน</TD><TD>ปฏิทินจันทรคติไทยปฏิทินสุริยคติไทย
    <SMALL class="editlink noprint plainlinksneverexpand">แก้ไข</SMALL>​


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND: #f9f9ff"><TBODY><TR><TD>หน่วยเวลา:</TD><TD>ไมโครวินาที - มิลลิวินาที - วินาที - นาที - ชั่วโมง - วัน - สัปดาห์ - ปักษ์ - เดือน - ไตรมาส - ปี - ทศวรรษ - ศตวรรษ - สหัสวรรษ</TD></TR><TR><TD>วันในสัปดาห์:</TD><TD>วันอาทิตย์ - วันจันทร์ - วันอังคาร - วันพุธ - วันพฤหัสบดี - วันศุกร์ - วันเสาร์</TD></TR><TR><TD>วันที่และเดือน:</TD><TD><TABLE style="BACKGROUND: #f9f9ff"><TBODY><TR><TD>มกราคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>กุมภาพันธ์</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29</SMALL></TD></TR><TR><TD>มีนาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>เมษายน</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30</SMALL></TD></TR><TR><TD>พฤษภาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>มิถุนายน</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30</SMALL></TD></TR><TR><TD>กรกฎาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>สิงหาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>กันยายน</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30</SMALL></TD></TR><TR><TD>ตุลาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>พฤศจิกายน</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30</SMALL></TD></TR><TR><TD>ธันวาคม</TD><TD><SMALL>1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31</SMALL></TD></TR><TR><TD>วันอื่นที่เกี่ยวข้อง</TD><TD><SMALL>0 มกราคม · 30 กุมภาพันธ์ · 31 กุมภาพันธ์ · 0 มีนาคม</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวัน:</TD><TD>อาทิตย์ - จันทร์ - อังคาร - พุธ - พฤหัสบดี - ศุกร์ - เสาร์</TD></TR><TR><TD>ปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวัน:</TD><TD>อาทิตย์ - จันทร์ - อังคาร - พุธ - พฤหัสบดี - ศุกร์ - เสาร์</TD></TR><TR><TD>ปีนักษัตร:</TD><TD>ชวด - ฉลู - ขาล - เถาะ - มะโรง - มะเส็ง - มะเมีย - มะแม - วอก - ระกา - จอ - กุน</TD></TR><TR><TD>พุทธศักราช:</TD><TD>2541 - 2542 - 2543 - 2544 - 2545 - 2546 - 2547 - 2548 - 2549 - 2550 - 2551 - 2552 - 2553 - 2554 - 2555</TD></TR><TR><TD>คริสต์ศักราช:</TD><TD>1998 - 1999 - 2000 - 2001 - 2002 - 2003 - 2004 - 2005 - 2006 - 2007 - 2008 - 2009 - 2010 - 2011 - 2012</TD></TR><TR><TD>พุทธทศวรรษ:</TD><TD>2450 - 2460 - 2470 - 2480 - 2490 - 2500 - 2510 - 2520 - 2530 - 2540 - 2550 - 2560 - 2570</TD></TR><TR><TD>คริสต์ทศวรรษ:</TD><TD>1900 - 1910 - 1920 - 1930 - 1940 - 1950 - 1960 - 1970 - 1980 - 1990 - 2000 - 2010 - 2020</TD></TR><TR><TD>พุทธศตวรรษ:</TD><TD>1 - 2 - 3 - 4 - 5 - 6 - 7 - 8 - 9 - 10 - 11 - 12 - 13 - 14 - 15 - 16 - 17 - 18 - 19 - 20 - 21 - 22 - 23 - 24 - 25 - 26 - 27 - 28</TD></TR><TR><TD>คริสต์ศตวรรษ:</TD><TD>6 - 5 - 4 - 3 - 2 - 1 - 1 - 2 - 3 - 4 - 5 - 6 - 7 - 8 - 9 - 10 - 11 - 12 - 13 - 14 - 15 - 16 - 17 - 18 - 19 - 20 - 21 - 22 - 23</TD></TR><TR><TD>ปฏิทิน:</TD><TD>เกรโกเรียน - จูเลียน - สุริยจันทรคติ - สุริยคติ - จันทรคติ - อาร์เมเนีย - จีน - ฮีบรู - ญี่ปุ่น - มายา - ไทย (สุริยคติ - จันทรคติ) - ฮิจญ์เราะหฺ</TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 392/1000000Post-expand include size: 47832/2048000 bytesTemplate argument size: 2243/2048000 bytesExpensive parser function count: 1/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:104828-0!1!0!!th!2 and timestamp 20100108045930 -->
    ดึงข้อมูลจาก "ปฏิทินไทย - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: ตรวจแก้โดยผู้เชี่ยวชาญ | ปฏิทิน
     
  13. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 21 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 18 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>แหน่ง, chutinai241, sithiphong+ </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สวัสดีตอนบ่ายครับ
     
  14. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE border=5 borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 bgColor=#e2e2e2 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>มาสร้างบุญบารมีกันเถอะ </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=5 borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#ffffcc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 bgColor=#f5f5f5 align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top>มาสร้างบุญบารมีกันเถอะ


    1.นั่งสมาธิ อย่างน้อยวันละ 15 นาที (หรือเดินจงกรมก็ได้)

    อานิสงส์ :-
    เพื่อสติปัญญาที่เฉลียวฉลาดขึ้นทั้งภพนี้และภพหน้า
    เพื่อจิตใจที่สว่างผ่อนปรนจากกิเลส ปล่อยวางได้ง่าย
    จิตจะรู้วิธีแก้ปัญหาชีวิตโดยอัตโนมัติ
    ชีวิตจะเจริญรุ่งเรืองไม่มีวันอับจน
    ผิวพรรณผ่องใส สุขภาพกายและจิตแข็งแรง
    เจ้ากรรมนายเวรและญาติมิตรที่ล่วงลับจะได้บุญกุศล

    2.สวดมนต์ ด้วยพระคาถาต่างๆอย่างน้อยวันละครั้งก่อนนอน

    อานิสงส์ :-
    เพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง
    ชีวิตหน้าที่การงานเจริญก้าวหน้า
    เงินทองไหลมาเทมา แคล้วคลาดจากอุปสรรคทั้งปวง จิตจะเป็นสมาธิได้เร็ว
    แนะนำพระคาถาพาหุงมหากา , พระคาถาชินบัญชร ,
    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก เป็นต้น
    เมื่อสวดเสร็จต้องแผ่เมตตาทุกครั้ง

    3.ถวายยารักษาโรค ให้วัด , ออกเงินค่ารักษาให้พระตามดรงพยาบาลสงฆ์

    อานิสงส์ :-
    ก่อให้เกิดสุขภาพร่มเย็นทั้งครอบครัว โรคที่ไม่หายจะทุเลา
    สุขภาพกายจิตแข็งแรง อายุยืนทั้งภพนี้และภพหน้า
    ถ้าป่วยก็จะไม่ขาดแคลนการรักษา

    4.ทำบุญตักบาตร ทุกเช้า

    อานิสงส์ :-
    ได้ช่วยเหลือศาสนาต่อไปทั้งภพนี้และภพหน้า ไม่ขาดแคลนอาหาร
    ตายไปไม่หิวโหย อยู่ในภพที่ไม่ขาดแคลน ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์

    5.ทำหนังสือหรือสื่อต่างๆ เกี่ยวกับธรรมะแจกฟรีแก่ผู้คนเป็นธรรมทาน

    อานิสงส์ :-
    เพราะธรรมทานชนะการให้ทานทั้งปวง ผู้ให้ธรรมจึงสว่างไปด้วยลาภยศ
    สรรเสริญ ปัญญา และบุญบารมีอย่างท่วมท้น เจ้ากรรมนายเวรอโหสิกรรมให้
    ชีวิตจะเจริญรุ่งเรืองอย่างไม่คาดฝัน

    6.สร้างพระถวายวัด

    อานิสงส์ :-
    ผ่อนปรนหนี้กรรมให้บางเบา ให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง
    สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง แคล้วคลาดจากอุปสรรคทั้งปวง ครอบครัวเป็นสุข
    ได้เกิดมาอยู่ในร่มโพธิ์ของพุทธศาสนาตลอดไป

    7.แบ่งเวลาชีวิตไปบวชชีพราหมณ์ หรือบวชพระอย่างน้อย 9 วันขึ้นไป

    อานิสงส์ :-
    ได้ตอบแทนคุณพ่อแม่อย่างเต็มที่
    ผ่อนปรนหนี้กรรมอุทิศผลบุญให้ญาติมิตรและเจ้ากรรมนายเวร
    สร้างปัจจัยไปสู่นิพพานในภพต่อๆไป ได้เกิดมาอยู่ในร่มโพธิ์ของพุทธศาสนา
    จิตเป็นกุศล

    8.บริจาคเลือดหรือร่างกาย

    อานิสงส์ :-
    ผิวพรรณผ่องใส สุขภาพแข็งแรง ช่วยต่ออายุ
    ต่อไปจะมีผู้คอยช่วยเหลือไม่ให้ตกทุกข์ได้ยาก เทพยดาปกปักรักษา
    ได้เกิดมามีร่างกายที่งดงามในภพหน้า ส่วนภพนี้ก็จะมีราสีผุดผ่อง

    9.ปล่อยปลา ที่ซื้อมาจากตลาด รวมทั้งปล่อยสัตว์ ไถ่ชีวิตสัตว์ต่างๆ

    อานิสงส์ :-
    ช่วยต่ออายุ ขจัดอุปสรรคในชีวิต
    ชดใช้หนี้กรรมให้เจ้ากรรมนายเวรที่เคยกินเข้าไป ให้ทำมาค้าขึ้น
    หน้าที่การงานคล่องตัวไม่ติดขัด ชีวิตที่ผิดหวังจะค่อยๆ ฟื้นคืนสภาพที่สดใส เป็นอิสระ

    10.ให้ทุนการศึกษา , บริจาคหนังสือหรือสื่อการเรียนต่างๆ , อาสาสอนหนังสือ

    อานิสงส์ :-
    ทำให้มีสติปัญญาดี ในภพต่อๆไปจะฉลาดเฉลียวมีปัญญา
    ได้มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนอย่างรอบรู้ สติปัญญาสมบูรณ์พร้อม

    11.ให้เงินขอทาน , ให้เงินคนที่เดือดร้อน(ไม่ใช่การให้ยืม)

    อานิสงส์ :-
    ทำให้เกิดลาภไม่ขาดสายทั้งภพนี้และภพหน้า ไม่ตกทุกข์ได้ยาก
    เกิดมาชาติหน้าจะร่ำรวยและไม่มีหนี้สิน ความยากจนในชาตินี้จะทุเลาลง
    จะได้เงินทองกลับมาอย่างไม่คาดฝัน

    12.รักษาศีล 5 หรือ ศีล 8

    อานิสงส์ :-
    ไม่ต้องไปเกิดเป็นเปรตหรือสัตว์นรก
    ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ผู้ประเสริฐครบบริบูรณ์ ชีวิตเจริญรุ่งเรือง
    กรรมเวรจะไม่ถ่าโถม ภัยอันตรายไม่ย่างกราย เทวดานางฟ้าปกปักรักษา

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top>
    ขอบคุณบทความจาก บ้านธณรมะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไหว้พระศักดิ์สิทธิ์ 9 วัด ในดินแดนบูรพา (นครนายก - ปราจีนบุรี - สระแก้ว)



    - เดินทางจากกรุงเทพฯ สู่จังหวัดนครนายก
    (1) เข้าชมกิจกรรมในเขตทหารน่าเที่ยวรร.จปร.สัมผัสความเก่าแก่ของพระพุทธ
    ฉายที่วัดเงาชะโงก
    (2) เดินทางไปย้อนรอยอดีตสงครามโลกครั้งที่ 2 วัดพราหมณีบูชาหลวงพ่อ
    ปากแดงพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อัญเชิญจากเวียงจันทน์เมื่อ 200 ปี
    (3) เดินทางไปสัมผัสความยิ่งใหญ่ของพระแก้วมรกตองค์จำลองที่สร้างจากเนื้อ
    เรซิ่นใหญ่ที่สุดในโลกที่ วัดคีรีวัน
    (4) จากนั้น เดินทางไปสักการะเทพเจ้าแห่งโชคลาภที่แกะสลักจากหยกเขียวใหญ่
    ที่สุดในโลกเพื่อความเป็นสิริมงคล ที่ พุทธสถานจีเ็ต็กลิ้ม
    (5) จากนั้นเดินทางสู่จังหวัดปราจีนบุรี ย้อนอดีตแห่งความเจริญรุ่งเรืองช่วงพุทธ
    ศตวรรษที่ 14 – 18 ที่ วัดสระมรกต บูชารอยพระพุทธบาทคู่ที่ใหญ่และเก่าแก่ที่
    สุดในประเทศไทย
    (6) เดินทางไปสักการะต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ที่ วัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ ซึ่งนำหน่อมา
    จากต้นโพธิ์ตรัสรู้จากพุทธคยา ประเทศอินเดีย
    (7) เดินทางสู่อำเภอเมืองปราจีนบุรี ชมความสมานฉันท์ของช่าง 4 ชาติ
    ( ไทย – จีน + ฝรั่ง – เขมร )ที่สร้างสรรค์อุโบสถได้อย่างสวยงาม ณ วัดแก้ว
    พิจิตรสักการะหลวงพ่ออภัยทานปางอภัยทานองค์เดียวของประเทศไทย ที่เชื่อกันว่า ผู้ที่โกรธกัน เมื่อได้มากราบไหว้แล้วจะคืนดีกัน
    (8) จากนั้น เดินทางไปจังหวัดสระแก้ว กราบบูชารูปเหมือนหลวงพ่อทองพระสงฆ์
    ผู้มีเมตตาธรรมสูงเป็นที่เคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วไป ณ วัดสระแก้ว
    (9) เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 33 สู่ อำเภอวัฒนานคร ถึง วัดนครธรรม
    สักการะหลวงพ่อขาว พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์แห่งดินแดนตะวันออก
    - เดินทางกลับกรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ
    ไหว้พระศักดิ์สิทธิ์ 9 วัดจังหวัดนครนายก

    - ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ - นครนายก ตามทางหลวงหมายเลข 305 ถึงคลอง 15 อ.องครักษ์ ชมความสวย
    งามของศูนย์เพาะพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เรื่อยมาจนถึง

    (1) วัดประสิทธิเวช ชมความหลากหลายของเครื่องเงิน เครื่องลายครามเครื่องทองเหลืองเก่าแก่จำนวนมาก
    ทำบุญไหว้พระปล่อยปลาและสัตว์น้ำนานาชนิดบริเวณศาลาท่าน้ำ หรือสร้างกำลังใจด้วยการสะเดาะเคราะห์
    ต่อชะตา ( เป็นความเชื่อส่วนบุคคล ) โทร .0-3733-2113
    (2) เดินทางสู่โรงเรียนนายร้อย จปร . ถึง วัดเขาชะโงกสักการะพระพุทธฉายเป็นภาพเขียนติดอยู่กับชะโงกผา
    รอยพระบาทคู่ พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และสังขารพระครูสมุห์สี ฐานิโย ศพไม่เน่าเปื่อย
    โทร .0-3739-3010,08-9934-9010 เดินทางสู่จังหวัดนครนายก
    (3) วัดใหญ่ทักขิณาราม ชมอุโบสถเก่าแก่กว่า 200 ปี ศิลปะชาวลาวเวียงจันทนโทร .0-3731-1503
    (4) วัดบุญนาครักขิตาราม ( วัดต่ำ ) บูชาหลวงพ่อเศรียรนคร พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองนครนายก
    โทร .0-3731-1445
    (5) พลาดไม่ได้่กับการการย้อนอดีตแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ณวัดพรามหณีสักการะหลวงพ่อปากแดง
    พระพุทธรูปเก่าแก่ที่ชาวลาวอพยพได้อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ ชมอนุสรณ์สถานกองพลทหารญี่ปุ่นที่ 37 เพื่อระลึกถึงทหารญี่ปุ่นจำนวน 7,920 คน ซึ่งสูญเสียที่ดินแดนแห่งนี้ หรือจะนอนในโลงเพื่อสะเดาะเคราะห์
    ต่อชะตาเพื่อความสบายใจ ( เป็นความเชื่อส่วนบุคคล )โทร .08-1384-8522
    (6) ออกเดินทางถึง วัดคีรีวัน บูชา พระแก้วมรกตจำลองสร้างจากเรซิ่นใหญ่ที่สุดในโลก หน้าตัก 49 นิ้ว
    สูง 32.9 นิ้ว มีเครื่องทรงครบ 3 ฤดู ประดับด้วยเพชรแท้ 7 กะรัต พลอยแท้ 2,000 เม็ด ทับทิมจำนวนมาก
    โทร . 0-3738-4139
    (7) ย้อนความศรัทธาสู่แหล่งปฏิบัติธรรม วัดถ้ำสาริกา สถานปฏิบัติธรรมของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    พ.ศ .2460-2463 ไหว้พระสารีริกธาตุและพระธาตุ โทร .08-9931-6976
    (8) เดินทางสู่ วัดนางรอง สักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ขนาดเท่าพระองค์จริง 1 ใน 4 องค์โทร .0-3738-5054
    (9) จากนั้นเดินทางไปสัมผัสความยิ่งใหญ่ระดับโลกที่ พุทธสถานจีเต็กลิ้มสักการะเทพเจ้าแห่งโชคลาภ
    ไฉ่ซิ้งเอี้ย ปางมหาเศรษฐีชัมภล (ปางมหาราช) ที่แกะสลักจากหยกเขียว ใหญ่ที่สุดในโลก
    โทร .08-7990-6245,08-9415-6161
    - เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ หลังจากอิ่มบุญ + อิ่มใจ (สถานปฏิบัติธรรม – พุทธวิหาร
    โทร .0-3733-0313, วัดป่าถาวรนิมิต โทร .0-3730-8372)
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE height=485 cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left colSpan=2 height=43><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=style9>พระธาตุเจดีย์</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>ʓ?ѡ?ҹǑ???Ã?ѧˇѴ??ù҂?

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="98%" height=190><TABLE class=line height=114 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3>สถานที่ตั้ง หมู่ 4 ริมคลองท่าแดง</TD></TR><TR><TD width="25%">เลขที่ </TD><TD colSpan=2>หมู่ที่/หมู่บ้าน 4</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ซอย </TD><TD width="55%">ถนน </TD></TR><TR><TD colSpan=2>ตำบล เกาะหวาย </TD><TD>อำเภอ ปากพลี</TD></TR><TR><TD colSpan=3>จังหวัด นครนายก</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=line cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=38>ค่าพิกัดภูมิศาสตร์
    zone 47 พิกัด-x 1566006 พิกัด-y 0743320
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=line height=147 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3>การเข้าถึงข้อมูล </TD></TR><TR><TD colSpan=3>ชื่อบุคคลอ้างอิง นายสมจิตร เสือหล้า อีเมล์ </TD></TR><TR><TD colSpan=3>ชื่อหน่วยงานอ้างอิง อีเมล์ </TD></TR><TR><TD width="22%">เลขที่ </TD><TD width="30%">หมู่ที่/หมู่บ้าน </TD><TD width="48%">ซอย </TD></TR><TR><TD>ถนน </TD><TD>ตำบล เกาะหวาย</TD><TD>อำเภอ ปากพลี</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จังหวัด นครนายก</TD><TD>รหัสไปรษณีย์ 26130</TD></TR><TR><TD colSpan=2>หมายเลขโทรศัพท์ </TD><TD>หมายเลขโทรสาร </TD></TR><TR><TD colSpan=3 height=18>ที่อยู่ของเว็บไซต์ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สาระสำคัญ

    พระธาตุเจดีย์หรือเจดีย์อ่าวพระธาตุหรือพระธาตุไทรงาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะหวาย อำเภอปากพลี ห่างจากถนนสุวรรณศรไปทางทิศใต้ ไปตามถนนผ่านวัดฝั่งคลอง เลียบคลองท่าแดง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ผู้ริเริ่มก่อสร้างคือ หลวงพ่อจันทร์ทอง (บางท่านว่า พระมหาจันทร์ มีอาษา) เจ้าอาวาสวัดเกาะหวาย ร่วมกับชาวบ้านเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2341 จากบันทึกของ นายศุภชัย แสงทอง อดีตปลัดอำเภอปากพลี (ปัจจุบันถึงแกกรรมแล้ว) บันทึกไว้ว่า หลวงพ่อจันทร์ทองเดินทางไปเยี่ยมบุตรชายซึ่งมีครอบครัวอยู่ที่สะแกซึง โดยทางเรือ ได้ลงเรือที่หน้าวัดฝั่งคลอง โดยผู้ที่ไปด้วยมี หลวงพ่อจันทร์ทองนั่งหัวเรือ แม่หอมนั่งกลางเรือ ลูกชายคนเล็กเป็นคนแจวเรือและคุมหัวเรือ ลูกชายคนที่ 2 ถือท้ายเรือ ขณะเดินทางไปถึงแยกคุ้งน้ำไทรงามซึ่งเป็นทางน้ำมาบรรจบกัน 3 ทาง เกิดพายุลมแรง ฝนตกฟ้าคะนอง ลมได้พัดเรือกระเด็นกระดอนสูงขึ้นเป็นหลายวาโดยเรือไม่ล่ม สุดท้ายเรือได้กระแทกสู่พื้นรากไทรงามริมคลองเกยนิ่ง หลวงพ่อจันทร์ทองกระเด็นจากเรือไปค้างบนรากไทรเป็นที่อัศจรรย์ยิ่งนัก ทุกคนเจ็บปวดจากแรงกระแทก แต่หลวงพ่อจันทร์ทองไม่เป็นอะไร ชาวบ้านเกาะกาและบ้านบางหอยจึงพากันเอาเรือมารับจัดขบวนแห่ไปบ้านสะแกซึง จัดงานสมโภชน์ 7 วัน 7 คืน ชาวบ้านเกาะหวายและหมู่บ้านใกล้เคียงลงมติร่วมกันให้จัดสร้างพระธาตุไทรงามและศาลาพักร้อนขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวาย "หลวงพ่อจันทร์ทอง" เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้มีพิธีเปิด ทั้งพิธีทางศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ ฉลอง 3 วัน 3 คืน ตั้งชื่อพระธาตุว่า "พระธาตุไทรงาม" ต่อมาชาวบ้านเรียกบริเวณคุ้งนำนี้ว่า "อ่าวพระธาตุ"
    ในการก่อสร้างพระธาตุนี้ น่าจะมีเหตุผล 2 ประการคือ เป็นที่พักคนเดินทางของชาวบ้านสะแกซึง เกาะกา ลำบัวลอย แขมโค้ง บ้านท่าประดิษฐ์ ตำบลท่ารือ อำเภอปากพลี และเป็นจุดสังเกตุสำหรับผู้ที่เดินทางเรือมาถึงบริเวณคุ้งน้ำจะได้ระมัดระวัง ไม่เกิดเรือล่ม

    สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครนายก
    ศาลากลางจังหวัดนครนายก ชั้น ๓ ถนนสุวรรณศร อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000
    หมายเลขโทรศัพท์ 0 3731 5050 หมายเลขโทรสาร 0 3731 5050
    อีเมล์ nakhonnayok@m-culture.go.th
    เว็บไซต์อื่นๆ : จังหวัดนครนายก | ท่องเที่ยวไทย |​
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    [​IMG]
    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

    [​IMG]
    หินแกะสลัก

    [​IMG]
    ศิลาจารึกหิน

    [​IMG]
    ปรางค์สองพี่น้อง

    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานมีพื้นที่ครอบคลุมโบราณสถานในเมืองเก่าศรีเทพ ศรีเทพเป็นเมืองโบราณที่อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพ เดิมมีชื่อว่า "เมืองอภัยสาลี" ถูกค้นพบเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปตรวจราชการมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ทรงเรียกเมืองนี้เสียใหม่ว่า "เมืองศรีเทพ" เมื่อปี พ.ศ. 2447-2448 เมืองโบราณศรีเทพนี้มีลักษณะเป็นเมืองซ้อนเมืองขนาดใหญ่ ที่ตั้งของเมืองอยู่ในชุมทาง ที่สามารถติดต่อกับภาคอื่น ๆ ได้สะดวก ดังนั้นจึงได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมจากอาณาจักรข้างเคียง มาผสมผสาน เช่น ศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม เป็นต้น เมืองศรีเทพสร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี โดยดูจากหลักฐานทางสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และวัฒนธรรมที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีความเจริญสูงสุดทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม สันนิษฐานว่าเจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 16
    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพได้รับรางวัล Thailand Tourism Award ประจำปี 2543 2 รางวัลคือ รางวัลประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมโบราณสถานยอดเยี่ยมและรางวัลสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านอินเทอร์เน็ตดีเด่น

    <TABLE class=toc id=toc sizcache="0" sizset="0"><TBODY sizcache="0" sizset="0"><TR sizcache="0" sizset="0"><TD sizcache="0" sizset="0">เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] สถานที่ตั้ง

    เมืองศรีเทพอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบูรณ์ประมาณ 107 กิโลเมตร ห่างจากอำเภอวิเชียรบุรีประมาณ 25 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณสองพันไร่เศษ มีกำแพงเมืองที่ก่อด้วยดินล้อมรอบ และมีคูเมืองนอกกำแพง มีประตูเมืองทั้งสี่ทิศ ภายในเมืองมีปรางค์สมัยลพบุรีอยู่สององค์ เรียกว่า ปรางค์องค์พี่และปรางค์องค์น้อง ทางทิศเหนือนอกกำแพงเมืองออกไปมีสระน้ำสองแห่ง ชื่อสระแก้วและสระขวัญ ในสมัยก่อนเมืองศรีเทพต้องส่งส่วยน้ำจากสระทั้งสองนี้ เพื่อนำไปใช้ทำน้ำพิพัฒยสัตยา เพราะถือว่าเป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์
    [แก้] การสำรวจทางโบราณคดี

    กรมศิลปากรไม่ได้ดำเนินการ สำรวจ ขุดค้น ศึกษา และพัฒนาบรรดาโบราณสถานและโบราณวัตถุในเมืองศรีเทพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยทำการการบูรณะ และบำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างให้มั่นคงถาวร
    ประติมากรรมศิลาที่ค้นพบที่เมืองศรีเทพ ได้นำมาเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ส่วนใหญ่ของประติมากรรมดังกล่าวเป็นเทวรูปในศาสนาพราหมณ์ เช่น เทวรูปพระนารายณ์ พระกฤษณะ และพระอาทิตย์ เป็นต้น สันนิษฐานว่า มีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 ศิลาจารึกที่มีลักษณะคล้ายเสาหลักเมือง จารึกเป็นภาษาสันสกฤต ยังไม่ทราบความหมาย ตัวอักษรมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 10-11 ส่วนศิลาจารึกอีกสองหลักที่อ่านได้ หลักแรกกล่าวถึงพระเจ้าภววรมัน ตัวอักษรที่จารึกอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-12 ส่วนอีกหลักหนึ่งจารึกเป็นอักษรขอมอายุประมาณ พุทธศตวรรคที่ 15-16 ได้กล่าวถึงชื่อบุคคลเกี่ยวกับอิทธิพลของขอม ศิลปะขอมสมัยบายนของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724-ประมาณ พ.ศ. 1760) เช่นรูปทวารบาลศิลา ดังได้กล่าวแล้วว่าเมืองโบราณศรีเทพเป็นเมืองสองชั้น คือมีเมืองในและเมืองนอก
    เมืองในเป็นส่วนที่สำคัญของเมืองศรีเทพ เพราะประกอบไปด้วยโบราณสถานขนาดใหญ่ถึง 77 แห่ง มีช่องทางเข้าออกได้ 8 ช่องทาง และมีสระน้ำกระจายอยู่ทั่วไป รูปร่างของเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาดกว้างยาวด้านละประมาณ 1600 เมตร ส่วนเมืองนอกอยู่ทางทิศตะวันออก โดยมีคูน้ำกั้นอยู่มีช่องทางเข้า - ออก อยู่ 7 ช่องทางและมีสระน้ำกระจายอยู่ทั่วไปเช่นกัน มีโบราณสถานที่พบแล้วอยู่ 57 แห่ง เมืองนอกนี้มีขนาดใหญ่กว่าเมืองใน ทั้งสองเมืองนี้มีเชิงเทินที่ก่อด้วยดินและศิลาแลงล้อมรอบ สูงประมาณ 6 เมตร ฐานกว้าง 18-27 เมตร และส่วนยอดกว้าง 5-9 เมตร นอกเชิงเทินมีคูเมืองล้อมรอบ ส่วนที่กว้างสุดประมาณ 90 เมตร มีประตูทั้งหมด 11 ประตู แต่ละประตูกว้างประมาณ 18 เมตร
    จากการขุดค้นทางโบราณคดีซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ในชั้นดินระดับลึกสุด (ชั้นดินทราย) ได้พบโครงกระดูกมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ 5 โครง โครงหนึ่งเป็นเพศหญิงนอนหงาย หันศีรษะไปทางทิศเหนือ มีกำไลสำริดคล้องแขนซ้ายบริเวณข้อศอก และมีเครื่องประดับทำด้วยหินสีส้มคล้องคอ รอบโครงกระดูกมีลูกปัดกระจายอยู่โดยรอบ จึงอาจกล่าวได้ว่าเมืองศรีเทพนี้มีความเก่าแก่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และในยุคประวัติศาสตร์ก็มีความสำคัญมาแต่โบราณกาล อาจเป็นเมืองที่ชาวอินเดียมาตั้งขึ้นแต่เดิม เพราะอยู่บนเส้นทางผ่านจาก ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาไปยังอาณาจักรฟูนันและอาณาจักรขอม ต่อมาขอมได้เข้าครอบครองจนกระทั่งขอมหมดอำนาจลง และเมืองศรีเทพได้ถูกทอดทิ้งเป็นเมืองร้างประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 18
    [แก้] โบราณสถานและสถานที่สำคัญ

    [แก้] ศาลเจ้าพ่อศรีเทพ

    อยู่ห่างจากประตูทางเข้าเล็กน้อยทางด้านขวามือ ศาลเจ้าพ่อศรีเทพไม่ใช่โบราณสถาน แต่เป็นที่เคารพสักการะของชาวบ้านทั่วไป โดยทุกปีจะมีงานบวงสรวง ในราวเดือนกุมภาพันธ์ (ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3)
    [แก้] ปรางค์ศรีเทพ

    เป็นสถาปัตยกรรมแบบศิลปะเขมรหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ลักษณะของปรางค์สร้างด้วยอิฐและศิลาแลง ฐานล่างก่อด้วยศิลาแลงเป็นฐานบัวลูกฟัก แบบเดียวกับสถาปัตยกรรมเขมรทั่ว ๆ ไป เรือนธาตุก่อด้วยอิฐ ในการขุดค้นบริเวณนี้พบชิ้นส่วนทับหลังรูปลายสลักราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ซึ่งน่าจะเป็นการสร้างเพิ่มหลังจากโบราณสถานเขาคลังใน ต่อมาประมาณพุทธศตวรรษที่ 18 มีการพยายามจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหม่แต่ไม่สำเร็จ โดยได้พบชิ้นส่วนทิ้งกระจัดกระจาย
    [แก้] สระแก้วสระขวัญ

    สระแก้วจะอยู่นอกเมืองไปทิศเหนือ ส่วนสระขวัญจะอยู่ในบริเวณเมืองส่วนนอก สระน้ำทั้งสองสระนี้มีน้ำขังตลอดปี และเชื่อกันว่าเป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์ มีการนำน้ำทั้งสองสระนี้ไปทำน้ำพิพัฒน์สัตยา ตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงปัจจุบัน
    [แก้] โบราณสถานเขาคลังใน

    เชื่อกันว่าเป็นที่เก็บอาวุธและทรัพย์สมบัติต่าง ๆ จึงเรียกว่า "เขาคลัง" การก่อสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-13 ผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง ที่ฐานมีรูปปูนปั้นบุคคล และสัตว์ประดับเป็นศิลปะแบบทวารวดีมีลักษณะศิลปะแบบเดียวกับที่พบที่เมืองคูบัว โบราณสถานบ้านโคกไม้เดน จังหวัดนครสวรรค์ และวัดนครโกษา จังหวัดลพบุรี จะเห็นว่าเขาคลังในตั้งอยู่เกือบกลางเมือง ลักษณะทางผังเมืองจะคล้ายกับเมืองทวารวดีอื่น ๆ เช่น เมืองนครปฐมโบราณ เมืองคูบัวที่ราชบุรี และจากรายละเอียดปูนปั้นบุคคลหรือลวดลาย แบบเดียวกับที่พบที่เมืองคูคล้าย
    [แก้] ปรางค์สองพี่น้อง

    ลักษณะเป็นปรางค์ 2 องค์ ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงขนาดใหญ่ หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเช่นเดียวกับปรางค์ศรีเทพ มีประตูทางเข้าทางเดียวและจากการขุดแต่งทางโบราณคดี พบทับหลังที่มีจำหลักเป็นรูปพระอิศวรอุ้มนางปารพตี ประทับนั่งอยู่เหนือโคอศุภราช ซึ่งลักษณะของทับหลังและเสาประดับกรอบประตูเป็นสิ่งกำหนดอายุของปรางค์ ซึ่งอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 เป็นศิลปะขอมแบบบาปวนต่อนครวัด และได้มีการสร้างปรางค์องค์เล็กเพิ่ม โดยพบร่องรอยการสร้างทับกำแพงแก้วที่ล้อมรอบปรางค์องค์ใหญ่ ซึ่งอยู่ใต้ปรางค์องค์เล็ก และยังมีการก่อปิดทางขึ้นโดยเสริมทางด้านหน้าให้ยื่นออกมา และก่อสร้างอาคารขนาดเล็กทางทิศเหนือเพิ่มขึ้น
    นอกจากนี้ระหว่างองค์ปรางค์ทั้งสองแห่งคือปรางค์สองพี่น้อง และปรางค์ศรีเทพจะมีกำแพงล้อมรอบ และมีอาคารปะรำพิธีขนาดเล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป แสดงให้เห็นถึงลักษณะการวางผัง ในรูปของศาสนสถานศิลปะเขมรแบบเดียวกับที่พบในภาคอีสานของประเทศไทย
    [แก้] อาคารหลุมขุดค้นทางโบราณคดี

    จัดแสดงโครงกระดูกมนุษย์และโครงกระดูกช้างที่ได้ขุดค้นทางโบราณคดีเมื่อปี พ.ศ. 2531


    [แก้] โบราณสถานอื่นๆ

    นอกจากโบราณสถานหลักแล้วยังมีโบราณสถานย่อย ๆ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เช่น ทิศใต้ของเขาคลังใน พบโบสถ์ก่อด้วยศิลาแลง พบใบเสมาหินบริเวณใกล้หลุมขุดค้น และพบโบราณสถานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสมัยทวารวดี ซึ่งได้มีการก่อสร้างทับในระยะที่รับเอาศาสนาพราหมณ์เข้ามา จึงเห็นได้ว่าบริเวณเมืองชั้นในเดิมน่าจะเป็นเมืองแบบทวารวดีและมีการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรในระยะหลังเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ทางทิศใต้ยังพบอาคารมณฑปแบบทวารวดีขนาดใหญ่ และมีการพยายามเปลี่ยนแปลงให้เป็นเทวาลัยประมาณต้นศตวรรษที่ 18 แต่ไม่สำเร็จ เช่นเดียวกับปรางค์ศรีเทพ
    [แก้] การเดินทาง

    การเดินทาง เมืองศรีเทพอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบูรณ์ประมาณ 130 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 21 (เฉลิมพระเกียรติ-หล่มสัก) ถึงหลักกิโลเมตรที่ 102 แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 2211 ไปอีกประมาณ 9 กิโลเมตรจะเห็นป้ายบอกทางเข้าอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพอยู่ด้านขวามือ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00–16.30 น. โทร. 0-5679-1787
    [แก้] อัตราการเข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

    • ค่าเข้าชมชาวไทย 20 บาท
    • ชาวต่างประเทศ 30 บาท
    • รถยนต์ 30 บาท
    เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น.
    [แก้] อ้างอิง

    <TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" colSpan=2>


    อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2>พระนครศรีอยุธยาสุโขทัยพนมรุ้งพระนครคีรีศรีสัชนาลัยพิมายเมืองสิงห์กำแพงเพชรภูพระบาทศรีเทพ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=2>มรดกโลกในประเทศไทยอุทยานประวัติศาสตร์ในไทยอุทยานแห่งชาติในไทยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในไทยเขตห้ามล่าสัตว์ป่าในไทยพื้นที่สงวนชีวมณฑลในไทย</TH></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" colSpan=2>


    ปราสาทขอม ในพื้นที่ต่างๆ
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระนคร</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">นครธมนครวัดปักษีจำกรงบันทายกเดยบันทายสำเหร่บันทายศรีบากองบาปวนบายนเจ้าสายเทวดาแม่บุญตะวันออกกบาลสะเปียนคลังโกรลโคโลเลยนาคพันพิมานอากาศพนมบาแค็งพนมกรอมออกยมกระวานพระขรรค์พระโคพระป่าเลไลย์พระปิตุแปรรูปสะพานทมอสระสรงตาพรหมตาโสมตาแก้วตาเนยลานช้างลานพระเจ้าขี้เรื้อนธรรมานนท์บาราย (บารายตะวันตกบารายตะวันออก) • แม่บุญตะวันตกพนมกุเลน

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ส่วนอื่นๆ ของกัมพูชา</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">บันทายชมาร์บึงมาลาเกาะแกร์พระวิหารสมโบร์ไพรกุกพนมดา

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ประเทศไทย</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระปรางค์สามยอดปรางค์แขกศาลพระกาฬพนมรุ้งเมืองต่ำพิมายเมืองสิงห์พนมวันสด๊กก๊อกธมปรางค์พรหมทัตปรางกู่ (ร้อยเอ็ด)ปรางค์กู่ (ศรีสะเกษ)วัดสระกำแพงใหญ่สระกำแพงน้อยตาเล็งศีขรภูมิช่างปี่ตาเมือนตาเมือนธมตาเมือนโต๊ดตาควายห้วยทับทันภูมิโปนยายเหงาจอมพระตระเปียงเตียบ้านพลวงบ้านไพลปรางค์สองพี่น้องนารายณ์เจงเวงวัดพระพายหลวงวัดกำแพงแลงวัดมหาธาตุ ราชบุรีปราสาทวัดเจ้าจันทร์ดงเมืองเตยเปือยน้อยเขาโล้นกุฎิฤๅษีบัวรายบ้านบุปราสาทหนองโปร่ง (หนองปล่อง)โคกปราสาทปราสาทหนองตาเปล่งปราสาทถมอ (ปราสาททะมอ)กุฏิฤๅษีบ้านโคกเมืองพนมวันกู่กาสิงห์กู่พรามณ์จำศีลปรางค์ทองสังข์ศิลป์ชัยเมืองแขกเขาน้อยกู่สวนแตงกู่พระสันตรัตน์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ประเทศลาว</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">วัดพูอุ้มเมืองเรือนหิน

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    พิกัดภูมิศาสตร์: [​IMG]15°27′56″N 101°09′11″E / 15.465634°N 101.153054°E / 15.465634; 101.153054
    <!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 1460/1000000Post-expand include size: 61660/2048000 bytesTemplate argument size: 50044/2048000 bytesExpensive parser function count: 2/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:62109-0!1!0!!th!2 and timestamp 20100110044624 -->ดึงข้อมูลจาก "อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย | จังหวัดเพชรบูรณ์ | ปราสาทหินในไทย | ปราสาทขอม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • sr1.jpg
      sr1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.6 KB
      เปิดดู:
      526
    • sr2.jpg
      sr2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.4 KB
      เปิดดู:
      475
    • sr3.jpg
      sr3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5 KB
      เปิดดู:
      473
    • sr4.jpg
      sr4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.8 KB
      เปิดดู:
      602
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นครนายกเมืองในฝันที่ใกล้กรุง ภูเขางาม น้ำตกสวย
    รวยธรรมชาติปราศจากมลพิษ

    แผนที่จังหวัดนครนายก | การท่องเที่ยว, อุทยานแห่งชาติ

    นครนายก สันนิษฐานว่าเคยเป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี หลักฐาน คือแนวกำแพงเนินดินและสันคูเมืองที่ตำบลดงละคร แต่ชื่อ “นครนายก” นั้นปรากฏหลักฐานในสมัยอยุธยาว่าเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศตะวันออก สมัยพระเจ้าอู่ทอง ใน พ.ศ. 2437 รัชกาลที่ 5 ทรงจัดลักษณะการปกครองโดยแบ่งเป็นมณฑลนครนายกจัดอยู่ในเขตมณฑลปราจีนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2445 ทรงเลิกธรรมเนียมการมีเจ้าครองเมือง ให้มีตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดขึ้นแทน และในช่วง พ.ศ. 2486-2489 ได้โอนนครนายกไปรวมกับจังหวัดปราจีนบุรี และสระบุรี หลังจากนั้นจึงแยกเป็นจังหวัดนครนายก
    จังหวัดนครนายกเดิมชื่อว่า “บ้านนา“ เล่ากันว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของนครนายกเป็นป่ารกชัฏเป็นที่ดอน ทำนาหรือเพาะปลูกอะไรไม่ค่อยได้ผลและมีไข้ป่าชุกชุม ผู้คนจึงอพยพไปอยู่ที่อื่นจนกลายเป็นเมืองร้าง ต่อมาพระมหากษัตริย์ทรงทราบความเดือนร้อนของชาวเมืองจึงโปรดเกล้าฯ ให้เลิกภาษีนาเพื่อจูงใจชาวเมืองให้อยู่ที่เดิมทำให้มีผู้คนอพยพมาอยู่เพิ่ม มากขึ้น จนเป็นชุมชนใหญ่และเรียกเมืองนี้กันติดปากว่า “เมืองนายก”
    สภาพพื้นที่ของจังหวัดนครนายกโดยทั่วไปเป็นที่ ราบอยู่ในหุบเขาตอนเหนือและตะวันออก เป็นเนินสูงและป่าเขาติดต่อกับเขาดงพญาเย็น ส่วนทางตอนกลางและตอนใต้เป็นที่ราบลุ่ม ภูเขาที่สำคัญ คือ เขาใหญ่ เขาเขียว เขาชะโงก และเขานางรอง เป็นต้น ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร และเกิดน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง
    จังหวัดนครนายก มีพื้นที่ประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอบ้านนา อำเภอองครักษ์ และอำเภอปากพลี
    อาณาเขต
    ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดสระบุรีและนครราชสีมา
    ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา
    ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดปราจีนบุรี
    ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดปทุมธานี
    งานประเพณีตักบาตรเทโวโรหนะ
    จัดช่วงแรม 1 ค่ำ เดือน 11หรือตรงกับวันออกพรรษาของทุกปี จะมีพระสงฆ์จำนวน 109 รูป มารับบิณฑบาตโดยเดินลงมาจากมณฑปวัดเขานางบวช
    งานนครนายกมรดกธรรมชาติ
    จัดช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ของทุกปี บริเวณถนนสุวรรณศร เทศบาลนครนายก เป็นการรวมกิจกรรมที่หลากหลายไว้ในงาน เช่น การประกวดและจำหน่ายของดีเมืองนครนายก นิทรรศการ อาหารจานเด็ด แข่งขันจักรยานเสือภูเขา ล่องแก่งด้วยเรือแคนู วิ่งป่า (FOREST RUN ) และกิจกรรมนำเที่ยวเมืองนครนายกหลายเส้นทางด้วยกัน
    งานมหกรรมไม้ดอกไม้ประดับองครักษ์
    จัดช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ของทุกปี บริเวณคลอง 15 ตำบลบางปลากด อำเภอองครักษ์ ภายในงานมีการประกวดไม้ดอกไม้ประดับ ประกวดการจัดสวนหย่อม และการแสดงนิทรรศการทางวิชาการ
    งานวันมะปรางหวานและของดีนครนายก
    จัดขึ้นช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ของทุกปี บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด วัตถุประสงค์เพื่อแนะนำเผยแพร่มะปรางหวาน ผลิตผลทางการเกษตร และสินค้าหัตถกรรม ในงานจะมีการประกวดขบวนแห่ผลิตผลทางการเกษตร ประกวดมะปราง และพืชผลทางการเกษตร ประกวดธิดามะปรางหวาน การแสดงของนักเรียน และการออกร้านจัดนิทรรศการของหน่วยงานราชการและเอกชน จำหน่ายสินค้าราคาถูก
    งานประเพณีสารทไทยและแข่งเรือยาวประเพณี
    จัดในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี บริเวณริมคลอง 29 ที่วัดทวีพูลรังสรรค์ อำเภอองครักษ์ ในงานมีการแข่งขันเรือยาวประเภทต่าง ๆ ประกวดการกวนกระยาสารท การทำบุญวันสารทไทย และในตอนกลางคืนมีมหรสพ

    ที่มา www.tat.or.th

    Author: admin
    Filed Under Category: ภูมิศาสตร์
    Article Tags: แผนที่จังหวัดนครนายก
    Comments: No Comments
     
  19. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    แจ้งพี่หนุ่ม โอนเงินค่า ล็อกเก็ต 1 องค์แล้วครับ (11/01/53 13.27 A04376 KTB)
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระสังฆราช

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    สังฆราช แปลว่า ราชาของสงฆ์ ราชาของหมู่คณะ หมายถึง พระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล เรียกเต็มว่า สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เรียกย่อว่า สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ สังฆราช ยังมีอีกความหมายหนึ่งเป็นชื่อตำแหน่งพระมหาเถระผู้ใหญ่สูงสุดเช่นนั้น โดยเรียกว่า ตำแหน่งสังฆราช หรือ ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช
    สังฆราชในสังฆมลฑลไทย กฎหมายกำหนดให้มีพระองค์เดียวมาตั้งแต่โบราณ ทั้งนี้เพื่อป้องกันความแตกแยกสามัคคีในหมู่สงฆ์ จึงเท่ากับดำรงอยู่ในฐานะ พระสังฆบิดร ด้วย




    <TABLE class=toc id=toc sizcache="0" sizset="0"><TBODY sizcache="0" sizset="0"><TR sizcache="0" sizset="0"><TD sizcache="0" sizset="0">เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] สังฆราชในสังฆมลฑลไทย

    สังฆราช หรือที่เรียกในสังฆมลฑลไทยว่า สมเด็จพระสังฆราช เป็นตำแหน่งที่มีมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ดังมีหลักฐานจากศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้จารึกคำว่าสังฆราชไว้ด้วย
    สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นตำแหน่งสมณศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของคณะสงฆ์ไทย ทรงเป็นประธานการปกครองคณะสงฆ์ ตำแหน่งนี้น่าจะมีที่มาจากคณะสงฆ์ไทย นำแบบอย่างมาจาก ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงอัญเชิญพระเถระผู้ใหญ่ของลังกา ที่เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทในประเทศไทย

    สมัยกรุงสุโขทัยและสมัยกรุงศรีอยุธยา
    ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้เพิ่มตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเป็น สกลมหาสังฆปรินายก มีอำนาจว่ากล่าวออกไปถึงหัวเมือง โดยมีพระสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เจ้าคณะใหญ่ฝ่าย คามวาสี เป็นสังฆราชขวา สมเด็จพระวันรัตเจ้าคณะฝ่ายอรัญวาสี เป็นสังฆราชซ้าย องค์ใดมีพรรษายุกาลมากกว่า ก็ได้เป็นพระสังฆราช ในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา พระอริยมุนี ได้ไปสืบอายุพระพุทธศาสนาที่ลังกาทวีป มีความชอบมาก เมื่อกลับมาได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้นตามลำดับจนเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระเจ้าเอกทัศน์มีพระราชดำริให้คงราชทินนามนี้ไว้ จึงทรงตั้งราชทินนามสมเด็จพระสังฆราชเป็น สมเด็จพระอริยวงศาสังฆราชาธิบดี และมาเป็น สมเด็จพระอริยวงศาญาณ ในสมัยกรุงธนบุรี และได้ใช้ต่อมาจนถึง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จึงได้ทรงปรับปรุงเพิ่มเติมเป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ซึ่งได้ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
    ตามทำเนียบสมณศักดิ์ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ที่มีตำแหน่งสังฆปรินายก 2 องค์ ที่เรียกว่า พระสังฆราชซ้าย ขวา ดังกล่าวแล้ว ยังมีคำอธิบายอีกประการหนึ่งว่า สมเด็จพระอริยวงศ์ เป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาว่า คณะเหนือ พระพนรัตน์เป็นพระสังฆราชฝ่ายซ้ายว่า คณะใต้ มีสุพรรณบัตรจารึกพระนามเมื่อทรงตั้งทั้ง 2 องค์ แต่ที่สมเด็จพระพนรัตน์ โดยปกติไม่ได้เป็นสมเด็จ ส่วนพระสังฆราชฝ่ายขวานั้นเป็นสมเด็จทุกองค์ จึงเรียกว่าสมเด็จพระสังฆราช จึงเป็นมหาสังฆปริณายก มีศักดิ์สูงกว่าพระสังฆราชฝ่ายซ้าย ที่พระพนรัตน์แต่เดิม ทรงยกเกียรติยศเป็นสมเด็จแต่บางองค์ มาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงเป็นสมเด็จทุกองค์
    เมื่อครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี วิธีการปกครองพระราชอาณาจักรในครั้งนั้น หัวเมืองใหญ่ที่ห่างไกลจากราชธานี เป็นเมืองประเทศราชโดยมาก แม้เมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้ราชธานี ก็ตั้งเจ้านายในราชวงศ์ออกไปครอง ทำนองเจ้าประเทศราช เมืองใหญ่แต่ละเมือง จึงน่าจะมีสังฆราชองค์หนึ่ง เป็นสังฆปรินายกของสังฆบริษัทในเมืองนั้น ดังปรากฏเค้าเงื่อนในทำเนียบชั้นหลัง ยังเรียกเจ้าคณะเมืองว่าพระสังฆราชอยู่หลายเมือง จนมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จึงได้ทรงเปลี่ยนมาเป็นสังฆปาโมกข์
    พระสงฆ์ฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสีนี้มีมาแต่ครั้งพุทธกาล คือฝ่ายที่พำนักอยู่ใกล้เมืองเพื่อศึกษาพระธรรมวินัย เรียกว่า คามวาสี อีกฝ่ายหนึ่งบำเพ็ญสมณธรรมในที่สงบเงียบตามป่าเขา ห่างไกลจากบ้านเมืองเรียกว่า อรัญวาสี ภิกษุ แต่ละฝ่ายยังแบ่งออกเป็นคณะ แต่ละคณะจะมีพระราชาคณะปกครอง หัวหน้าพระราชาคณะเรียกว่า สมเด็จพระราชาคณะ

    [แก้] สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    เพิ่มที่ รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามพระบรมราชวงศ์ระดับพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงดำรงสมณศักดิ์ในตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชขึ้นใหม่ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า<SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP> ทรงเศวตฉัตร 5 ชั้น พระราชวงศ์ชั้นรองลงมา เท่าที่ปรากฏ มีชั้นหม่อมเจ้าผู้ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช มีคำนำหน้า พระนามว่า สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ทรงฉัตรตาดเหลือง 5 ชั้น
    ตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ได้บัญญัติถึงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชได้ว่า ในกรณีตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศนาม สมเด็จพระราชาคณะ ที่มีอาวุโสสูงสุดโดยพรรษา เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช จากนั้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นำพระนามสมเด็จพระราชาคณะ 4 รูป คือ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ สมเด็จพระวันรัต สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ และ สมเด็จพระพุฒาจารย์ เสนอนายกรัฐมนตรี เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี แล้วนำกราบถวายบังคมทูล ให้พระมหากษัตริย์ทรงวินิจฉัย และจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สถาปนาสมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่ง ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จพระสังฆราชต่อไป
    [แก้] การวางรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ของไทย


    แบบแผนการปกครองคณะสงฆ์ของไทย เริ่มจัดวางหลักตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย มีการพัฒนาเพิ่มเติมใน สมัยกรุงศรีอยุธยาและต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อยมาตามลำดับ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ฯ การปกครองคณะสงฆ์ก็ยังจัดโดยมีตำแหน่งเปรียบเทียบดังนี้
    [แก้] อ้างอิง

    1. ^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า, เล่ม ๓๘, ตอน ๐ ก ,๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๐
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>


    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    </TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    พระรูปสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในงานบำเพ็ญกุศลทักษิณานุปทานถวายเป็นพระกุศลแด่อดีตสมเด็จพระสังฆราชฯ ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร
    พระสังฆราช - วิกิพีเดีย
    คำอธิบายโดยย่อ
    <TABLE style="WIDTH: 100%"><TBODY><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">คำอธิบายภาพ</TH><TD>พระรูปพระสังฆราชในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในงานบำเพ็ญทักษิณานุปทานถวายเป็นพระกุศลแด่อดีตสมเด็จพระสังฆราชฯ ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เจ้าของลิขสิทธิ์</TH><TD>มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">แหล่งที่มา</TH><TD>www.mbu.ac.th</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เหตุผลในการใช้ภาพ</TH><TD>ประกอบบทความ พระสังฆราช</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    [​IMG]
    พัดยศสมเด็จพระสังฆราช
    ไฟล์:พัดยศสมเด็จพระสังฆราช.jpeg - วิกิพีเดีย
    คำอธิบายโดยย่อ

    <TABLE style="WIDTH: 100%"><TBODY><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">คำอธิบายภาพ</TH><TD>พัดยศสมเด็จพระสังฆราช</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เจ้าของลิขสิทธิ์</TH><TD>มหาเถรสมาคม</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">แหล่งที่มา</TH><TD>http://www.mahathera.org/</TD></TR><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 0.4em; BACKGROUND: #ccf; VERTICAL-ALIGN: top; WIDTH: 15%; TEXT-ALIGN: right">เหตุผลในการใช้ภาพ</TH><TD>ประกอบบทความพระสังฆราช</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    [​IMG]
    [​IMG]
    พัดแฉกงาพิเศษประดับพลอย พัดยศพิเศษที่พระราชทานแก่สมเด็จพระสังฆราชผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • sa.jpg
      sa.jpg
      ขนาดไฟล์:
      61.8 KB
      เปิดดู:
      805
    • sa1.jpg
      sa1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      30.6 KB
      เปิดดู:
      1,830
    • sa2.jpg
      sa2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      37.5 KB
      เปิดดู:
      546

แชร์หน้านี้

Loading...