พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับวันงานใหญ่ ในเดือนหน้านี้

    ผมเตรียมพระวังหน้าและวัตถุมงคลของวังหน้า ไปมอบให้กับทุกๆท่านที่ไปงาน ท่านละ 1 องค์

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า จะได้เพิ่มเติมเป็นพิเศษอีก

    และตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันงาน ผมตั้งใจแล้วว่า จะมอบพระวังหน้า ให้กับท่านที่ทำตามที่ใจผมอยากให้ทุกๆท่านได้ทำ แต่จะเป็นอะไร ลองเดาใจผมและลองทำดูนะครับ บอกใบ้ให้ว่า มีอยู่ 2 เรื่อง หากทำได้ทั้งสองเรื่อง ผมมีพระวังหน้า มอบให้เพิ่มเติมอีก

    2 เรื่องที่ว่า หลังจากโพสนี้ ผมจะไปโพสในกระทู้พระวังหน้าฯ ในทั้งสองเรื่อง แต่จะเป็นหน้าไหน ขอไม่แจ้งให้ทราบครับ

    .
     
  2. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    กลับมาจากแดนดินถิ่นอิสานบ้านเกิดแล้วครับ การทอดกฐินครานี้เรียกว่าปัญจมหากฐิน คือทอด ณ วัดป่าสายกรรมฐาน ศิษย์หลวงปู่สอ พันธุโล 5 วัด ทอดมาแล้ว 3 วัด เหลืออีก 2 วัดคือ วัดป่าบ้านโนนค้อ ในวันที่ 24 ต.ค.กับวัดป่าบ้านหนองแสง ในวันที่ 25 ต.ค.ได้ยอดเงินทำบุญประมาณ 10 ล้านบาทเศษ!

    สำหรับหลวงปู่สอเองท่านอาพาธหนัก ออกมาจาก รพ. พักฟื้นที่วัดป่าบ้านหนองแสงเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับศิษยานุศิษย์ ตั้งแต่วันที่ 22 ต.ค. ผมเองได้มีโอกาสกราบท่าน นวดที่เท้าท่าน ท่านซูบผอมมากๆ อย่าให้พูดต่ออีกเลยครับ เห็นสังขารท่านก็นับว่าท่านเมตตาพวกเรามากสุดๆแล้วที่ออกมาจาก รพ. เพื่อให้ลูกหลานชื่นชมบารมี และได้กราบไหว้หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์องค์จริง ได้ถ่ายรูปมาฝากชาวรักษ์พระวังหน้า ที่โดยปรกติเขาห้ามถ่ายกันนะครับ กับถวายพระสมเด็จ TOP4 ให้กับพระที่ท่านปรนนิบัติหลวงปู่ด้วย ก็นับว่าเป็นบุญที่ผมได้มีโอกาสมากกว่าหลายๆคนที่ไปครานี้ เพราะห้องที่หลวงปู่อยู่พักฟื้นนั้นน้อยคนนักที่จะเข้าไปได้ มาดูรูปกันเลยครับ
    (P1100322.JPG=องค์จริงครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1100322.JPG
      P1100322.JPG
      ขนาดไฟล์:
      97.4 KB
      เปิดดู:
      99
    • P1100278.JPG
      P1100278.JPG
      ขนาดไฟล์:
      137.9 KB
      เปิดดู:
      95
    • P1100298.JPG
      P1100298.JPG
      ขนาดไฟล์:
      92.4 KB
      เปิดดู:
      91
    • P1100241.JPG
      P1100241.JPG
      ขนาดไฟล์:
      90.4 KB
      เปิดดู:
      99
    • P1100224.JPG
      P1100224.JPG
      ขนาดไฟล์:
      123.6 KB
      เปิดดู:
      82
    • P1100235.JPG
      P1100235.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134.5 KB
      เปิดดู:
      831
    • P1100254.JPG
      P1100254.JPG
      ขนาดไฟล์:
      179 KB
      เปิดดู:
      86
    • P1100256.JPG
      P1100256.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134.9 KB
      เปิดดู:
      82
    • P1100257.JPG
      P1100257.JPG
      ขนาดไฟล์:
      187.2 KB
      เปิดดู:
      101
    • P1100260.JPG
      P1100260.JPG
      ขนาดไฟล์:
      167.7 KB
      เปิดดู:
      91
    • P1100281.JPG
      P1100281.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134 KB
      เปิดดู:
      85
    • P1100282.JPG
      P1100282.JPG
      ขนาดไฟล์:
      140.4 KB
      เปิดดู:
      99
    • P1100310.JPG
      P1100310.JPG
      ขนาดไฟล์:
      132.3 KB
      เปิดดู:
      87
    • P1100315.JPG
      P1100315.JPG
      ขนาดไฟล์:
      145.3 KB
      เปิดดู:
      89
    • P1100317.JPG
      P1100317.JPG
      ขนาดไฟล์:
      151.3 KB
      เปิดดู:
      78
    • P1100324.JPG
      P1100324.JPG
      ขนาดไฟล์:
      161.6 KB
      เปิดดู:
      84
    • P1100327.JPG
      P1100327.JPG
      ขนาดไฟล์:
      202.7 KB
      เปิดดู:
      80
    • P1100328.JPG
      P1100328.JPG
      ขนาดไฟล์:
      86.8 KB
      เปิดดู:
      81
    • P1100332.JPG
      P1100332.JPG
      ขนาดไฟล์:
      131.8 KB
      เปิดดู:
      87
    • P1100365.JPG
      P1100365.JPG
      ขนาดไฟล์:
      162.9 KB
      เปิดดู:
      81
    • P1100378.JPG
      P1100378.JPG
      ขนาดไฟล์:
      161.1 KB
      เปิดดู:
      92
    • P1100401.JPG
      P1100401.JPG
      ขนาดไฟล์:
      174.9 KB
      เปิดดู:
      73
    • P1100405.JPG
      P1100405.JPG
      ขนาดไฟล์:
      162.9 KB
      เปิดดู:
      78
    • P1100417.JPG
      P1100417.JPG
      ขนาดไฟล์:
      161.3 KB
      เปิดดู:
      75
    • P1100419.JPG
      P1100419.JPG
      ขนาดไฟล์:
      143.3 KB
      เปิดดู:
      86
    • P1100446.JPG
      P1100446.JPG
      ขนาดไฟล์:
      178 KB
      เปิดดู:
      82
    • P1100454.JPG
      P1100454.JPG
      ขนาดไฟล์:
      123.4 KB
      เปิดดู:
      82
    • P1100461.JPG
      P1100461.JPG
      ขนาดไฟล์:
      165.9 KB
      เปิดดู:
      91
    • P1100465.JPG
      P1100465.JPG
      ขนาดไฟล์:
      150.8 KB
      เปิดดู:
      87
  3. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    __/|\__


    ...ขอชมอีกรอบแล้วกันครับพี่หนุ่ม...
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    รูปสวยมากครับ
    สงสัยว่า กล้องที่ใช้ถ่ายรูป จะดีมาก ไม่เหมือนกับผม อิอิ

    โมทนาบุญทุกประการครับ
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หนังสือ ปู่เล่าให้ฟัง ฉบับสมบูรณ์ มาถึงผมในวันนี้แล้วนะครับ

    สำหรับท่านที่จองไว้ ที่ไม่ใช่สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า ผมจะทยอยจัดส่งให้ ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า ไว้ผมนำไปให้ในวันงานใหญ่ ในเดือนหน้านะครับ

    [​IMG]

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...้าต้องการที่จะได้.22445/page-1721#post2541548

    http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=8477&page=141
    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 ตุลาคม 2009
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตะลึง!! พบตำรามายากลโบราณ อายุเกือบ 100 ปี



    ตะลึง!! พบตำรามายากลโบราณ อายุเกือบ 100 ปี

    http://hilight.kapook.com/view/42850

    [​IMG]

    ตำรามายากลโบราณ


    ตะลึง!! พบตำรามายากลโบราณ อายุเกือบ 100 ปี กลเม็ดเพียบ "เปลี่ยนเหล้าให้เป็นน้ำ - หุงข้าวด้วยธูป" (มติชนออนไลน์)

    นักมายากลอาวุโสพบตำราเล่นกลสมัย ร.6 จำนวน 12 เล่ม บันทึกการเล่นกลสมัยโบราณ ทั้งการหุงข้าวให้สุกด้วยธูปเพียงก้านเดียว และเปลี่ยนเหล้าให้เป็นน้ำ ชี้มายากลในไทยเคยรุ่งเรืองในอดีต เคยมีการก่อตั้งสมาคมนักกลหลวง ด้าน "ฟิลิป" เผยมีบันทึกระบุรัชกาลที่ 5 ทรงซ้อมเล่นกลด้วย

    นายธนัท ศุภพลทองโชติ นักมายากลอาวุโส ศูนย์ฝึกการแสดง เมืองพัทยา จ.ชลบุรี เปิดเผยเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ว่า ได้ค้นพบตำรามายากลอายุเกือบ 100 ปี ซึ่งตีพิมพ์เอาไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2461 - 2492 หรือสมัยรัชกาลที่ 6 จำนวน 12 เล่ม หนาเล่มละ 20 หน้า ราคาเล่มละ 20 สตางค์ เป็นตำรามายากลที่แปลโดยนายมาไลย น.ก. แปลมาจากการเขียนของนักมายากลชาวต่างประเทศชื่อ ศ.ชิโอลา เนื้อหาระบุถึงวิธีการเล่นมายากลที่มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 6 และอุปกรณ์การเล่นมายากล ที่นักมายากลในยุคปัจจุบันยังนำมาแสดงกันอยู่

    "หลายเรื่องเป็นมายากลที่นักมายากลจากต่างประเทศนำมาแสดงให้คนไทยในยุคนั้นดู เช่น การเสกขนมปังให้เข้าไปอยู่ในนาฬิกา การเปลี่ยนเหล้าให้กลายเป็นน้ำ หรือการเอามีดแทงตามลำตัว แต่มีหลายกลที่เชื่อกันว่า นักมายากลชาวไทยในยุคนั้นคิดขึ้นมาเองคือ การหุงข้าวให้สุกด้วยธูปเพียงก้านเดียว ตำรามายากลชุดดังกล่าวจะเป็นหลักฐานอย่างดีว่า การแสดงมายากลในประเทศไทยนั้นรุ่งเรืองมาตั้งแต่ในอดีต" นายธนัท กล่าว

    นายธนัท กล่าวว่า ตนเข้าใจว่า ตำรามายากลที่ตนพบนี้ ไม่ใช่ตำรามายากลที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย แต่ยังมีฉบับที่เก่ากว่านี้ แต่ยังหาไม่เจอ หรือเป็นตำราอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ไม่ใช่การพิมพ์จำหน่ายให้คนทั่วไปนำไปอ่าน หรือนำไปฝึกแสดงเพื่อความบันเทิง ขณะนี้ตนนำตำราดังกล่าวแสดงไว้ที่ศูนย์ฝึกการแสดงเมืองพัทยา ผู้ใดสนใจสามารถเข้าชมได้ ล่าสุดได้หารือกับนายเฉลิมสวรรค์ ไพบูลย์พันธ์ หรือ "ฟิลิป" นักมายากล ที่เป็นผู้ประสานงานชมรมสยามเมจิกส์ คลับ ว่า จะลอกเนื้อหาในตำราดังกล่าวขึ้นมาใหม่ และนำเผยแพร่ให้ผู้สนใจเข้าชมได้ในเว็บไซต์

    ด้านเฉลิมสวรรค์ กล่าวว่า เป็นเรื่องที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่ค้นพบตำรามายากล ซึ่งเป็นวิธีการเล่นมายากลที่ตีพิมพ์ออกมาจำหน่ายให้คนไทยได้อ่าน ถือเป็นอีกประวัติศาสตร์มายากลของประเทศไทยอีกฉบับหนึ่ง ทั้งนี้ ตามประวัติศาสตร์การเล่นมายากลของประเทศไทยนั้น นายชาลี ประจงกิจกุล นักวิชาการมายากลอาวุโส ของวงการมายากลประเทศไทย เคยเขียนเอาไว้ว่า ในพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เรื่องนิทราชาคริต ซึ่งพระราชนิพนธ์ในช่วงปี พ.ศ. 2420 ระบุว่า ในเมืองไทยเคยมีสมาคมกลมาก่อน ใช้ชื่อว่า ROYAL MAGICAL SOCIETY หรือ สมาคมนักกลหลวง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2419 ประธานสมาคมคือ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช ต้น สกุลภาณุพันธุ์ ซี่งทรงเป็นพระอนุชาแท้ ๆ ของรัชกาลที่ 5 มีนักวิทยากล หลายท่าน คือ พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นเจริญผลพูลสวัสดิ์ พระเจ้าประดิษฐ์วรการ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ หม่อมเจ้าประวิช แม้กระทั่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในหนังสือก็ได้บันทึกไว้ว่า ทรงซ้อมเล่นกลแต่จะแสดงด้วยหรือไม่นั้น ไม่มีการบันทึกไว้


    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end --><!-- / message --><!-- sig -->​
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันลอยกระทง

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG]
    กระทงแบบดั้งเดิมนั้นทำจากวัสดุธรรมชาติ


    วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา "มักจะ" ตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป
    ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำ "กระทง" จากวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตบแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไปในกระทง แล้วนำไปลอยในสายน้ำ (ในพื้นที่ติดทะเล ก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล) เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการลอยกระทง เป็นการบูชาพระแม่คงคาด้วย

    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] ประวัติ

    [​IMG]
    พลุเฉลิมฉลองในเทศกาลวันลอยกระทงริมแม่น้ำเจ้าพระยา


    เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง โดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป<SUP class="noprint Template-Fact">[ต้องการแหล่งอ้างอิง]</SUP> แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลที่ 3
    ปัจจุบันวันลอยกระทงเป็นเทศกาลที่สำคัญของไทย ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศมาเที่ยวปีละมากๆ ทั้งนี้ในช่วงเวลาดังกล่าวมักจะเป็นช่วงต้นฤดูหนาว และมีอากาศดี
    ในวันลอยกระทง ยังนิยมจัดประกวดนางงาม เรียกว่า "นางนพมาศ"
    [แก้] วันลอยกระทงในปฏิทินสุริยคติ

    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TH width=50>ปี</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH></TR><TR><TH>ปีชวด</TH><TD>24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539</TD><TD>12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551</TD><TD>31 ตุลาคม พ.ศ. 2563</TD></TR><TR><TH>ปีฉลู</TH><TD>14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540</TD><TD>2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552</TD><TD>19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564</TD></TR><TR><TH>ปีขาล</TH><TD>3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541</TD><TD>21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553</TD><TD>8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565</TD></TR><TR><TH>ปีเถาะ</TH><TD>22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542</TD><TD>10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554</TD><TD>27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566</TD></TR><TR><TH>ปีมะโรง</TH><TD>11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543</TD><TD>28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555</TD><TD>15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567</TD></TR><TR><TH>ปีมะเส็ง</TH><TD>31 ตุลาคม พ.ศ. 2544</TD><TD>17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556</TD><TD>5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2568</TD></TR><TR><TH>ปีมะเมีย</TH><TD>19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545</TD><TD>6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีมะแม</TH><TD>8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546</TD><TD>25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีวอก</TH><TD>26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547</TD><TD>14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีระกา</TH><TD>16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548</TD><TD>3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีจอ</TH><TD>5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</TD><TD>22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561</TD><TD>???</TD></TR><TR><TH>ปีกุน</TH><TD>24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550</TD><TD>11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562</TD><TD>???</TD></TR></TBODY></TABLE>[แก้] ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น

    นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไป และสืบทอดต่อกันเรื่อยมา

    [แก้] ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง

    [​IMG]



    • เป็นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ำ ได้ดื่มกินน้ำ รวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงในแม่น้ำ
    • เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ในประเทศอินเดีย
    • เป็นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ
    • ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่า การลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุต ตามตำนานเล่าว่า พระอุปคุตทรงสามารถปราบพญามารได้
    [แก้] อ้างอิง


    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


    <!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 356/1000000Post-expand include size: 6544/2048000 bytesTemplate argument size: 756/2048000 bytesExpensive parser function count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:18559-0!1!0!!th!2 and timestamp 20091023033434 -->ดึงข้อมูลจาก "วันลอยกระทง - วิกิพีเดีย".

    หมวดหมู่: วันสำคัญของไทย | ประเพณีไทย
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ขอบคุณครับ :) กล้องลูกพี่ถ่ายมาให้ดูทีไรหงุดหงิด อยากซื้อตัวใหม่ให้จัง!
    สำหรับกล้องผมตัวนี้เป็นกล้อง Zoom 18x/Wide 28 มม. ของ Panasonic DMC-FZ28 ซึ่งภาพส่วนใหญ่จะเกิดจากการ Zoom ระยะไกล

    เพื่อนๆสมาชิกถ้าสนใจกล้อง Macro ดี สีสด แนะนำ Canon กับ Nikon ส่วน Pana นี่เด่นเรื่องการ Zoom, Batt อึด อย่างอื่นก็ดีพอได้ไม่แพ้ใครครับ:cool:
     
  11. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    ขอบคุณมากๆๆ ครับ (เกือบไปเหมือนกันครับ) เดชะบุญ
    พวกเราชาวหงษ์ขอน้อมรับด้วยความยินดีครับ อิอิ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  13. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    หุหุ ยินดีครับ..ฉบับที่ 48 มาพร้อมปรกพื้นสีแดง พูดถึงพระกริ่งปวเรศพร้อมรูปพระ 13 องค์ หลากพิมพ์ ราว 40 หน้า ใช้เวลารวบรวมพระเพื่อมาออกหนังสือประมาณ 1 ปี อะไรจะออกมาพอเหมาะปานนี้ :) ลองเข้าไปเปิดอ่านดูละกันครับ :cool: (ผมเกรงจะเกลี้ยงแผงก่อนอะดิ)
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    แย้มให้นิดนึงว่า มีพระกริ่งปวเรศ ที่เม็ดกริ่งด้านใน เป็นทองคำด้วยครับ

    แต่มีน้อย ส่วนพลังอิทธิคุณ ก็ไม่หนีรุ่นที่หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ ท่านจาร ยกเว้นองค์ที่ผมส่งรูปให้ดู องค์ที่มีจารด้านหลัง (ช่วงนี้ผมห้อยอยู่) องค์นี้เด่นมากเป็นพิเศษครับ

    ในแต่ละรุ่น จะมีอยู่เพียง 1 - 2 องค์ เป็นสุดยอดของรุ่น เหมือนกับเป็นที่ 1 ของรุ่นครับ




    ที่มา http://www.be2hand.com/scripts/shop....view&id=330008

    กริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ เริ่มสร้างครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๐๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) แห่งราชวงศ์จักรี

    การสร้างครั้งที่ ๑ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๔ สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงสร้างเพื่อทดแทนพระกริ่งปวเรศทองคำที่หายไป เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ ในพระราชพิธีมุรธาภิเษกและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ (ร ๔) และขณะรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๙ พระชันษา เพื่อใช้ในพระราชพิธีเจริญน้ำพระพุทธมนต์ พิธีรับพระสุพรรณบัฎ (พระราชนิพนธ์สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ หน้า ๕๐-๕๑) จำนวนการสร้าง ๓ องค์

    การสร้างครั้งที่ ๒ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ เพื่อถวายรัชกาลที่ ๔ ในพระราชพิธี ที่รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นสามเณร เป็นที่ระลึกถวายรัชกาลที่ ๔ และ รัชกาลที่ ๕ จำนวนการสร้าง ๙ องค์ ในปีนั้นกำลังของปีตกเลข ๙ พอดี (ตำนานวัดบวรนิเวศ หน้า ๑๔๗ )

    การสร้างครั้งที่ ๓ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๑๕ พระชันษา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ขึ้นครองราชย์สมบัติ โดยมีผู้สำเร็จราชการเจ้าพระยาสีสุริย วงศ์ (ช่วง บุญนาค) กริ่งรุ่นนี้ไม่มีเส้นพระศก และไม่มีส่วนผสมของเนื้อพระพุทธชินสีห์แบบครั้งที่ ๑ และ ๒ เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี ๓ ชนิด เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน, เนื้อสัมฤทธิ์โชติ ออกสีขาว หรือขาวจัด, เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีเหลือง (พระราชนิพนธ์พงศาวดาร ร ๕ หน้า ๓๐-๓๔, หน้า ๔๗ , และพระราชพิธีโสกันต์ หน้า ๕๔-๕๕) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้


    การสร้างครั้งที่ ๔ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ และบรมราชาภิเษกครองราชย์เป็นครั้งที่ ๒ กริ่งรุ่นนี้ไม่มีการบรรจุลูกกริ่งไว้ กรมพระยาปวเรศฯ ทรงออกแบบเป็น ๒ แบบ หล่อในคราวเดียวกัน เพื่อทรงถวายในพระราชพิธีทรงผนวช และบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชย์สมบัติ สันนิษฐานว่าเป็นกริ่งในเก๋งจีนอยู่ที่วัดบวรนิเวศ (จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในรัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๑๑ – พ.ศ. ๒๔๑๖ คณะกรรมการเผยแพร่เอกสารประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรีจัดพิมพ์เผยแพร่ พ.ศ. ๒๕๑๖ หน้า ๑๒๑-๑๒๙) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๕ - ในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ เรียกกริ่งปราบฮ่อ ร ๕ กรมพระยาปวเรศไม่ได้เป็นผู้ออกแบบ ช่างสิบหมู่และโหรหลวงเป็นผู้ออกแบบ (สงครามปราบฮ่อสมัย ร๕ มรว แสงโสม เกษมศรี ประวัติศาสตร์ไทย ปี ๒๕๐๓) ลักษณะ “ปราบฮ่อ” อยู่บนฐานชั้น๒ ติดกับพระโสณี (ตะโพก) ด้านหลัง “ร๕” ตัว “ร” หล่อติดระหว่างกลางฐาน ๑ และ ๒ ด้านซ้ายของกลีบบัวหลัง เลข “๕” หล่อติดแนวเดียวกันทางด้านขวาของกลีบบัวหลัง จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๖ - ในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ (บรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฎราชวิทยาลัย หน้า ๕ วรรค ๒) กรมพระยาปวเรศฯ ไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ บรมวงศานุวงศ์ และไวยาวัชกรวัดบวรนิเวศ สมัยนั้น จึงมีหลายแบบพิมพ์ทรง บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่าก็มี โลหะก็ไม่เหมือนกัน บางองค์ก็แบบพิมพ์ใหม่ รวมทั้งที่อยู่ในขันน้ำมนต์ และยอดไม้เท้าของพระองค์ท่าน จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้ (กริ่งรุ่นนี้วัดสุทัศน์ได้จัดสร้างขึ้นในปี ๒๔๔๓ เรียก “พระกริ่งคู่แฝด” จะต่างกันตรงอุดกริ่ง)

    หมายเหตุ ! - พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ นั้น ที่สร้างในยุคสมัยของกรมพระยาปวเรศฯ ตามประวัติมีการจัดสร้าง ๖ ครั้ง ระบุจำนวนให้ทราบ เพียง ๒ ครั้ง รวมแล้วได้ ๑๒ องค์ แต่ก็สร้างเพื่อพิธีสำคัญของพระมหากษัตริย์เท่านั้น มีเพียงครั้งที่ ๖ เท่านั้นที่สร้างฉลองสมณศักดิ์สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ที่อาจสร้างแจกเป็นที่ระลึกให้ข้าราชบริพาน พระสกนิกร ในสมัยนั้นแต่ก็ไม่ระบุจำนวนการสร้าง และก็มีหลายแบบพิมพ์ทรง ผู้เขียนเองก็ไม่สามารถที่จะสรุปได้ว่า ที่เคยทราบมา มีประมาณ ๑๑ องค์ หรือเท่าไรไม่แน่ใจ ที่มีมูลค่าสูง เป็นกริ่งปวเรศ รุ่นไหน และยุคไหน เพียงแต่สรุปได้ว่ามีเกิน ๑๐ องค์แน่นอน

    พุทธลักษณะองค์พุทธปฏิมากร – รูปหล่อลอยองค์ ประทับนั่งสมาธิเพชร (วัชรสานะ) เหนืออาสนะบัลลังค์ บัวคว่ำ บัวหงาย ๒ ชั้น ชั้นละ ๗ กลีบ ฐานด้านหลัง ยื่นเล็กน้อย บัวคว่ำ บัวหงาย ชั้นละ ๑ กลีบ พระเกศแบบตุ้มหรือบัวตูม ฐานพระเมาลี ด้านหน้า ปรากฏรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว พระศกแบบตอก “รอยตุ๊ดตู่” ปราศจากไรพระศก ใต้ฐานไม่ปะก้น หรือรอยเจาะก้นสำหรับบรรจุลูกกริ่งเหมือนทั่วๆ ไป แต่กว้านก้นลึก และกว้าง (กว้าง ๑ ซ.ม. ยาว ๑.๖ ซ.ม.)

    ลักษณะการตอกเมล็ดงา – ในสมัยก่อนเป็นการบ่งบอก ให้ทราบว่ามีช่างที่สร้าง และตกแต่ง พระจำนวนกี่คน เช่น ตอกเมล็ดงา ๑ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมีช่าง ๒ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ๓ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมี ช่าง ๔ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ถ้าไม่มีการตอกเมล็ดงา แลดงว่า มีช่างเพียงคนเดียว ที่เป็นผู้สร้างและตกแต่งตรวจเองทั้งหมด การตอกเมล็ดงาจะตอกตรง เฉียง หรือ อยู่ส่วนใดขององค์พระก็แล้วแต่ช่างผู้นั้นจะตอก

     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948


    เดี๋ยวเย็นนี้ ผมต้องไปหาเจ้าของวัดไ..... ผมจะไปแวะแผงดูก่อน ถ้ามีจะได้รีบโทร.ไปขออนุมัติซื้อเลยครับ

    .
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ่า รอลุ้นครับ

    <TABLE class=tborder id=threadslist cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY id=threadbits_forum_179><TR><TD class=alt1 id=td_threadtitle_22445 title="" style="CURSOR: default">พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้..... (11 คน กำลังดูอยู่) ([​IMG] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ... หน้าสุดท้าย)
    [​IMG] sithiphong
    </TD><TD class=alt2 title="จำนวนตอบ: 34,419, จำนวนอ่าน: 994,962">
    วันนี้ 04:53 PM
    โดย sithiphong [​IMG]
    </TD><TD class=alt1 align=middle>34,419</TD><TD class=alt2 align=middle>994,962</TD></TR></TBODY></TABLE>

    รอลุ้นว่า เมื่อถึง 1,000,000 คลิ๊กแล้ว ตัวเลขจะขึ้นไปเป็นล้าน หรือ กลับมานับหนึ่งใหม่

    คลิ๊ก อีกเพียง 5,038 ครั้ง ก็จะได้ทราบกันแล้ว หุหุหุ
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    เดี๋ยวจะลองขอ ผบทบ. เบิกเงินไปซื้อหนังสือ SPIRIT แต่ถ้าผบทบ.ไม่อนุมัติ จะมายืมอ่านนะครับ

    จริงๆก็อยากได้เพื่อไว้อ่านเป็นความรู้ครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    แย้มให้นิดนึงว่า มีพระกริ่งปวเรศ ที่เม็ดกริ่งด้านใน เป็นทองคำด้วยครับ

    แต่มีน้อย ส่วนพลังอิทธิคุณ ก็ไม่หนีรุ่นที่หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ ท่านจาร ยกเว้นองค์ที่ผมส่งรูปให้ดู องค์ที่มีจารด้านหลัง (ช่วงนี้ผมห้อยอยู่) องค์นี้เด่นมากเป็นพิเศษครับ

    ในแต่ละรุ่น จะมีอยู่เพียง 1 - 2 องค์ เป็นสุดยอดของรุ่น เหมือนกับเป็นที่ 1 ของรุ่นครับ




    ที่มา http://www.be2hand.com/scripts/shop....view&id=330008

    กริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ เริ่มสร้างครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๐๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) แห่งราชวงศ์จักรี

    การสร้างครั้งที่ ๑ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๔ สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงสร้างเพื่อทดแทนพระกริ่งปวเรศทองคำที่หายไป เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ ในพระราชพิธีมุรธาภิเษกและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ (ร ๔) และขณะรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๙ พระชันษา เพื่อใช้ในพระราชพิธีเจริญน้ำพระพุทธมนต์ พิธีรับพระสุพรรณบัฎ (พระราชนิพนธ์สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ หน้า ๕๐-๕๑) จำนวนการสร้าง ๓ องค์

    การสร้างครั้งที่ ๒ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ เพื่อถวายรัชกาลที่ ๔ ในพระราชพิธี ที่รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นสามเณร เป็นที่ระลึกถวายรัชกาลที่ ๔ และ รัชกาลที่ ๕ จำนวนการสร้าง ๙ องค์ ในปีนั้นกำลังของปีตกเลข ๙ พอดี (ตำนานวัดบวรนิเวศ หน้า ๑๔๗ )

    การสร้างครั้งที่ ๓ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๑๕ พระชันษา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ขึ้นครองราชย์สมบัติ โดยมีผู้สำเร็จราชการเจ้าพระยาสีสุริย วงศ์ (ช่วง บุญนาค) กริ่งรุ่นนี้ไม่มีเส้นพระศก และไม่มีส่วนผสมของเนื้อพระพุทธชินสีห์แบบครั้งที่ ๑ และ ๒ เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี ๓ ชนิด เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน, เนื้อสัมฤทธิ์โชติ ออกสีขาว หรือขาวจัด, เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีเหลือง (พระราชนิพนธ์พงศาวดาร ร ๕ หน้า ๓๐-๓๔, หน้า ๔๗ , และพระราชพิธีโสกันต์ หน้า ๕๔-๕๕) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้


    การสร้างครั้งที่ ๔ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ และบรมราชาภิเษกครองราชย์เป็นครั้งที่ ๒ กริ่งรุ่นนี้ไม่มีการบรรจุลูกกริ่งไว้ กรมพระยาปวเรศฯ ทรงออกแบบเป็น ๒ แบบ หล่อในคราวเดียวกัน เพื่อทรงถวายในพระราชพิธีทรงผนวช และบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชย์สมบัติ สันนิษฐานว่าเป็นกริ่งในเก๋งจีนอยู่ที่วัดบวรนิเวศ (จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในรัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๑๑ – พ.ศ. ๒๔๑๖ คณะกรรมการเผยแพร่เอกสารประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรีจัดพิมพ์เผยแพร่ พ.ศ. ๒๕๑๖ หน้า ๑๒๑-๑๒๙) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๕ - ในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ เรียกกริ่งปราบฮ่อ ร ๕ กรมพระยาปวเรศไม่ได้เป็นผู้ออกแบบ ช่างสิบหมู่และโหรหลวงเป็นผู้ออกแบบ (สงครามปราบฮ่อสมัย ร๕ มรว แสงโสม เกษมศรี ประวัติศาสตร์ไทย ปี ๒๕๐๓) ลักษณะ “ปราบฮ่อ” อยู่บนฐานชั้น๒ ติดกับพระโสณี (ตะโพก) ด้านหลัง “ร๕” ตัว “ร” หล่อติดระหว่างกลางฐาน ๑ และ ๒ ด้านซ้ายของกลีบบัวหลัง เลข “๕” หล่อติดแนวเดียวกันทางด้านขวาของกลีบบัวหลัง จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๖ - ในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ (บรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฎราชวิทยาลัย หน้า ๕ วรรค ๒) กรมพระยาปวเรศฯ ไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ บรมวงศานุวงศ์ และไวยาวัชกรวัดบวรนิเวศ สมัยนั้น จึงมีหลายแบบพิมพ์ทรง บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่าก็มี โลหะก็ไม่เหมือนกัน บางองค์ก็แบบพิมพ์ใหม่ รวมทั้งที่อยู่ในขันน้ำมนต์ และยอดไม้เท้าของพระองค์ท่าน จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้ (กริ่งรุ่นนี้วัดสุทัศน์ได้จัดสร้างขึ้นในปี ๒๔๔๓ เรียก “พระกริ่งคู่แฝด” จะต่างกันตรงอุดกริ่ง)

    หมายเหตุ ! - พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ นั้น ที่สร้างในยุคสมัยของกรมพระยาปวเรศฯ ตามประวัติมีการจัดสร้าง ๖ ครั้ง ระบุจำนวนให้ทราบ เพียง ๒ ครั้ง รวมแล้วได้ ๑๒ องค์ แต่ก็สร้างเพื่อพิธีสำคัญของพระมหากษัตริย์เท่านั้น มีเพียงครั้งที่ ๖ เท่านั้นที่สร้างฉลองสมณศักดิ์สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ที่อาจสร้างแจกเป็นที่ระลึกให้ข้าราชบริพาน พระสกนิกร ในสมัยนั้นแต่ก็ไม่ระบุจำนวนการสร้าง และก็มีหลายแบบพิมพ์ทรง ผู้เขียนเองก็ไม่สามารถที่จะสรุปได้ว่า ที่เคยทราบมา มีประมาณ ๑๑ องค์ หรือเท่าไรไม่แน่ใจ ที่มีมูลค่าสูง เป็นกริ่งปวเรศ รุ่นไหน และยุคไหน เพียงแต่สรุปได้ว่ามีเกิน ๑๐ องค์แน่นอน

    พุทธลักษณะองค์พุทธปฏิมากร – รูปหล่อลอยองค์ ประทับนั่งสมาธิเพชร (วัชรสานะ) เหนืออาสนะบัลลังค์ บัวคว่ำ บัวหงาย ๒ ชั้น ชั้นละ ๗ กลีบ ฐานด้านหลัง ยื่นเล็กน้อย บัวคว่ำ บัวหงาย ชั้นละ ๑ กลีบ พระเกศแบบตุ้มหรือบัวตูม ฐานพระเมาลี ด้านหน้า ปรากฏรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว พระศกแบบตอก “รอยตุ๊ดตู่” ปราศจากไรพระศก ใต้ฐานไม่ปะก้น หรือรอยเจาะก้นสำหรับบรรจุลูกกริ่งเหมือนทั่วๆ ไป แต่กว้านก้นลึก และกว้าง (กว้าง ๑ ซ.ม. ยาว ๑.๖ ซ.ม.)

    ลักษณะการตอกเมล็ดงา – ในสมัยก่อนเป็นการบ่งบอก ให้ทราบว่ามีช่างที่สร้าง และตกแต่ง พระจำนวนกี่คน เช่น ตอกเมล็ดงา ๑ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมีช่าง ๒ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ๓ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมี ช่าง ๔ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ถ้าไม่มีการตอกเมล็ดงา แลดงว่า มีช่างเพียงคนเดียว ที่เป็นผู้สร้างและตกแต่งตรวจเองทั้งหมด การตอกเมล็ดงาจะตอกตรง เฉียง หรือ อยู่ส่วนใดขององค์พระก็แล้วแต่ช่างผู้นั้นจะตอก


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ psombat
    [​IMG]
    หุหุ ยินดีครับ..ฉบับที่ 48 มาพร้อมปรกพื้นสีแดง พูดถึงพระกริ่งปวเรศพร้อมรูปพระ 13 องค์ หลากพิมพ์ ราว 40 หน้า ใช้เวลารวบรวมพระเพื่อมาออกหนังสือประมาณ 1 ปี อะไรจะออกมาพอเหมาะปานนี้ :) ลองเข้าไปเปิดอ่านดูละกันครับ :cool: (ผมเกรงจะเกลี้ยงแผงก่อนอะดิ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมไปหาเจ้าของวัดไ....... เรียบร้อยแล้ว ตอนที่ผมขับรถกลับบ้าน เจ้าของวัดไ..... โทร.หาผม บอกว่า ได้ซื้อหนังสือSPIRIT มาให้ผมเรียบร้อยแล้ว ไว้วันที่เจอกัน ค่อยไปเอาหนังสือครับ

    .
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เสี้ยวหลี่ฉางเตา : รอยยิ้มซ่อนมีด
    China - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>27 ตุลาคม 2552 22:14 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> 笑里藏刀

    笑(xiào) อ่านว่า เสี้ยว แปลว่า รอบยิ้ม
    里(lǐ) อ่านว่า หลี่ แปลว่า ใน
    藏(cáng) อ่านว่า ฉาง แปลว่า ซ่อน หรือสะสม
    刀(dāo) อ่านว่า เตา แปลว่า มีด


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=304 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=304>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ในสมัยที่ฮ่องเต้ถังไท่จงแห่งราชวงศ์ถังรวบรวมแผ่นดิน ขึ้นครองราชย์ มีขุนนางผู้หนึ่ง นามว่า หลี่ อี้ฝุ ซึ่งมีความถนัดจัดเจนในการยกยอปอปั้นประจบประแจงเจ้านาย เขาเป็นที่โปรดปรานของราชโอรสหลี่จื้อเป็นอย่างยิ่ง

    เมื่อหลี่จื้อขึ้นครองราชย์นามว่าฮ่องเต้ถังเกาจง ได้มีพระราชดำริว่าจะให้สนมเจ้า หรือบูเช็คเทียนซึ่งเคยเป็นนางสนมขององค์ฮ่องเต้ถังไท่จง และได้ออกบวชไปเมื่อครั้งถังไท่จงสวรรคตนั้น กลับมารับตำแหน่งเป็นพระมเหสีของตน ซึ่งครั้งนี้มีขุนนางเก่าแก่หลายรายออกโรงคัดค้านเนื่องจากความไม่เหมาะสม แต่ทว่าหลี่ อี้ฝุกลับสนับสนุนฮ่องเต้ถังเกาจงเต็มที่ ตั้งแต่นั้นมา เขาจึงเป็นคนโปรด และได้รับความไว้วางพระทัยจากองค์ฮ่องเต้ยิ่งนัก

    การได้เป็นคนใกล้ชิดเบื้องบน ทำให้หลี่ อี้ฝุมีอำนาจล้นพ้นมือ ผู้ใดที่กล้าเป็นปรปักษ์กับเขาต่างก็ถูกกำจัดไปให้พ้นทาง ซึ่งขุนนางทั้งหลายต่างก็รู้พิษสงของเขาดี และเนื่องจากหลี่ อี้ฝุ เป็นบุคคลที่ไม่ว่าจะร้ายกาจเพียงใด แต่บนใบหน้าของเขามักจะประดับเอาไว้ด้วยรอยยิ้มหวานละไมเสมอ ทำให้บรรดาขุนนางต่างตั้งฉายาให้เขาว่า "รอยยิ้มซ่อนมีด"

    กิตติศัพท์ความร้ายกาจของหลี่ อี้ฝุเป็นที่เลื่องลือ ผู้คนมากมายที่ต้องการรับราชการ ต้องการเข้าวังต่างก็เดินทางมาเพื่อพึ่งใบบุญเขา โดยที่รู้ดีว่าต้องมีสิ่งของเงินทองแลกเปลี่ยน

    ครั้งหนึ่งการเรียกค่านายหน้าจากผู้คนเพื่อฝากให้เข้ารับราชการของหลี่ อี้ฝุรู้ถึงพระเนตรพระกรรณของฮ่องเต้ เขาจึงถูกปลดออกจากตำแหน่งและถูกเนรเทศกลับบ้านนอก

    คริสตศักราชที่ 666 หลี อี้ฝุเสียชีวิตลง จากนั้นอีกราว 100 ปี นักกวีนามไป๋ จีว์อี้ ประพันธ์บทกวีเอาไว้ โดยท่อนหนึ่งความว่า
    "หลี่ อี้ฝุตลอดชีพคงแย้มยิ้ม ในรอยยิ้มมีคมมีดไว้ฆ่าคน"

    ภายหลังคนทั่วไปจึงนำสำนวน "เสี้ยวหลี่ฉางเตา" หรือ "รอยยิ้มซ่อนมีด" มาใช้เปรียบเทียบกับคนที่ภายนอกดูอ่อนหวาน ใจดี แต่ในใจแฝงไว้ด้วยความโหดเ******้ยม ร้ายกาจ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"กระเพาะปลา" มาจากไหน?
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>27 ตุลาคม 2552 14:47 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เวลาที่เกิดหิวขึ้นมาตอนดึกๆ แต่ไม่อยากกินอะไรให้หนักท้องมากนัก "108 เคล็ดกิน" มักนึกถึงกระเพาะปลาร้อนๆ สักถ้วยกินให้อุ่นๆท้อง กินไปก็สงสัยไปว่าทำไมจึงเรียกว่า "กระเพาะปลา" ทั้งที่จริงๆแล้วมันคือถุงลมที่ช่วยในการดำน้ำของปลาต่างหาก ซึ่งกระเพาะปลาที่เรานำมากินกันนั้นก็มาจากปลาหลายชนิด ทั้งปลากุเลา ปลากะพง ปลาอินทรี ปลาไหลทะเล ฯลฯ ซึ่งราคาก็จะถูกแพงต่างกันไป ยิ่งเป็นปลาทะเลน้ำลึกก็จะยิ่งแพงมากขึ้น

    ชาวจีนรู้จักกินกระเพาะปลามานานกว่า 1,600 ปีแล้ว และยังใช้กระเพาะปลาเป็นเครื่องบรรณาการที่หัวเมืองแถบชายฝั่งทะเลจะต้องจัดถวายแด่พระเจ้าแผ่นดินจีนมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรถัง นอกจากนั้นตำรายาจีนยังถือว่ากระเพาะปลาเป็นยาชูกำลัง มีสรรพคุณในการเสริมหยิน บำรุงเซลล์และเนื้อเยื่อ ทำให้เนื้อเยื่อแข็งแรงและกระชับ เสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย ให้พลังงาน แก้อาการตกเลือด เป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น เลือดลมไหลเวียนดี ทำให้มีพละกำลัง

    เมนูกระเพาะปลาที่นิยมกันในบ้านเราก็เช่นกระเพาะปลาน้ำแดง กระเพาะปลาผัดแห้ง ยำกระเพาะปลา ซึ่งก็ล้วนแล้วแต่ถูกปากนักกิน แต่บางครั้งก็ต้องเซ็งเมื่อบางร้านใช้หนังหมูมาหลอกว่าเป็นกระเพาะปลาเสียนี่
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...