พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    '''

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 71 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 68 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>พรสว่าง_2008, psombat, มูริญโญ่ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    หวัด D ครับพี่สมบัติ และเฮียมู ว่าแต่ว่า ตะกรุดที่ทำ Logo ให้ผม ของ ลป.บุญ หรือ ลป.ศุข ครับ เดาไม่ออกจริงๆ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    ผมจะใช้คำว่า "เดา" นะครับ เพราะผมดูพระไม่เป็นจริงๆครับ
     
  3. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    จริงเหรอครับ
    แถวยุดยา ฝนตกซะหนักเลย
    จริงๆ น่าจะไปตกแถวบ้านเรามากกว่านะครับ
     
  4. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    โมทนาสาธุ ด้วยครับ
     
  5. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    เรียนตามตรงว่าไม่ค่อยรู้เลยสำหรับเครื่องราง คิดว่าน่าจะเป็นหนึ่งในเครื่องรางของวังหน้า โดยลป.ภู แต่รอให้ท่านเลขาฯหรือท่านอื่นมาช่วยครับ :)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2009
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    [​IMG]

    เป็นตะกรุด หลวงปู่อิเกสาโร อธิษฐานจิตครับ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หลวงปู่ภู ท่านทำเบี้ยแก้ครับ

    โดดเด่นมาก

    เบี้ยแก้ของวังหน้า ส่วนใหญ่ร้อยละ 99 จะเป็นเบี้ยแก้ที่หลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร ท่านอธิษฐานจิตครับ

    แต่ก็มีบางรุ่นที่หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า หรือ หลวงปู่อิเกสาโร หรือ หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า ท่านอธิษฐานจิตในวัตถุมงคลที่ประกอบกับเบี้ยแก้ครับ
    .
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    เหมือนที่เอาไปให้ชม วันที่ประชุมกันที่บ้านอาจารย์ ปู่ หรือเปล่าครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ทูตอังกฤษโต้อดีตทูต เหตุสับไทยไร้วัฒนธรรม

    ������͹⸹� �����Ŵ� �Ԩ�ó���� ����Ѳ�����



    [​IMG]


    สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม

    กลายเป็นประเด็นที่ทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างมาก หลังสำนักข่าวบีบีซีแห่งประเทศอังกฤษ ออกมาเปิดเผยเอกสารพิเศษ "รายงานสรุปอำลาตำแหน่ง" ของเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศต่าง ๆ ระหว่างที่ไปดำรงตำแหน่งในช่วง พ.ศ. 2508-2549 โดยรายงานฯ บางฉบับเต็มไปด้วยอคติและมุมมองด้านลบต่อประเทศนั้น ๆ ซึ่งในบรรดาประเทศที่ถูกโจมตีก็มีชื่อของ "ประเทศไทย" อยู่ด้วย

    โดยข้อความในรายงานสรุปอำลาตำแหน่งของ "เซอร์แอนโธนี รัมโบลด์" อดีตเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย เมื่อช่วง พ.ศ.2508-2510 ได้แสดงความคิดเห็นส่วนตัววิพากษ์วิจารณ์สังคมไทย โดยมีใจความว่า

    "ผู้ที่กล่าวว่าคนไทยไม่มีอะไรให้นำเสนอ คงเป็นคนที่ขาดความละเอียดอ่อน หรือไม่ก็คงเป็นคนเคร่งเครียดจริงจัง แต่มันเป็นเรื่องจริงที่คนไทยไม่มีวรรณกรรม ไม่มีภาพวาด ที่จะมีก็คือดนตรีท่วงทำนองแปลก ๆ ประติมากรรม เครื่องปั้นดินเผา และนาฏศิลป์ ที่หยิบยืมมาจากที่อื่น ส่วนสถาปัตยกรรมก็มีรูปแบบเดียว และการตกแต่งภายในก็น่าเกลียด แต่คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า การพนันและการตีกอล์ฟ ถือเป็นความสุขอย่างยิ่งสำหรับคนรวย และกิเลสตัณหา ถือเป็นความสุขอันดับต้น ๆ ของพวกเขาทั้งหมด"

    อย่างไรก็ตาม หลังจากมีการเผยแพร่รายงานฉบับนี้ นายควินตัน เควลย์ เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย ประจำปี 2552 ได้ออกมาแสดงความไม่เห็นด้วยต่อทรรศนะส่วนตัวของ "เซอร์แอนโธนี รัมโบลด์" อดีตเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย โดยระบุว่า

    "ผมเคยมาทำงานที่สถานทูตอังกฤษเมื่อ 30 ปีที่แล้ว และตลอดเวลาที่ผ่านมา ยังคงหวังที่จะกลับมาเป็นทูตที่ประเทศไทย เพราะรู้สึกประทับใจในประวัติศาสตร์อันยาวนาน และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีคุณค่ามาก ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของศิลปกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และการฟ้อนรำ อีกอย่างหนึ่งที่สำคัญมาก ทูตทุกคนที่ประจำในประเทศไทยต่างรู้สึกดีใจเมื่อเห็นความสวยงามของประเทศไทย เสน่ห์และอัธยาศัยไมตรีอันดีงามของคนไทยทุกคน" นายควินตัน กล่าว

    ด้าน นายธีระ สลักเพชร รมว.วัฒนธรรม กล่าวหลังทราบเรื่องนี้แล้วว่า เท่าที่ได้ติดตามเรื่องนี้ คิดว่าการที่เซอร์แอนโธนี รัมโบลด์ อดีตเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย กล่าวหาประเทศไทยเช่นนั้น อาจเป็นเพราะว่า ขณะที่เซอร์แอนโธนี มาดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยนั้น มีระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 2 ปี ทำให้ยังเข้าไม่ถึงคนไทย ความเป็นไทย วิถีชีวิตของประเทศไทย จึงได้แสดงข้อความดังกล่าวออกมา ซึ่งตนรู้สึกผิดหวัง เพราะคิดว่าสมัยช่วงปี 2508-2510 นั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีเอกลักษณ์ความดีงามที่บริสุทธิ์ ดั้งเดิม มีศิลปะและประวัติศาสตร์ความเป็นไทยที่งดงาม ไม่น่าจะนำมากล่าวหาเช่นนี้ได้

    รมว.วัฒนธรรม กล่าวต่อว่า ส่วนตัวเชื่อมั่นว่า ขณะนี้ประเทศไทยก็ยังเป็นประเทศที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่มุ่งเข้ามาศึกษาศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย เห็นได้จากโพลจากสำนักต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศทั่วโลก ก็ยังเทคะแนนให้ความสนใจที่จะมาเที่ยวประเทศไทย อย่างไรก็ตาม อยากฝากว่า ประเทศไทยยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ ประติมากรรม เครื่องปั้นดินเผา ที่ธำรงไว้ซึ่งความดีงามในอดีตจนถึงปัจจุบัน และยังไม่มีความเสื่อมสลายหายไปจากประเทศไทย โดยเฉพาะเรื่องดนตรี นาฏศิลป์ ผลงานวรรณกรรม เครื่องปั้นดินเผา ผลงานประติมากรรมทุกชนิดของไทย มีชื่อเสียงก้องโลกมาหลายร้อยปีแล้ว และไม่มีใครจะสามารถมาประเมินค่าสิ่งที่มีค่าเหล่านั้นให้น้อยลงได้

    ด้านนางวิมล คิดชอบ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า รัฐบาลไทยไม่ขอตอบโต้ใด ๆ ต่อการแสดงความเห็นดังกล่าวของเซอร์แอนโธนี รัมโบลด์ อดีตเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทยช่วงปี 2508-2510 เพราะเป็นเพียงการแสดงความคิดเห็นที่มาจากพื้นฐานความคิดส่วนตัวที่เป็นอคติ ไม่ใช่ความคิดเห็นอย่างเป็นทางการ

    ขณะที่นายศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี กล่าวว่า ไม่แปลกใจที่รายงานดังกล่าวจะออกมาในลักษณะนี้ เพราะเขามองโดยใช้อคติและยังติดนิสัยที่คิดว่าวัฒนธรรมตะวันตกดีกว่าวัฒนธรรมชาติอื่น ที่สำคัญมองวัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนไทยแค่ผิวเผิน และตัดสินว่าคนไทยไร้รากเหง้าทางวัฒนธรรม โดยที่ไม่ได้ศึกษาวัฒนธรรมไทยอย่างลึกซึ้ง

    "ที่บอกว่าคนไทยไร้วัฒนธรรม วรรณกรรม ภาพเขียน และการร่ายรำ นั้นไม่ใช่แน่นอน เพราะไทยมีวัฒนธรรมของเป็นของตัวเองมานับพัน ๆ ปีและมีหลักฐานต่าง ๆ ยืนยันชัดเจน ที่สำคัญเป็นไปไม่ได้ที่ชาติใดที่จะไม่มีวัฒนธรรมเป็นของตัวเอง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะโทษชาวต่างชาติอย่างเดียวคงไม่ได้ ก็ต้องยอมรับด้วยว่า ขณะนี้สังคมและวัฒนธรรมของไทยเปลี่ยนแปลงไปมาก เพราะทุกคนหันไปชื่นชมและลุ่มหลงวัฒนธรรมตะวันตกจนถูกครอบงำ นักวิชาการรุ่นใหม่ที่เรียนจบจากตะวันตก ส่วนมากใช้วิธีการคิดตามตะวันตก จึงไม่ลึกซึ้งในรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยอย่างแท้จริง ขณะที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ไม่สานต่อ และหวงแหนวัฒนธรรมของตัวเอง ส่งผลให้ต่างชาติมองวัฒนธรรมไทยในภาพที่ผิดเพี้ยนไป"

    "นอกจากนี้อีกสาเหตุหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาล ขณะนี้มัวแต่เสพติดการเมืองและเศรษฐกิจ จนลืมให้ความสำคัญด้านสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น การที่ชาวต่างชาติมองประเทศไทยเช่นนั้น จึงเป็นการสะท้อนและสะกิดเตือนให้รัฐบาล จะต้องตระหนักในการปลูกฝังวัฒนธรรมไทยมากกว่านี้ โดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) จะต้องทำหน้าที่ในการปลูกฝังวัฒนธรรมที่ดีงาม และถูกต้องให้กับเยาวชนและคนไทยแบบเข้มข้น และต้องไม่ใช้วิธีการคิดแบบตะวันตกเหมือนที่ผ่าน ๆ มาด้วย" นายศรีศักร กล่าว

    ทั้งนี้ สำหรับการเขียนรายงานสรุปอำลาตำแหน่งของเอกอัครราชทูตนี้ ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ ซึ่งดำเนินมายาวนานเกือบ 50 ปี แต่ถูกยกเลิกไปเมื่อปี พ.ศ.2549 สาเหตุมาจากข้อเขียนในรายงานสรุปฯ ของเซอร์ไอวอร์ โรเบิร์ต อดีตเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำอิตาลี ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์วัฒนธรรมการทำงานของกระทรวงต่างประเทศอังกฤษในปัจจุบันว่า กำลังหลงลืมว่างานของนักการทูตที่แท้จริงคืออะไร หลุดออกสู่สาธารณชนผ่านทางอินเทอร์เน็ต สื่อมวลชนจึงพากันเสนอข่าวโจมตีอดีตเจ้าหน้าที่ระดับสูงทางการทูตที่เกี่ยวข้องกับการแสดงทัศนคติด้านลบทั้งหมด


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    [​IMG] [​IMG][​IMG]
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ถึงพี่เขย (น้องหนึ่ง)


    เรื่อง Sterling silver


    ทบทวนที่เคยโพสกันครับ
    เริ่มจากคุณnongnooo #33754 18-09-2009, 05:45 PM

    อ่า...เปิดประเด็นให้ท่านเลขาหน่อยครับจากวิกิพีเดียครับ เงินสเตอร์ริงครับคร่าวๆ เค้ามักเรียกกันว่าเงิน925 เป็นโลหะผสมระหว่าเงิน 92.5% กับ ทองแดง 7.5% ครับ ค้นพบมาตั้งแต่ ประมาณ ศตวรรษที่13แล้วครับ
    Sterling silver

    From Wikipedia, the free encyclopedia


    Jump to: navigation, search
    <TABLE class="metadata plainlinks ambox ambox-style"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]
    </TD><TD class=mbox-text>This article includes a list of references, related reading or external links, but its sources remain unclear because it lacks inline citations. Please improve this article by introducing more precise citations where appropriate. <SMALL>(June 2009)</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>Sterling silver is an alloy of silver containing 92.5% by weight of silver and 7.5% by weight of other metals, usually copper. The sterling silver standard has a minimum millesimal fineness of 925.
    [​IMG] [​IMG]
    Pair of sterling silver forks


    Fine silver (99.9% pure) is generally too soft for producing large functional objects; therefore, the silver is usually alloyed with copper to give it strength, while at the same time preserving the ductility and beauty of the precious metal. Other metals can replace the copper, usually with the intent to improve various properties of the basic sterling alloy such as reducing casting porosity, eliminating firescale, and increasing resistance to tarnish. These replacement metals include germanium, zinc and platinum, as well as a variety of other additives, including silicon and boron. A number of alloys, such as Argentium sterling silver have appeared in recent years, formulated to lessen firescale or to inhibit tarnish, and this has sparked heavy competition among the various manufacturers, who are rushing to make claims of having the best formulation. However, no one alloy has emerged to replace copper as the industry standard, and alloy development is a very active area.
    <TABLE class=toc id=toc summary=Contents><TBODY><TR><TD>Contents

    [hide]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "show"; var tocHideText = "hide"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [edit] Origin of the alloy metal

    Although the origin of the word "sterling" is controversial, there is general agreement that the sterling alloy originated in continental Europe, and was being used for commerce as early as the 12th century in the area that is now northern Germany.

    [edit] Origin of the word "sterling", used to refer to the silver alloy

    The word "sterling", used in reference to the 925 grade of silver, emerged in England by the 13th century. The terms "sterling" and "pound sterling" acquired their meaning in more than a century, and from convergent sources. There are three possible origins for the word "sterling"; two originate from 12th and 13th century coinage, and one is generally discounted. The word could have derived from the Old English word "stiere", meaning "strong, firm, immovable".

    [edit] Starling theory, discounted

    Although marks of birds have been used in some coins of Edward the Confessor, sterling is not likely to have been derived from starling, as the word for starling at the time was spelled stær.
    Challenge to discount: the 'ling' suffix was often used in old english as a mark of quality in connection with / following on from the prefix. This would imply that, dropping the 'a' of 'æ' in 'stær' (method sometimes used to distinguish between meanings or articles of words, or to create words for new things that have a relation to existing things) and adding the suffix 'ling' would create 'sterling' (poss. orig. 'stærling' - conjecture) meaning 'a thing of quality relating to the stær'.

    [edit] Mint mark theory

    The 1955 edition of the Oxford English Dictionary states that the early Middle English name sterling was presumably descriptive of small stars that were visible on early Norman pennies. (Old English: steorling.)

    [edit] "Easterling" theory

    An alternative explanation put forth by Walter de Pinchebek circa 1300 is that sterling silver may have been known first as "Easterling Silver". The term "Easterling Silver" is believed to have been used to refer to the grade of silver that had originally been used as the local currency in an area of Germany, known as "The Easterling".
    This "Easterling" area consisted of five towns in northern Germany that banded together in the 12th century under the name Hanseatic League. The Hanseatic League proceeded to engage in considerable commerce with England. In payment for English cattle and grain, the League used their local currency. This currency was in the form of 92.5% silver coins. England soon learned that these coins, which they referred to as "the coins of the Easterlings", were of a reliably high quality and hardness.
    King Henry II set about to adopt the alloy as the standard for English currency. He recruited metal refiners from The Easterling and put them to work making silver coins for England. The silver these refiners produced came into usage as currency by 1158 in the form of what are now known as "Tealby Pennies", and was eventually adopted as a standard alloy throughout England. The original name "Easterling Silver" later became known as simply "sterling silver".
    The original English silver penny was 22½ troy grains of fine silver (as pure as can readily be made). 22½ troy grains is equivalent to 30 so-called tower grains or one tower pennyweight. When Henry II reformed the coinage, he based the new coinage on the then international standard of the troy pound rather than the pre-conquest English standard of the tower pound. A troy pennyweight is 24 troy grains. To maintain the same amount of silver (and thus the same value) in a coin that weighed more required less silver. It required that the alloy be only 92½% pure.
    Though coin weights and silver purity varied considerably (reaching a low point before the reign of Elizabeth I, who reinstated sterling silver coinage for the first time since the early 14th century), the pound sterling was used as currency in England from the 12th century until the middle of the 20th century. Specifically this was in the silver coins of the British Empire: Britain, British colonies, and some former British colonies. This sterling coin silver is not to be confused with American "coin silver".
    Sterling silver, no longer used in circulating currency, is still used for flatware, jewellery and plate, and is a grade of silver respected for both relatively high purity and sufficient hardness to form durable objects in daily use.

    [edit] A century of dining regalia: the silver craze of 1840 to 1940

    [​IMG] [​IMG]
    19th-century Tiffany & Co. Pitcher. Circa 1871. Pitcher has paneled sides, and repousse design with shells, scrolls and flowers. Top edge is repousse arrowhead leaf design.


    From about 1840 to somewhere around 1940 in the United States and Europe, sterling silver flatware became de rigueur when setting a proper table. In fact, there was a marked increase in the number of silver companies that emerged during that period.
    The height of the silver craze was during the 50-year period from 1870 to 1920. Flatware lines during this period sometimes included up to 100 different types of pieces. In conjunction with this, the dinner went from three courses to sometimes ten or more. There was a soup course, a salad course, a fruit course, a cheese course, an antipasto course, a fish course, the main course and a pastry or dessert course.
    Individual eating implements often included forks (dinner fork, place fork, salad fork, pastry fork, shrimp or cocktail fork), spoons (teaspoon, coffee spoon, demitasse spoon, bouillon spoon, gumbo soup spoon, iced tea spoon) and knives (dinner knife, place knife, butter spreader, fruit knife, cheese knife). This was especially true during the Victorian time period, when etiquette dictated that nothing should be touched with one's fingers.
    Serving pieces were often elaborately decorated and pierced and embellished with ivory, and could include any or all of the following: carving knife and fork, salad knife and fork, cold meat fork, punch ladle, soup ladle, gravy ladle, casserole serving spoon, berry spoon, lasagna server, macaroni server, asparagus server, cucumber server, tomato server, olive spoon, cheese scoop, fish knife and fork, pastry server, petit four server, cake knife, bon bon spoon, tiny salt spoon, sugar sifter or caster and crumb remover with brush.
    Flatware sets were often accompanied by tea services, hot water pots, chocolate pots, trays and salvers, goblets, demitasse cups and saucers, liqueur cups, bouillon cups, egg cups, sterling plates, napkin rings, water and wine pitchers and coasters, candelabra and even elaborate centerpieces.
    In fact, the craze with sterling even extended to business (sterling page clips, mechanical pencils, letter openers, calling card boxes, cigarette cases), to the boudoir (sterling dresser trays, mirrors, hair and suit brushes, pill bottles, manicure sets, shoehorns, perfume bottles, powder bottles, hair clips) and even to children (cups, flatware, rattles, christening sets).
    A number of factors converged to make sterling fall out of favor around the time of World War II. The cost of labor rose (sterling pieces were all still mostly hand-made, with only the basics being done by machine). Only the wealthy could afford the large number of servants required for fancy dining with ten courses. And changes in aesthetics resulted in people desiring simpler dinnerware that was easier to clean.

    [edit] Hallmarks

    Over the years, most countries in the world have developed their own systems of hallmarking silver. The purpose of hallmark application is manifold:
    • To indicate the purity of the silver alloy used in the manufacture or hand-crafting of the piece.
    • To identify the silversmith or company that made the piece.
    • To note the date and/or location of the manufacture.
    [edit] Miscellaneous

    In addition to the uses of sterling silver mentioned above, there are some little known uses of sterling:
    • Medical instruments: Evidence of silver and/or silver-alloy surgical and medical instruments has been found in civilisations as early as Ur, Hellenistic-era Egypt and Rome, and their use continued until largely replaced in Western countries in the mid to late 20th century by cheaper, disposable plastic items. Its natural malleability is an obvious physical advantage, but it also exhibits medically-specific utility, including the fact that it is naturally aseptic, and, in respect of modern medical practices, it is resistant to antiseptics, heat sterilisation and body fluids.
    • Musical instruments: Due to sterling silver having a special sound character, some brasswind instrument manufacturers use 92.5% sterling silver as the material for making their instruments, including the flute and saxophones. For example, some leading saxophone manufactuers such as Selmer and Yanagisawa have crafted some of their saxophones from sterling silver, which they believe will make the instruments more resonant and colorful in timbre.
    [edit] Tarnish and corrosion

    As the purity of the silver decreases, the problem of corrosion or tarnishing increases.
    Chemically, silver is not very reactive — it does not react with oxygen or water at ordinary temperatures, so does not easily form a silver oxide. However, other metals in the alloy, usually copper, may react with oxygen in the air.
    The black silver sulfide (Ag<SUB>2</SUB>S) is among the most insoluble salts in aqueous solution, a property that is exploited for separating silver ions from other positive ions.
    Sodium chloride (NaCl) or common table salt is known to corrode silver-copper alloy, typically seen in silver salt shakers where corrosion appears around the holes in the top.
    <TABLE class="metadata plainlinks mbox-small" style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #f9f9f9"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]</TD><TD class=mbox-text>The Wikibook Do-It-Yourself has a page on the topic of Polishing silver
    </TD></TR></TBODY></TABLE>Several products have been developed for the purpose of polishing silver that serve to remove sulfur from the metal without damaging or warping it. Because harsh polishing and buffing can permanently damage and devalue a piece of antique silver, valuable items are typically hand-polished to preserve the unique patinas of older pieces. Techniques such as wheel polishing, which are typically performed by professional jewelers or silver repair companies, are reserved for extreme tarnish or corrosion. See also Tarnish, Removal.

    [edit] References

    • All About Antique Silver with International Hallmarks, 2nd printing (2007), by Diana Sanders Cinamon, AAA Publishing, San Bernardino, CA.
    • Origins: A Short Etymological Dictionary of Modern English, by lexicographer Eric Partridge.
    • The Oxford English Dictionary, by John Simpson and Edmund Weiner.
    • Silver in America, 1840–1940: A Century of Splendor, third edition (1997), by Charles L. Venable; Harry N. Abrams, Inc., New York, NY.
    • Tiffany Silver Flatware, 1845–1905: When Dining Was an Art, by William P. Hood, Jr.; 1999; published by the Antique Collectors Club Ltd., Suffolk, England.
    • The Encyclopedia of American Silver Manufacturers, revised fourth edition (1998), by Dorothy T. Rainwater and Judy Redfield; Schiffer Publishing Ltd., Atglen, PA.
    • The Book of Old Silver, English – American – Foreign, With All Available Hallmarks Including Sheffield Plate Marks, by Seymour B. Wyler; 1937; Crown Publishers, Inc., New York, NY.
    • International Hallmarks on Silver Collected by Tardy, 5th English Language reprint (2000); original publication date unknown, date of first softcover publication 1985; author unknown; publisher unknown.
    [edit] External links

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: gold" colSpan=2>[hide]
    v d e
    Jewellery</TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Forms</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Anklet · Belt buckle · Bracelet · Brooch · Chatelaine · Crown · Cufflink · Earring · Necklace · Ring · Tiara · Tie bar · Watch (pocket)
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Making</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">People
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Bench jeweler · Goldsmith · Jewelry designer · Lapidary · Watchmaker
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Processes
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Casting (centrifugal, lost-wax, vacuum) · Enameling · Engraving · Filigree · Metal clay · Plating · Polishing · Repoussé and chasing · Soldering · Stonesetting · Wire wrapping
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Tools
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Draw plate · File · Hammer · Mandrel · Pliers
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Materials</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metals
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Gold · Palladium · Platinum · Rhodium · Silver
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metal alloys
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Colored gold · Crown gold · Electrum · Platinum sterling · Sterling silver · Britannia silver · Tumbaga
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Base metals/alloys
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Brass · Bronze · Copper · Pewter · Stainless steel · Titanium
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Mineral Gemstones
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Aventurine · Agate · Alexandrite · Amethyst · Aquamarine · Carnelian · Citrine · Diamond · Emerald · Garnet · Jade · Jasper · Malachite · Lapis lazuli · Moonstone · Onyx · Opal · Peridot · Quartz · Ruby · Sapphire · Sodalite · Sunstone · Tanzanite · Tiger's Eye · Topaz · Tourmaline
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Organic Gemstones
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Amber · Copal · Coral · Jet · Pearl · Abalone
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Terms</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Carat (mass) · Carat (purity) · Finding · Millesimal fineness
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    [​IMG]

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ข้อมูลวันประสูติ14 กันยายน พ.ศ. 2352วันสิ้นพระชนม์28 กันยายน พ.ศ. 2435พระอิสริยยศสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระบิดาสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์พระมารดาเจ้าจอมมารดาน้อยราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษก เมื่อ ปี พ.ศ. 2434 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา เป็นพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ 10 เดือน ก็สิ้นพระชนมเมื่อปี พ.ศ. 2435 พระชมมายุได้ 83 พรรษา

    พระประวัติ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 18 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ และทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระองค์ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สำนักวัดมหาธาตุ ทรงแตกฉานในภาษาบาลี พระนิพนธ์ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธาน ซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลี นอกจากนี้ ยังได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็นภาษาบาลีอีกหลายเรื่อง นับว่าพระองค์ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่ง
    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระราชาคณะ โดยมีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะสามัญ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย นับว่าทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติพระองค์แรก เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกตลอดรัชกาลรวมเป็นระยะเวลา 15 ปี ในระหว่างนั้น พระองค์ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สอง รองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระมหาสังฆปรินายก คือ สมเด็จพระสังฆราช

    เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ การที่เลื่อนพระอิศริยยศครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุด เท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขึ้นครองราชย์ ก็ยังมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชเป็นระยะเวลาถึง 23 ปี จึงได้ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ในปี พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงเจริญพระชนมายุไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดในพระบรมราชตระกูลอันนี้ ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ยังดำรงอยู่ก็ดีที่จะมีพระชนมายุเทียมถึง รวมทั้ง ยังเป็นที่นับถือของคนทั่วไปทั้งฝ่ายคฤหัสถ์และฝ่ายบรรพชิต พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตามาภิเษกเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ (สมเด็จกรมพระยา ในปัจจุบัน) มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า[1]

    "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ บวรรังษีสุริยพันธุ์ ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุต ปฏิบัติสุทธคณนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยยะบรรพชิต สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชา ปัญญาอรรคมหาสมณุดม บรมพงษาธิบดี จักรกรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทรบดินทรสูรย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤษฐสมณศักดิธำรง มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตมมหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ ไวยัตติยญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรคุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคารินรัตน สยามาขิโลกยปฏิพัทธพุทธปริสัษยเนตร สมณคณินทราธิเบศรสกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปาดมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร"
    ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า การเรียกพระนามพระบรมราชวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลแต่เดิมนั้นเรียกตามพระอิสริยยศแห่งพระบรมราชวงศ์ ไม่ได้เรียกตามสมณศักดิ์ของพระประมุขแห่งสังฆมณฑล คือ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" หรือที่เรียกอย่างย่อว่า "สมเด็จพระสังฆราช" พระองค์จึงเปลี่ยนคำนำพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลว่า "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า" เพื่อให้ปรากฏพระนามในส่วนสมณศักดิ์ด้วย ดังนั้น จึงเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"[2]
    พระองค์ทรงพระประชวรด้วยพระโรคชราและสิ้นพระชนมเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2435[3] พระชมมายุได้ 83 พรรษา 13 วัน ทรงผนวชเป็นพระภิกษุได้ 64 พรรษา
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ต่อกันอีกนิดนะครับ พี่เขย (น้องหนึ่ง)

    ที่มา http://www.be2hand.com/scripts/shop....view&id=330008

    กริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ เริ่มสร้างครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๐๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) แห่งราชวงศ์จักรี

    การสร้างครั้งที่ ๑ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๔ สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงสร้างเพื่อทดแทนพระกริ่งปวเรศทองคำที่หายไป เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ ในพระราชพิธีมุรธาภิเษกและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ (ร ๔) และขณะรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๙ พระชันษา เพื่อใช้ในพระราชพิธีเจริญน้ำพระพุทธมนต์ พิธีรับพระสุพรรณบัฎ (พระราชนิพนธ์สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ หน้า ๕๐-๕๑) จำนวนการสร้าง ๓ องค์

    การสร้างครั้งที่ ๒ - ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ เพื่อถวายรัชกาลที่ ๔ ในพระราชพิธี ที่รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นสามเณร เป็นที่ระลึกถวายรัชกาลที่ ๔ และ รัชกาลที่ ๕ จำนวนการสร้าง ๙ องค์ ในปีนั้นกำลังของปีตกเลข ๙ พอดี (ตำนานวัดบวรนิเวศ หน้า ๑๔๗ )

    การสร้างครั้งที่ ๓ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายรัชกาลที่ ๕ พระชนมายุ ๑๕ พระชันษา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ขึ้นครองราชย์สมบัติ โดยมีผู้สำเร็จราชการเจ้าพระยาสีสุริย วงศ์ (ช่วง บุญนาค) กริ่งรุ่นนี้ไม่มีเส้นพระศก และไม่มีส่วนผสมของเนื้อพระพุทธชินสีห์แบบครั้งที่ ๑ และ ๒ เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี ๓ ชนิด เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน, เนื้อสัมฤทธิ์โชติ ออกสีขาว หรือขาวจัด, เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีเหลือง (พระราชนิพนธ์พงศาวดาร ร ๕ หน้า ๓๐-๓๔, หน้า ๔๗ , และพระราชพิธีโสกันต์ หน้า ๕๔-๕๕) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้


    การสร้างครั้งที่ ๔ - ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ และบรมราชาภิเษกครองราชย์เป็นครั้งที่ ๒ กริ่งรุ่นนี้ไม่มีการบรรจุลูกกริ่งไว้ กรมพระยาปวเรศฯ ทรงออกแบบเป็น ๒ แบบ หล่อในคราวเดียวกัน เพื่อทรงถวายในพระราชพิธีทรงผนวช และบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชย์สมบัติ สันนิษฐานว่าเป็นกริ่งในเก๋งจีนอยู่ที่วัดบวรนิเวศ (จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในรัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๑๑ – พ.ศ. ๒๔๑๖ คณะกรรมการเผยแพร่เอกสารประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรีจัดพิมพ์เผยแพร่ พ.ศ. ๒๕๑๖ หน้า ๑๒๑-๑๒๙) จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๕ - ในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ เรียกกริ่งปราบฮ่อ ร ๕ กรมพระยาปวเรศไม่ได้เป็นผู้ออกแบบ ช่างสิบหมู่และโหรหลวงเป็นผู้ออกแบบ (สงครามปราบฮ่อสมัย ร๕ มรว แสงโสม เกษมศรี ประวัติศาสตร์ไทย ปี ๒๕๐๓) ลักษณะ “ปราบฮ่อ” อยู่บนฐานชั้น๒ ติดกับพระโสณี (ตะโพก) ด้านหลัง “ร๕” ตัว “ร” หล่อติดระหว่างกลางฐาน ๑ และ ๒ ด้านซ้ายของกลีบบัวหลัง เลข “๕” หล่อติดแนวเดียวกันทางด้านขวาของกลีบบัวหลัง จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้

    การสร้างครั้งที่ ๖ - ในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ (บรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฎราชวิทยาลัย หน้า ๕ วรรค ๒) กรมพระยาปวเรศฯ ไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ บรมวงศานุวงศ์ และไวยาวัชกรวัดบวรนิเวศ สมัยนั้น จึงมีหลายแบบพิมพ์ทรง บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่าก็มี โลหะก็ไม่เหมือนกัน บางองค์ก็แบบพิมพ์ใหม่ รวมทั้งที่อยู่ในขันน้ำมนต์ และยอดไม้เท้าของพระองค์ท่าน จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้ (กริ่งรุ่นนี้วัดสุทัศน์ได้จัดสร้างขึ้นในปี ๒๔๔๓ เรียก “พระกริ่งคู่แฝด” จะต่างกันตรงอุดกริ่ง)

    หมายเหตุ ! - พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ นั้น ที่สร้างในยุคสมัยของกรมพระยาปวเรศฯ ตามประวัติมีการจัดสร้าง ๖ ครั้ง ระบุจำนวนให้ทราบ เพียง ๒ ครั้ง รวมแล้วได้ ๑๒ องค์ แต่ก็สร้างเพื่อพิธีสำคัญของพระมหากษัตริย์เท่านั้น มีเพียงครั้งที่ ๖ เท่านั้นที่สร้างฉลองสมณศักดิ์สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ที่อาจสร้างแจกเป็นที่ระลึกให้ข้าราชบริพาน พระสกนิกร ในสมัยนั้นแต่ก็ไม่ระบุจำนวนการสร้าง และก็มีหลายแบบพิมพ์ทรง ผู้เขียนเองก็ไม่สามารถที่จะสรุปได้ว่า ที่เคยทราบมา มีประมาณ ๑๑ องค์ หรือเท่าไรไม่แน่ใจ ที่มีมูลค่าสูง เป็นกริ่งปวเรศ รุ่นไหน และยุคไหน เพียงแต่สรุปได้ว่ามีเกิน ๑๐ องค์แน่นอน

    พุทธลักษณะองค์พุทธปฏิมากร – รูปหล่อลอยองค์ ประทับนั่งสมาธิเพชร (วัชรสานะ) เหนืออาสนะบัลลังค์ บัวคว่ำ บัวหงาย ๒ ชั้น ชั้นละ ๗ กลีบ ฐานด้านหลัง ยื่นเล็กน้อย บัวคว่ำ บัวหงาย ชั้นละ ๑ กลีบ พระเกศแบบตุ้มหรือบัวตูม ฐานพระเมาลี ด้านหน้า ปรากฏรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว พระศกแบบตอก “รอยตุ๊ดตู่” ปราศจากไรพระศก ใต้ฐานไม่ปะก้น หรือรอยเจาะก้นสำหรับบรรจุลูกกริ่งเหมือนทั่วๆ ไป แต่กว้านก้นลึก และกว้าง (กว้าง ๑ ซ.ม. ยาว ๑.๖ ซ.ม.)

    ลักษณะการตอกเมล็ดงา – ในสมัยก่อนเป็นการบ่งบอก ให้ทราบว่ามีช่างที่สร้าง และตกแต่ง พระจำนวนกี่คน เช่น ตอกเมล็ดงา ๑ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมีช่าง ๒ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ๓ เมล็ด แสดงว่าพระกริ่งองค์นั้นมี ช่าง ๔ คน ช่วยกันสร้างและตกแต่ง ถ้าไม่มีการตอกเมล็ดงา แลดงว่า มีช่างเพียงคนเดียว ที่เป็นผู้สร้างและตกแต่งตรวจเองทั้งหมด การตอกเมล็ดงาจะตอกตรง เฉียง หรือ อยู่ส่วนใดขององค์พระก็แล้วแต่ช่างผู้นั้นจะตอก

    http://www.be2hand.com/scripts/shop.php?user=jaturamitmongkol&do=view&id=330008
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 ตุลาคม 2009
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เจ้าจอมสดับ ในรัชกาลที่ 5...ผู้ถวายความจงรักภักดีจนลมหายใจสุดท้าย
    Metro Life - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>23 ตุลาคม 2552 12:29 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=272 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=272>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>แสงเทียนเจิดจ้าตัดกับความมืดสลัว ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า ทุกค่ำคืนจะมีบรรดาพสกนิกรหลากหลายอาชีพ มานั่งสวดคาถาชินบัญชรเพื่อถวายความจงรักภักดีแด่องค์รัชกาลที่ 5 ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยอย่างอเนกอนันต์

    คำว่า “ จงรักภักดี” มีความหมายมากมายเพียงใดนั้น สัมผัสได้จากผู้หญิงคนนี้... เจ้าจอมสดับในรัชกาลที่ 5 เนื่องด้วยตลอดชีวิต 93 ปีของท่าน ไม่มีวันใดที่จะหยุดแสดงความเทิดทูนจงรักภักดีในฐานะภริยาและข้าของแผ่นดิน

    ** ชีวิตในวังหลวง

    หม่อมราชวงศ์สดับ นามเดิมว่า “ สั้น” เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2433 ที่วังกรมหมื่นภูมินทรภักดี หรือวังท่าเตียน ย่านปากคลองตลาด เป็นธิดาของหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ ในกรมหมื่นภูมินทรภักดี และหม่อมช้อย

    ครั้นเมื่อท่านเจริญวัยอายุได้ 11 ขวบ หม่อมเจ้าเพิ่มลาออกจากราชการในตำแหน่งปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และย้ายครอบครัวไปอยู่เมืองราชบุรี จึงได้นำธิดาคนนี้ไปอยู่ในวังของพระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฎ พระอัครชายา ต่อมาสมเด็จหญิงพระองค์ใหญ่ (เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรุมขุนพิจิตรเจษฏ์จันทร์) พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ได้ประทานนามใหม่ว่า “สดับ”

    ชีวิตในพระบรมมหาราชวังนั้น ม.ร.ว.สดับได้รับการอุปถัมภ์อยู่ในตำหนักพระวิมาดาเธอฯ เยี่ยงพระญาติ โดยโปรดให้เรียนหนังสือจากครูทั้งภาษาไทยและอังกฤษ รวมถึงฝึกหัดให้เป็นกุลสตรีชาววังที่จะต้องเรียนรู้ทั้งด้านงานฝีมือ เครื่องอาหารคาวหวาน

    ด้วยเป็นเด็กหญิงที่คล่องแคล่วทะมัดทะแมงเฉลียวฉลาด จึงเป็นที่โปรดปรานของเจ้านายทุกพระองค์ โดยท่านมีหน้าที่ตามเสด็จพระวิมาดาเธอฯ ในกระบวนเสด็จทุกงาน ซึ่งท่านได้บันทึกถึงความรู้สึกในช่วงนั้นว่าสนุกสนานมาก เพราะได้แต่งตัวสวยและได้ออกงานกับเจ้านาย


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=236 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=236>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ ลดาวัลย์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>** “แม่เสียงเพราะเอย...”

    ม.ร.ว.สดับ
    มาเรียนรู้เรื่องดนตรีและขับร้องเพลงเมื่อตอนอายุ 14 ปี ด้วยเหตุที่รัชกาลที่ 5 ทรงประชวรเมื่อปี 2447 พระวิมาดาเธอฯ จึงทูลเชิญเสด็จมาประทับที่พระที่นั่งวิมานเมฆ โดยจัดการทุกสิ่งทุกอย่างถวายเพื่อทรงสำราญพระทัย ซึ่งนอกจากเรื่องเครื่องเสวยแล้ว ยังทรงให้ข้าหลวงที่ร้องเพลงเป็นจัดเป็นกลุ่มขึ้นขับร้องเพลงถวาย เริ่มตั้งแต่ 3 ทุ่มไปจนถึง 2ยาม เสด็จเข้าในที่แล้วจึงเลิก

    ด้วยความที่เป็นคนมีน้ำเสียงไพเราะก้องกังวาน แม้ยามพูดยังมีน้ำเสียงนุ่มนวลน่าฟัง ม.ร.ว.สดับ จึงถูกเลือกให้เป็นต้นเสียงในการร้องเพลง แม้พระวิมาดาเธอฯ เกรงจะถูกครหานินทาว่าส่งเสริมหลาน แต่ก็ถูกครูเพลงทั้งหลายร้องขอจึงจำต้องยินยอม และด้วยน้ำเสียงที่ไพเราะนี้เอง รัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงสนพระทัยในเรื่องดนตรีมาก เมื่อทรงฟังเสียงของ ม.ร.ว.สดับแล้วทรงโปรด จึงออกพระโอษฐ์ขอต่อพระวิมาดาเธอฯ ผู้เป็นอาและเป็นผู้ปกครองในเวลานั้น ในที่สุด ม.ร.ว.สดับ ได้ถวายตัวรับราชการสนองเบื้องพระยุคลบาท เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2449

    รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเจ้าจอมสดับมากถึงขนาดทรงพระราชนิพนธ์เพลงให้เลย คือในช่วงที่ทรงประชวรอยู่นั้น พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง “เงาะป่า” ขึ้นมาเพื่อพระราชทานให้ร้องกัน และมีบทหนึ่งที่พระองค์ท่านทรงพระราชนิพนธ์ถึงเจ้าจอมสดับว่า


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กำไลมาศที่ ร.5 ทรงสวมพระราชทานเมื่อ 22 ก.พ.ร.ศ.125 (พ.ศ.2449)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>.....แม่เสียงเพราะเอย น้ำเสียงเจ้าเสนาะ เหมือนดังใจพี่จะขาด…..

    เจ้าจอมสดับรับใช้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท ด้วยความจงรักภักดีจนเป็นที่สนิทเสน่หา ถึงกับพระราชทานสิ่งของมีค่าอยู่เนืองๆ โดยเฉพาะ “กำไลมาศ” ของพระราชทานอันเป็นเครื่องแสดงถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ยิ่งใหญ่ โดยเจ้าจอมสดับเขียนบันทึกในช่วงนั้นไว้สรุปว่า ตอนนั้นเป็นงานขึ้นพระแท่นพระที่นั่งอัมพร ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงให้เล่นละครเรื่องเงาะป่า เพื่อเก็บเงินคนดูพระราชทานเป็นทุนให้กับ “คนัง” เงาะป่าที่พระองค์ทรงโปรดมาก ปรากฏว่าพระวิมาดาเธอฯ ประชวร คุณจอมสดับจึงต้องเป็นแม่งานเสียเอง โดยต้องรับใช้ในเรื่องตั้งเครื่อง แล้วยังต้องวิ่งมานั่งร้องเพลง ร้องเสร็จก็วิ่งกลับไปยังที่ประทับ

    “ร้องเสร็จก็เป็นหน้าที่ข้าพเจ้า ตามเสด็จขึ้นไปรับใช้บนพระที่นั่ง ในวันเฉลิมพระที่นั่งนี้ ทรงพระมหากรุณาสวมกำไลทองรูปตาปูพระราชทานข้าพเจ้า ทรงสวมโดยไม่มีเครื่องมือ บีบด้วยพระหัตถ์ รุ่งขึ้นจึงต้องรับสั่งให้กรมหลวงสรรพศาสตร์พาช่างทองแกรเลิตฝรั่งชาติเยอรมัน นำเครื่องมือมาบีบให้เรียบร้อย...”

    กำไลทองพระราชทานนี้ทำจากบางสะพาน น้ำหนักสี่บาท ทำเป็นรูปตาปูโบราณสองดอกไขว้ปลายตาปูลีบเป็นดอกเดียวกัน ที่วงโดยรอบสลักพระราชนิพนธ์ร้อยกรองว่า

    กำไลมาศชาตินพคุณแท้ ไม่ปรวนแปรเป็นอื่นย่อมยืนสี
    เหมือนใจตรงคงคำร่ำพาที จะร้ายดีขอให้เห็นเป็นเสี่ยงทาย
    ตะปูทองสองดอกตอกสลัก ตรึงความรักรับไว้อย่าให้หาย
    แม้รักร่วมสวมไว้ให้ติดกาย เมื่อใดวายสวาสดิ์วอดจึงถอดเอย

    ในปี 2450 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรป ทรงมีพระราชดำริให้เจ้าจอมสดับตามเสด็จในฐานะข้าหลวงของสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงนิภานภดล ถึงกับทรงสอนภาษาอังกฤษพระราชทานแก่เจ้าจอมสดับด้วยพระองค์เองก่อนเวลาเสวยพระกระยาหารทุกค่ำคืน แต่ในที่สุดเจ้าจอมก็ไม่สามารถตามเสด็จได้ ซึ่งท่านบันทึกความรู้สึกตอนนั้นว่า

    “ข้าพเจ้ารู้สึกทุ้กข์ทุกข์ เศร้าเศร้า ตลอด 24 ชั่วโมงไม่ได้กินไม่ได้นอน...” และในช่วงพระราชพิธีตอนรัชกาลที่ 5 กำลังจะสด็จนั้น เจ้าจอมสดับหมอบซบหน้าร้องไห้อยู่ตลอดเวลา รัชกาลที่ 5 ทรงแวะประทับยืน พระราชทานพระหัตถ์ให้เจ้าจอมทรงเครื่องขลิบพระนขา (เล็บ) ซึ่งท่านเจ้าจอมได้เก็บไว้ใกล้ตัวตลอดมา

    ครั้นเมื่อเสด็จกลับจากยุโรป ก็ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานเครื่องเพชรนิลจินดา โดยเฉพาะ เครื่องเพชรชุดใหญ่ที่ทรงสั่งทำจากยุโรป โดยมีพระประสงค์ให้เป็นหลักทรัพย์เลี้ยงชีพในอนาคตแทนตึกแถว


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=260 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=260>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เข็มกลัดตราพิณภายใต้พระจุลมงกุฏ ร.5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเมื่อ ร.ศ.125 (พ.ศ.2449)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>** ทุกข์อย่างใหญ่หลวง

    หลังจากรัชกาลที่ 5 เสด็จกลับจากประพาสยุโรปไม่นานพระองค์ทรงประชวรและสวรรคต ซึ่งเจ้าจอมสดับบันทึกความรู้สึกในเวลานั้นว่า

    “ใจคิดเสียสละได้ทุกอย่าง จะอวัยวะ หรือเลือดเนื้อ หรือชีวิต ถ้าเสด็จกลับคืนมาได้ ข้าพเจ้าคิดว่า เป็นใจที่ติดแน่วแน่ตายแทนได้ ไม่ใช่พูดเพราะๆ ...คุณจอมเชี้อเอาผ้าเช็ดหน้าผืนหนึ่งส่งมาให้ข้าพเจ้าบอกว่า ท่านประทานไว้ซับพระบาท ข้าพเจ้าเอาผ้าที่ซับพระบาทแล้วพันมวยผมไว้ แล้วก็นั่งร้องไห้กันต่อไป...”

    ตลอดเวลาประดิษฐานพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท 8 เดือนเต็ม เจ้าจอมสดับก็ได้สนองพระมหากรุณาธิคุณเป็นครั้งสุดท้าย ด้วยการเป็นต้นแบบ “นางร้องไห้” หน้าพระบรมศพ และถือเป็นประเพณีนางร้องไห้ครั้งสุดท้ายและชุดสุดท้ายของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะหลังจากนั้นก็ไม่มีประเพณีนี้อีกเลย

    เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 นอกจากเจ้าจอมสดับจะอยู่ในความทุกข์โศกแล้ว ยังเจอกับเสียงครหาว่า ท่านเป็นหม้ายอายุเพียง 20 ปีเท่านั้น เกรงว่าจะไม่สามารถครองตัวรักษาพระเกียรติยศอยู่ตลอดไปได้ เพราะนอกจากรูปสมบัติแล้วท่านยังมีทรัพย์สมบัติทั้งเพชรนิลจินดาที่ได้รับพระราชทานไว้มากมาย อันจะเป็นเหตุให้มีผู้ชายมาหลอก และจะทำให้เกิดความเสื่อมเสียถึงพระเกียรติยศได้

    ส่วนเจ้าจอมสดับเมื่อครองตัวเป็นหม้ายนั้น ท่านตั้งใจแน่วแน่ที่จะรักษาพระเกียรติจนชีวิตจะหาไม่ โดยท่านได้บันทึกเรื่องนี้ไว้ว่า “ข้าพเจ้าไม่มีใจเหลือเศษที่จะรักผู้ชายใดอีกต่อจนตลอดชีวิต” และท่านก็ได้แสดงความจงรักภักดีตราบจนวาระสุดท้ายของท่านตามที่ได้ลั่นวาจาไว้

    ดังนั้น เพื่อตัดปัญหาเรื่องทรัพย์สมบัติของท่าน เจ้าจอมสดับจึงถวายคืนเครื่องเพชรพระราชทานแม้ว่าจะเป็นเครื่องรำลึกถึงล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 ก็ตาม มีเพียงของพระราชทานเล็กน้อยที่ท่านได้เก็บเอาไว้คือ กำไลมาศ เท่านั้น เจ้าจอมสดับจึงกลายเป็นคนไม่มีสมบัติ เพราะท่านไม่มีตึกแถวหรือทรัพย์สินอื่นๆ ท่านจึงอยู่ในพระอุปถัมภ์ของพระวิมาดาเธอฯ

    หลังจากถวายคืนแล้วเจ้าจอมสดับได้รับทราบเกี่ยวกับเครื่องเพชรชุดนั้นอีกครั้งเดียวว่า ได้นำไปขายยังต่างประเทศ และนำเงินที่ได้ไปสมทบทุนสร้างโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ข่าวนี้สร้างความยินดีให้กับเจ้าจอมสดับอย่างมากที่จะได้สนองพระมหากรุณาธิคุณของรัชกาลที่ 5 อย่างเต็มศรัทธา

    ชีวิตที่เหลืออยู่ของเจ้าจอมจึงเดินตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อยึดมั่นเป็นกรอบแห่งจริยวัตรเหนี่ยวรั้งให้ใจสงบและปิดประตูต่อกิเลสตัณหาทั้งปวง

    ** “พระธรรม” หนทางแห่งความสงบในชีวิต

    เจ้าจอมสดับย้ายมาใช้ชีวิตอยู่ในวังสวนสุนันทา ของพระวิมาดาเธอฯ ไม่นานก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 เจ้านายหลายพระองค์เสด็จไประทับยังต่างประเทศ และเป็นช่วงเวลาหลังจากที่พระวิมาดาเธอฯ สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เจ้าจอมสดับจึงตัดสินใจออกจาก “วัง” ไปอยู่ “วัด” ละทิ้งชีวิตสาวชาววัง ไปอยู่ “วัดเขาบางทราย” จ.ชลบุรี ด้วยความคิดที่อยากจะสร้างกรอบให้ชีวิตโดยนำหลักธรรมะเข้ามายึดเหนี่ยวจิตใจ ไม่ให้พลัดหลงไปตามกิเลสที่พรางตาอยู่

    ความร่มรื่นและความสว่างไสวแห่งเสียงพระธรรมที่พระสงฆ์สวดกล่อมเกลาจิตใจอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน จึงทำให้เจ้าจอมตัดสินใจหันหน้าเข้าหาพระธรรมให้เป็นที่พึ่งทางใจอย่างเป็นจริงเป็นจัง ซึ่งในช่วงแรกได้สมาทานอุโบสถศีลอยู่เป็นประจำ และได้ศึกษาปฏิบัติตามพระธรรมคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในฐานะพุทธมามะกะที่ดีอย่างเคร่งครัด


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=332 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=332>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ตรา S.B.C.ร.5 ทรงคิดตราสำหรับพิมพ์บนหัวกระดาษเขียนจดหมายด้วยพระองค์เอง พระราชทานแด่เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>สิ่งหนึ่งที่ท่านเจ้าจอมปฏิบัติทุกวันมิได้ขาดคือ สวดมนต์ถวายพระราชสักการะและถวายพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    กระทั่งเมื่อเจ้าจอมสดับอายุครบ 60 ปี หรือที่เรียกกันว่าเข้าช่วงปัจฉิมวัย ท่านจึงคิดอยากจะบำเพ็ญกุศลในแซยิดให้พิเศษยิ่งขึ้นไปอีก จากที่เคยปฏิบัติดังเช่นทุกวัน ท่านตัดสินใจปลงผม นุ่งขาวห่มขาว และขอประทานศีลจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เพื่อที่จะได้ปฏิบัติกายและใจให้บริสุทธิ์ตามวิธีแห่งพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการอุทิศพระราชกุศลทูลเกล้าฯ ถวายแด่รัชกาลที่ 5 พระสวามีผู้เป็นที่รักยิ่ง

    ครั้นเมื่อปี 2506 เจ้าจอมได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้กลับคืนมาอยู่ในพระบรมมหาราชวังอีกครั้ง โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ทั้งในยามดีและยามไข้ ด้วยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อให้เจ้าจอมสดับใช้ชีวิตอย่างมีความสุข พอกินพอใช้และเหลือทำบุญบ้าง

    แม้ช่วงชีวิตที่เข้ามาอยู่ในวังหลวงแล้ว เจ้าจอมยังเดินไปฟังธรรมที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทุกวันอาทิตย์และทุกวันธรรมสวนะมิได้ขาด จวบถึงวัย 92 ปีที่ร่างกายอ่อนแอเดินตามลำพังไม่ได้เท่าที่ควร แล้วจึงได้งดไป และยังได้บริจาคเงินสมทบทุนมูลนิธิสายใจไทยเป็นประจำทุกเดือนๆ ละ 1 พันบาท นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมูลนิธิฯ

    ** ถวายความจงรักภักดีทั้งชีวิต

    ในชีวิตของผู้หญิงคนหนึ่งเช่นเจ้าจอมสดับนั้น ท่านได้แสดงให้เห็นถึงความจงรักภักดีที่ถวายต่อรัชกาลที่ 5 อย่างไม่มีวันสิ้นสุด สิ่งใดที่จะกระทำได้เพื่อถวายพระเกียรติแด่พระองค์ท่านนั้น เจ้าจอมจะเต็มใจสนองพระคุณทุกอย่างเต็มกำลัง ดังนั้น ชีวิตของเจ้าจอมที่ดำเนินมาหลังจากที่ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 สิ้นพระชนม์ชีพแล้ว ในทุกวันทุกลมหายใจจึงตั้งใจกระทำความดีถวายอุทิศแด่รัชกาลที่ 5 เสมอมา

    ดังเช่นตลอดหลายสิบปีที่เจ้าจอมสดับใช้ชีวิตอย่างสงบอยู่ที่วัดเขาบางทรายนั้น ท่านได้ถือศีลสวดมนต์ภาวนา จนได้ทำบันทึกข้อธรรมตามความรู้ความเข้าใจไว้เตือนตน ตั้งแต่ พ.ศ.2478 (เมื่ออายุได้ 45 ปี) และบันทึกเป็นช่วงๆ เกือบตลอด 40 ปี จนกลายเป็นหนังสือขนาด 8 หน้ายก เกือบ 500 หน้า ท่านได้ให้ชื่อบันทึกธรรมนี้ว่า “สุตาภาษิต” ซึ่งนับเป็นมรดกที่มีค่าชิ้นหนึ่งทิ้งไว้ให้อนุชนรุ่นหลัง ได้ศึกษาการเข้าถึงพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ตามความเข้าใจและปฏิบัติของเจ้าจอมสดับ

    กิจวัตรที่เจ้าจอมกระทำเป็นประจำมิได้ขาดคือ ทุกวันที่ 23 ตุลาคม อันเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของรัชกาลที่ 5 และวันที่ 1 เมษายน คล้ายวันเริ่มรับราชการสนองเบื้องพระยุคลบาท เจ้าจอมจะอัญเชิญพานประดิษฐานของพระราชทานอันมีค่าอย่างยิ่งในชีวิตของท่านคือ พระบรมทนต์ ซึ่งแกะเป็นองค์พระและเส้นพระเจ้าบรรจุไว้ในล็อกเก็ต รวมทั้งผ้าซับพระบาทออกสดับปกรณ์ พร้อมทั้งนิมนต์พระสงฆ์ถวายพระราชกุศลพิเศษ


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กระดาษหัวจดหมายที่ ร.5 ทรงคิดด้วยพระองค์เองเพื่อพระราชทานแด่ เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ในวันที่ 1 เมษายน 2510 ซึ่งเป็นวันครบรอบ 60 ปีของการรับราชกาลเป็นเจ้าจอมในรัชกาลทื่ 5 และเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2513 อันเป็นวันครบรอบอายุ 80 ปี เจ้าจอมสดับก็ได้บำเพ็ญกุศลทางใจด้วยเจริญวิปัสสนากรรมฐาน รวมสำรวมกาย วาจา ใจที่จะไม่ข้องแวะกับโลกภายนอก อันเป็นทางให้เกิดสมาธิชั้นสูงรวบรวมพลังจิตอุทิศกุศลผลบุญทั้งมวลน้อมเกล้าฯ ถวายแด่รัชกาลที่ 5 เป็นเวลา 60วันและ 80 วัน เป็นการทดแทนการทำพิธีเฉลิมฉลองอย่างอื่น

    นอกจากนี้ ท่านเจ้าจอมยังถวายความจงรักภักดีสนองพระคุณต่อในหลวงองค์ปัจจุบันอย่างสุดความสามารถเช่นกัน ด้วยท่านเติบโตมากับวังพระวิมาดาเธอฯ ซึ่งมีชื่อเสียงทั้งด้านอาหารและงานฝีมือ ดังนั้น ทุกครั้งที่ท่านสบโอกาสจะฝึกฝีมือในการถักนิตติ้งอยู่บ่อยครั้ง เช่น ถักถลกบาตรกรองทอง ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ เมื่อเสด็จออกทรงผนวช ถักผ้าทรงสะพักกรองทองถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระราชธิดา พระสุนิสาทุกพระองค์

    ถึงแม้ว่าขณะนั้นท่านจะมีสายตาฝ้าฟางด้วยอายุที่มากขึ้นก็ตาม แต่ท่านก็มิได้ท้อถอยแต่อย่างใด นอกจากจะเคี่ยวเข็ญถ่ายทอดการถักให้หลานผู้เป็นคุณข้าหลวงตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจนถักได้แล้ว เจ้าจอมยังขอสนองพระมหากรุณาธิคุณด้วยการถ่ายทอดวิชาการถักให้แก่นักเรียนในโครงการศิลปาชีพด้วย

    ด้วยเจ้าจอมสดับมีชีวิตที่ยืนยาวและเป็นผู้ที่มีจิตเมตตาต่อทุกคน เวลามีคนขอให้ท่านเล่าเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับรัชกาลที่ 5 ท่านจะเล่าด้วยความรู้สึกที่มีความสุขเป็นยิ่งนัก และท่านยังได้ใช้เวลาเขียนบทประพันธ์ถึงประวัติศาสตร์สมัยรัชกาลที่ 5 ราชประเพณีในวังหลวง อีกมากมายเพื่อให้คนรุ่นหลังได้รับทราบ


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=236 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=236>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เครื่องเพชรพระราชทานที่เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับได้รับจาก ร.5 และต่อมาภายหลังเจ้าจอมได้ขายเครื่องเพชรชุดที่ใส่อยู่เพื่อนำเงินรายได้มาสมทบทุนสร้างโรงพยาบาลจุฬาฯ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>เช้าตรู่วันพฤหัสบดีที่ 30 มิ.ย.26 ลูกหลานในตระกูลลดาวัลย์และคนไทยหลายคนต้องเศร้าเสียใจต่อการจากไปอย่างไม่มีวันกลับของ เจ้าจอมสดับ ด้วยโรคชรา ในวัย 93 ปี ณ โรงพยาบาลศิริราช คุณดุ๊ก-ม.ล.พูนแสง (ลดาวัลย์) สูตะบุตร หลานสาวที่เจ้าจอมสดับให้การดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่ในวัยเยาว์ เล่าว่า เจ้าจอมสดับสวมกำไลมาศติดมือจนสิ้นลมหายใจ และคุณดุ๊กเป็นคนถอดกำไลข้อมือนั้นด้วยตัวเอง โดยเล่าถึงสภาพของกำไลมาศว่า

    “ถึงแม้ว่าคำกลอนที่จารึกไว้ในกำไลมาศจะลบเลือนไปตามกาลเวลา เพราะท่านสวมมาถึง 76 ปี แต่ พระปรมาภิไธย “จุฬาลงกรณ์ ป.ร.” ที่จารึกไว้ด้านในท้องกำไลยังคงเป็นรอยจารึกที่แจ่มชัดเช่นเดิมจนน่าประหลาดใจมาก”

    จากนั้นคุณดุ๊กก็ได้นำกำไลมาศและของพระราชทานอันมีคุณค่าทางจิตใจของเจ้าจอมทั้งหมด เพื่อถวายแด่พระบาทสมด็จพระเจ้าอยู่หัวฯรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำของอันเป็นที่รักของเจ้าจอมสดับไว้ที่พระที่นั่งวิมานเมฆ (ตรงห้องพระบรรทม)

    เจ้าจอมสดับจึงเป็น “เจ้าจอมในรัชกาลที่ 5” คนสุดท้าย ที่มีชีวิตยาวนานมาถึง 5 แผ่นดิน และตลอดชีวิตของท่านได้แสดงถึงความซื่อสัตย์ จงรักภักดี ในฐานะภรรยาที่มีต่อสามี ในฐานะข้าในรัชกาลที่ 5และรัชกาลที่ 9 รวมถึงในฐานะข้าของแผ่นดิน





    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=266 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=266>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ ในวัย 74 ปีถ่ายเมื่อ พ.ศ.2507</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=284 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=284>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>คุณดุ๊ก-ม.ล.พูนแสง (ลดาวัลย์) สูตะบุตร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เพิ่งกลับมาถึงครับ..ขอตัวไปท่องตำราก่อนครับ พรุ่งนี้มีเรียน มะรืนนี้มีสอบ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 49 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 46 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, marty, :::เพชร:::+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีครับคุณเพชร

    ยินดีต้อนรับกลับบ้านครับ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ความสวยที่มาจากน้ำผึ้ง

    เคล็ดลับความงาม ความสวยที่มาจากน้ำผึ้ง

    [​IMG]


    ความสวยที่มาจากน้ำผึ้ง (เดลินิวส์)

    ใครรู้บ้างว่า... น้ำผึ้งสามารถทำให้สวยได้อย่างไร? วันนี้เกร็ดความรู้มีคำตอบมาบอก...


    ก่อนอื่นต้องทดสอบก่อนว่า น้ำผึ้งที่ใช้นั้นเป็นน้ำผึ้งแท้รึเปล่า? วิธีทดสอบคือ ตั้งทิ้งไว้สักพัก ถ้าเป็นน้ำผึ้งแท้จากธรรมชาติ จะสังเกตเห็นเกสรดอกไม้ลอยอยู่ด้านบน

    [​IMG] หน้าแห้งแตกเป็นขุย

    ใครที่มีผิวหน้าแห้งกร้าน ให้นำไข่แดง 1 ฟอง และน้ำผึ้ง 1 ช้อน ผสมให้เข้ากัน พอกหน้าทิ้งไว้ 10 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด​

    [​IMG] น้ำผึ้งสยบสิวเสี้ยนบนใบหน้า

    หลังล้างหน้าด้วยน้ำอุ่นแล้ว เช็ดหน้าให้แห้ง จากนั้น นำกล้วยหอมครึ่งลูกมาบดผสมกับน้ำผึ้ง นำมาทาบนใบหน้าทิ้งไว้ 10-15 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด เพราะน้ำผึ้งมีเอนไซม์ที่ทำให้หน้าคุณชุ่มชื่นนุ่มนวลมากขึ้น และ
    บำรุงผิวหน้าให้ดูอ่อนเยาว์ได้อีกด้วย

    [​IMG] ผมหยาบกระด้างเกินเยียวยา

    หลังสระผมเสร็จ นำน้ำผึ้งผสมกับน้ำมันมะกอกอย่างละ 3 ช้อนโต๊ะ ชโลมให้ทั่วผมแล้วทิ้งไว้ 3-5 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ผมจะนิ่มและเงางามดุจเส้นไหม

    [​IMG] สครับหน้าแบบง่าย ๆ

    แค่เพียงนำน้ำผึ้งผสมกับแอปเปิ้ลมาปั่นรวมกัน ทาให้ทั่วใบหน้าแล้วนวดเบา ๆ ความหยาบของแอปเปิ้ลจะช่วยขจัดเซลล์ผิวเก่าให้ออกไป ทำให้ผิวหน้าสดใสเปล่งปลั่งขึ้น​

    [​IMG] สูตรไล่ตีนกาออกจากหน้า

    นำแครอท 1 หัวเล็ก มาปอกเปลือกและปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำผึ้ง และนำมาพอกหน้าทิ้งไว้ 5-10 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด

    ใครอยากสวยด้วยน้ำผึ้ง ลองนำวิธีที่แนะนำไปปฏิบัติตามกันดูได้








    ขอขอบคุณข้อมูลจาก เดลินิวส์
    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...