พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    23-09-2009, 09:40 AM
    #33824

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    <TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange" colSpan=3><CENTER>ข้อมูล</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>27 มิถุนายน พ.ศ. 2421</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันทิวงคต</TD><TD colSpan=2>4 มกราคม พ.ศ. 2437</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชบิดา</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชมารดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๗ แรม ๑๒ ค่ำ ปีขาล สัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๔๐ ตรงกับวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๑
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๙ มีพระนามตามจารึกสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ อดิศวรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรสมมติเทพยวรางกูร บรมมกุฎนเรนทรสูริย์ขัตติยสันตติวงศ์ อุกฤษฐพงศ์วโรภโตสุชาต ธัญญลักษณวิลาสวิบุลยสวัสดิ์สิริวัฒนราชกุมาร มุสิกนาม <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP>
    นับเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร เป็นตำแหน่งรัชทายาท แทนตำแหน่งพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ วังหน้า ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ประชวรด้วยพระโรคอวัยวะภายในพระอุระพิการ เสด็จทิวงคตเมื่อวันศุกร์ เดือน ๒ ขึ้น ๙ ค่ำ ปีมะเมียฉศก จ.ศ. ๑๒๕๖ ตรงกับวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๗ ขณะทรงมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ๖ เดือน กับ ๗ วัน<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    <TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขณะทรงพระเยาว์


    </TD><TD>[​IMG]

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงฉายร่วมกับเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช และเจ้าจอมมารดาเปี่ยม


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] ราชตระกูล


    <CENTER><TABLE class=wikitable><CAPTION>พระราชตระกูลในสามรุ่นของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</CAPTION><TBODY><TR><TD align=middle rowSpan=8>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ
    สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD><TD align=middle rowSpan=4>พระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทร์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    หม่อมน้อย</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=4>พระชนนี:
    สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี
    พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
    </TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทร์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา
    (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม)</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    หลวงอาสาสำแดง (แตง)</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    ท้าวสุจริตธำรง (นาค)</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง


    1. <LI id=cite_note-0>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธย สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าราชกุมารพระองค์ใหญ่ เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ, เล่ม ๓, ตอน ๔๔, วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๙, หน้า ๓๖๘
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมโองการ ประกาศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสวรรคต, เล่ม ๑๑, ตอน ๔๑, ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๗, หน้า ๓๒๘
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
    (กรมพระราชวังบวรสถานมงคล)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">สยามมกุฎราชกุมาร
    (พ.ศ. 2429-พ.ศ. 2437)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40></TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นบทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>ดึงข้อมูลจาก "สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2421 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2437 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 | สยามมกุฎราชกุมาร | ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า | พระราชบุตรในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. | บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่รอการตรวจสอบรูปแบบ<!-- google_ad_section_end -->
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange">สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange" colSpan=3><CENTER>ข้อมูล</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>14 กันยายน พ.ศ. 2352</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD colSpan=2>28 กันยายน พ.ศ. 2435</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระอิสริยยศ</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระบิดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระมารดา</TD><TD colSpan=2>เจ้าจอมมารดาน้อย</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษก เมื่อ ปี พ.ศ. 2434 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา เป็นพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ 10 เดือน ก็สิ้นพระชนมเมื่อปี พ.ศ. 2435 พระชมมายุได้ 83 พรรษา
    [แก้] พระประวัติ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 18 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ และทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระองค์ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สำนักวัดมหาธาตุ ทรงแตกฉานในภาษาบาลี พระนิพนธ์ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธาน ซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลี นอกจากนี้ ยังได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็นภาษาบาลีอีกหลายเรื่อง นับว่าพระองค์ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่ง
    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระราชาคณะ โดยมีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะสามัญ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย นับว่าทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติพระองค์แรก เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกตลอดรัชกาลรวมเป็นระยะเวลา 15 ปี ในระหว่างนั้น พระองค์ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สอง รองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระมหาสังฆปรินายก คือ สมเด็จพระสังฆราช
    เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ การที่เลื่อนพระอิศริยยศครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุด เท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขึ้นครองราชย์ ก็ยังมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชเป็นระยะเวลาถึง 23 ปี จึงได้ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ในปี พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงเจริญพระชนมายุไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดในพระบรมราชตระกูลอันนี้ ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ยังดำรงอยู่ก็ดีที่จะมีพระชนมายุเทียมถึง รวมทั้ง ยังเป็นที่นับถือของคนทั่วไปทั้งฝ่ายคฤหัสถ์และฝ่ายบรรพชิต พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตามาภิเษกเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ (สมเด็จกรมพระยา ในปัจจุบัน) มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4_0-0>[1]</SUP>
    "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ บวรรังษีสุริยพันธุ์ ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุต ปฏิบัติสุทธคณนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยยะบรรพชิต สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชา ปัญญาอรรคมหาสมณุดม บรมพงษาธิบดี จักรกรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทรบดินทรสูรย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤษฐสมณศักดิธำรง มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตมมหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ ไวยัตติยญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรคุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคารินรัตน สยามาขิโลกยปฏิพัทธพุทธปริสัษยเนตร สมณคณินทราธิเบศรสกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปาดมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร"
    ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า การเรียกพระนามพระบรมราชวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลแต่เดิมนั้นเรียกตามพระอิสริยยศแห่งพระบรมราชวงศ์ ไม่ได้เรียกตามสมณศักดิ์ของพระประมุขแห่งสังฆมณฑล คือ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" หรือที่เรียกอย่างย่อว่า "สมเด็จพระสังฆราช" พระองค์จึงเปลี่ยนคำนำพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลว่า "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า" เพื่อให้ปรากฏพระนามในส่วนสมณศักดิ์ด้วย ดังนั้น จึงเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    พระองค์ทรงพระประชวรด้วยพระโรคชราและสิ้นพระชนมเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2435<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> พระชมมายุได้ 83 พรรษา 13 วัน ทรงผนวชเป็นพระภิกษุได้ 64 พรรษา
    [แก้] พระปรีชาสามารถ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ นอกจากจะเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีแล้ว ยังทรงมีพระปรีชาสามารถ ในด้านต่าง ๆ พอประมวลได้ดังนี้ คือ
    • ด้านสถาปัตยกรรม ทรง ออกแบบพระปฐมเจดีย์ องค์ที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2396
    • ด้านโบราณคดี ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทยได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่าง ๆ ในประเทศไทยไว้มาก และได้ ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ที่เป็นอักษรขอม เป็นพระองค์แรก
    • ด้านประวัติศาสตร์ ทรงนิพนธ์ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ และพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เป็นต้น
    • ด้านดาราศาสตร์ ทรงพระนิพนธ์ ตำราปักขคณนา (คำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร
    • ด้านวิทยาศาสตร์ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวัน ติดต่อกันเป็นเวลาถึง 45 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2389 ถึงปี พ.ศ. 2433 เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย เรียกบันทึกนี้ว่า จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน
    • ด้านกวี ทรงพระนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ไว้เป็นจำนวนมาก ที่เป็นภาษาไทย ทรงนิพนธ์ไว้จำนวนมาก เช่น ได้ลงพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น
    • ด้านพระศาสนา ทรงเป็นองค์ประธานชำระและแปลพระไตรปิฎก พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ทรงกำหนดพระราชบัญญัติ และประกาศคณะสงฆ์ต่าง ๆ ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย ทรงสร้างพระกริ่งที่เรียกกันว่า พระกริ่งปวเรศ ซึ่งเป็นต้นแบบของพระกริ่ง ในยุคต่อมาของไทย
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4-0>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระประวัติพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๘, ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒, หน้า ๒๒๔ <LI id=cite_note-1>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า, เล่ม ๓๘, ตอน ๐ ก ,๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๐
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๗, ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒,หน้า ๒๑๗
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
    กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    (พระองค์เจ้าวาสุกรี สุวัณณรังสี)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">[​IMG]
    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    (พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2435)</TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
    สมเด็จพระสังฆราช
    (สา ปุสฺสเทโว)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>

    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศรี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศุข)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (สุก ญาณสังวร)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ด่อน)
    สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (นาค)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปลด กิตฺติโสภโณ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (อยู่ ญาโณทโย)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (จวน อุฏฐายี)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระญาณสังวรฯ (เจริญ สุวฑฺฒโน)
    </CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: orange" colSpan=2>

    เจ้านายในวังหน้าและวังหลังที่ได้ทรงกรม (สมัยกรุงรัตนโกสินทร์)</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนศรีสุนทร · กรมหมื่นเสนีเทพ · กรมขุนนรานุชิต ·

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนธิเบศวร์บวร · กรมหมื่นอมรมนตรี · กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · กรมหมื่นอมเรศรัศมี · กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ · กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ · กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ · กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ · กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ · กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ · กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร · กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · กรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา · กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นนราเทเวศร์ · กรมหมื่นนเรศร์โยธี · กรมหลวงเสนีบริรักษ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: orange" colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>ดึงข้อมูลจาก "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ | สมเด็จพระสังฆราชเจ้า | กรมพระยา | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 1 | พระสงฆ์ที่เป็นพระราชวงศ์ | บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2352 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2435<!-- google_ad_section_end -->
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระกริ่งปวเรศ กริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย
    พระกริ่งปวเรศ กริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย

    [​IMG]


    พระกริ่งปวเรศเป็นของสูงค่าอมตะ เป็นพระกริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ พระสังฆราชเจ้าแห่งวัดบวรนิเวศน์วิหาร ทรงดำริสร้างเพื่อไว้ประทานแก่เชื้อพระวงศ์ หรือผู้ที่เห็นสมควรเท่านั้น

    พระกริ่งปวเรศนั้น ทรงไว้ซึ่งพุทธศิลป์และความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์ อีกทั้งมีจำนวนน้อย เมื่อค้นคว้าสอบถามผู้รู้เก่าๆ ก็ไม่มีผู้ใดรู้จริง แม้จดหมายเหตุส่วนตัวของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ ก็มิได้ระบุบอกถึงจำนวนที่สร้าง หรือรายละเอียดพระนาม และนามของผู้ที่ได้รับพระกริ่งปวเรศนั้นไป แม้จะลือกันว่าส่วนใหญ่ตกอยู่กับเชื้อพระวงศ์ คนทั่วไปคงจะเห็นแค่รูปภาพและเรื่องราวเป็นตำนานเท่านั้น เพียงเท่านี้ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ลึกลับดำมืดพอสมควรอยู่แล้ว และพระกริ่งปวเรศองค์ที่เป็นของจริงนั้น ก็คือองค์ต้นแบบที่ประดิษฐานอยู่ในเก๋งกระเบื้องดินเผาจีนที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดบวรฯ เวลามีงานใหญ่จริงๆ ถึงจะได้ชม แถมอยู่ไกลและอยู่ในเก๋งทำให้แทบจะพิจารณาให้ละเอียดไม่ได้ แม้ภายหลังจะมีนิตยสารพระเครื่องได้รูปมาถ่ายทอดให้ชมก็นึกขอบคุณ ด้วยหาดูอยากจริงๆ

    [​IMG]

    กรมหลวงวชิรญาณวงศ์แห่งวัดบวรฯ เคยมีดำรัสถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศนี้ว่า “เท่าที่ฉันได้ยินมานั้น สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ท่านทรงสร้างขึ้นด้วยพระองค์เอง มีจำนวนน้อยมากน่าจะไม่เกิน 30 องค์ ต่อมาได้ประทานให้หลวงชำนาญเลขา(หุ่น) ผู้ใกล้ชิดพระองค์นำไปจัดสร้างขึ้นอีกจำนวนหนึ่ง แต่หลวงชำนาญเอาไปเทนั้น จะมากน้อยเท่าใดฉันไม่ได้ยินเขาเล่ากัน”
    การสร้างพระกริ่งปวเรศของสมเด็จกรมพระยาปวเรศฯนั้น น่าจะเนื่องจากว่าท่านได้รับการถวายพระกริ่งที่เรียกกันว่า “กริ่งปทุมสุริวงศ์” พร้อมตำราการสร้างพระกริ่งและตำรามงคลโลหะ ที่มีมาแต่โบราณสืบค้นได้ถึงสมัยสมเด็จพระพนรัตนวัดป่าแก้ว ทรงเห็นว่าพระกริ่งนั้นดีมีมงคล หากจะสร้างขึ้นตามตำรา แต่ดัดแปลงพุทธลักษณะที่คล้ายเทวรูปในคตินิยมแบบมหายาน ให้มีพุทธลักษณะคตินิยมแบบหินยานก็น่าจะมีเอกลักษณ์ดี

    อีกทั้งเมื่อมีการขยับพระพุทธชินสีห์คราวสร้างฐานชุกชีนั้น พบว่ามีเนื้อฐานพระพุทธชินสีห์ชำรุดจึงโปรดให้ช่างตัดแต่งให้งามดุจเดิม และเนื้อฐานพระพุทธชินสีห์นั้นเองล่ะกระมังที่เป็นแรงบันดาลใจ เมื่อทรงได้ตำราสร้างพระกริ่งและตำราโลหะมงคลมา จึงได้นำโลหะที่เหลือจากการแต่งฐานพระพุทธชินสีห์มาใช้ เพราะนานไปเศษโลหะนั้นจะไม่มีผู้รู้ค่าว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์จะถูกทิ้งเสียเปล่า
    พระองศ์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ได้ทรงดำรัสถึงเรื่องพระต้นแบบพระกริ่งปวเรศเป็นความว่า "ฉันเห็นหม้อน้ำมนต์ของวัดบวรนิเวศวิหาร ฉันได้เอาแว่นขยายส่องดู จึงแน่ใจว่าเป็นพระกริ่งใหญ่(พระกริ่งจีน) หรือที่เรียกกันว่าปทุมสุริวงศ์ อันน่าจะได้รับถวายมาจากราชวงศ์นโรดมกัมพูชา” สำหรับพระกริ่งใหญ่หรือพระกริ่งปทุมสุริวงศ์นี้ เป็นพระกริ่งของจีนโบราณสมัยหมิง ได้แพร่หลายเข้ามานานแล้ว แต่ที่พบจะมาพร้อมพระกริ่งบาเก็ง ซึ่งศิลปะสกุลช่างจีนเช่นเดียวกันแต่พบที่ปราสาทบาแคงที่ตั้งอยู่ในเทือกเขาพนมบาแคง

    ท่านอาจารย์ตรียัมปวาย ได้กล่าวถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศไว้ดังนี้ “พระกริ่งปวเรศที่คนโบราณเขานิยมกันนั้น มีอยู่เนื้อเดียว คือเนื้อนวโลหะผิวกลับดำ เมื่อขัดเนื้อในจะเป็นสีจำปาเทศ และเมื่อทิ้งไว้ถูกกับอากาศก็จะกลับดำอีกครั้งหนึ่งในเวลาไม่นาน การอุดก้นนั้นพบสองลักษณะ คืออุดด้วยทองแดง และอุดด้วยฝาบาตร มีเครื่องหมายลับไว้กันปลอมแปลงด้วยแต่เป็นกริ่งที่หายาก และมีผู้เจนจัดชนิดชี้เป็นชี้ตายได้น้อยแทบไม่มีเลย นอกจากจะมีองค์ที่เป็นองค์ครูแล้วนำเอาองค์อื่นมาเทียบเคียงเท่านั้น”

    [​IMG]

    พระกริ่งปวเรศนั้นเป็นพระกริ่งที่สร้างหล่อทีละองค์ แบบเบ้าดินเผาแบบประกบ โดยที่เบ้าดินเผานั้นมีตราประทับเป็นอักษรจีน เมื่อเทเสร็จจะต้องนำมาเกาแต่งใหม่ทั้งองค์ และทุกองค์มีการอุดก้นด้วยแผ่นทองแดงและทองฝาบาตรประสานด้วยเงินสำหรับโค๊ดลับเม็ดงานั้น ได้มีการตอกไว้จริงแต่ไม่ได้อยู่ในตำแหน่งเดียวกันทุกองค์ จะถือการตอกผิดตำแหน่งเป็นของปลอมก็มิสมควร ต้องพิจารณาให้ละเอียด

    ขอบคุณภาพจาก วิกิพีเดีย / ภาพพระกริ่ง โดยเซียนเจ๋ง<!-- google_ad_section_end -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    23-09-2009, 10:11 AM
    #33830
    โพสโดยคุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2449752", true); </SCRIPT>

    พระกริ่ง ก็คือพระปฏิมาพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้านั่นเอง เกี่ยวกับพระนามของพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า ในภาษาไทยจะใช้คำศัพท์ที่แตกต่างกันไป เช่น พระไภษัชคุรุ, พระไภษัชยคุรุ, พระไภสัชคุรุ, พระไภสัช สำหรับคำภาษาสันสกฤต (ที่อ่านแปลเป็นภาษาอังกฤษ) จะใช้คำว่า Bhaisajyaguru ส่วนในภาษาธิเบต จะเรียกว่า Sangs-ryas ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก Yakushi Nyorai และคำแปลในภาษาอังกฤษที่ใช้คำว่า MedicineBuddha

    พระพุทธเจ้าองค์นี้เป็นที่นิยมนับถือของปวงพุทธศาสนิกชนฝ่ายลัทธิมหายานยิ่งนักปรากฏพระประวัติมาในพระสูตรสันสกฤตสูตรหนึ่งคือพระพุทธไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภาราชามูลประณิธานสูตรแปลเป็นจีนในราวพุทธศตวรรษที่10 ซึ่งขอแปลโดยย่อสู่กันว่าดังนี้
    สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระศากยมุนีพุทธะเสด็จประทับ ณ กรุงเวสาลีสุขโฆสวิหาร พร้อมด้วยพระมหาสาวก8,000องค์พระโพธิสัตว์36,000องค์ และพระราชาธิบดีเสนาอำมาตย์ตลอดจนปวงเทพก็โดยสมัยนั้นแลพระมัญชุศรีผู้ธรรมราชาบุตรอาศัยพระพุทธภินิหารลุกขึ้นจากที่ประทับทำจีวรเฉลียงบ่าข้างหนึ่งลงคุกพระชาณุอัญชลีกราบทูลขึ้นว่า<O:p</O:p

    ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอพระองค์โปรดปรานพระธรรมเทศนาพระพุทธนามและมหามูลปณิธานและคุณวิเศษอันโอฬาร แห่งปวงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเพื่อยังผู้สดับพระธรรมกถานี้ให้ได้รับหิตประโยชน์บรรลุถึงสุขภูมิ

    พระบรมศาสดาทรงรับอาราธนาของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์แล้วจึงทรงแสดงพระเกียรติคุณของพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้าว่า<O:p</O:p
    ดูก่อนกุลบุตรจากที่นี้ไปทางทิศตะวันออกผ่านโลกธาตุอันมีจำนวนดุจเม็ดทรายในคงคานที10นทีรวมกัน ณ โลกธาตุหนึ่งนามว่าวิสุทธิไพฑูรย์โลกธาตุนั้นมีพระพุทธเจ้าซึ่งมีทรงนามว่าไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภาคถาคตพระองค์ถึงพร้อมด้วยพระภาคเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ตรัสรู้รู้ดีชอบแล้วด้วยพระองค์เองเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวิชาและจรณะเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งทางโลกเป็นผู้ยอดเยี่ยมไม่มีใครเปรียบ เป็นสารถีฝึกบุรุษ เป็นศาสดาแห่งเทวดาและมนุษย์เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดูก่อนมัญชุศรี ณเบื้องอดีตกาลเมื่อพระตถาคตเจ้าพระองค์นี้ยังเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่พระองค์ทรงตั้งมหาปณิธาน 12 ประการเพื่อยังความต้องการแห่งสรรพสัตว์ให้บรรลุมหาปณิธาน12ประการเป็นไฉน<O:p</O:p

    1. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ซึ่งมีวรกายอันรุ่งเรืองส่องสาดทั่วอนันตโลก บริบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักษณะ 32 และอนุพยัญชนะ80ขอให้สรรพสัตว์จึงมีวรกายดุจเดียวกับเรา
    2. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ขอให้วรกายของเรามีสีสันดุจไพฑูรย์มีรัศมีรุ่งโรจน์โชตนาการยิ่งกว่าแสงจันทร์และแสงอาทิตย์ประดับด้วยคุณาลังการอันมโหฬาร ไพศาลพันลึกส่องทางให้แก่สัตว์ที่ตกอยู่ในอบายคติให้หลุดพ้นเข้าสู่คติที่ชอบตามปรารถนา
    3. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณก็ขอให้เราได้ปัญญาโกศลอันล้ำลึกสุขุมไม่มีที่สิ้นสุดยังสรรพสัตว์ให้ได้รับโภคสมบัตินานาประการอย่าได้มีความยากจนเลย
    4. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสัตว์ใดที่เป็นมิจฉาทิฏฐิก็ขอให้เรายังเขาให้ตั้งมั่นในสัมมาทิฐิก็ขอให้เรายังเขาให้ตั้งมั่นในสัมมาทิฐิในโพธิมรรคหากมีสัตว์ใดดำเนินปฏิปทาแบบสาวกยานปัจเจกยาน ก็ขอให้เราสามารถยังเขามากำเนิดปฏิปทาแบบมหายาน
    5. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสรรพสัตว์ใดมาประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยของเราก็ขอให้เขาเหล่านั้นอย่าได้มีศีลวิบัติเลย จงบริบูรณ์ด้วยองค์แห่งศีลทั้ง3เถิด หากผู้ใดศีลวิบัติ เมื่อสดับนามแห่งเราก็ขอให้จงบริบูรณ์ดุจเดิมไม่ตกสู่ทุคตินิรยาบาย
    6. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสรรพสัตว์มีกายอันเลวทรามมีอินทรีย์ไม่ผ่องใส โง่เขลาเบาปัญญาตาบอดหรือหูหนวกเป็นใบ้หรือหลังค่อม สารพัดพยาธิทุกข์ต่าง ๆ เมื่อได้สดับนามแห่งเราก็ขอให้เขาหลุดพ้นจากปวงทุกข์เหล่านั้น มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด อินทรีย์ผ่องใสสมบูรณ์
    7. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ หากยังมีสรรพสัตว์ปราศจากวงศาคณาญาติอันความยากจนค้นแค้นมีทุกข์มาเบียดเบียนแล้วเพียงแต่นามแห่งโสตของเขาเท่านั้น ขอสรรพความเจ็บป่วยจงปราศไปสิ้นเป็นผู้มีกายในอันผาสุกมีบ้านเรือนอาศัยพรั่งพร้อมด้วยธนสารสมบัติจนที่สุดก็จัดได้สำเร็จแก่พระโพธิญาณ
    8. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีอิสสตรีใดมีความเบื่อหน่ายต่อเพศแห่งตน ปรารถนาจะกลับเพศเป็นบุรุษไซร้มาตรว่าได้สดับนามแห่งเราก็จงสามารถเปลี่ยนเพศจากหญิงเป็นชายตามปรารถนาจนที่สุดก็จะได้สำเร็จแก่โพธิญาณ
    9. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเราจะสามารถยังสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้นจากข่ายแห่งมารและเครื่องผูกพันของเหล่ามิจฉาทิฐิให้สัตว์เหล่านั้นตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิและให้ได้บำเพ็ญโพธิสัตว์จริยาจนบรรลุพระโพธิญาณในที่สุด
    10. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณมีสัตว์เหล่าใดถูกต้องพระราชอาญาต้องคุมขังรับทัณฑกรรมในคุกตารางหรือต้องอาญาถึงประหารชีวิตตลอดจนได้รับการข่มเหงคะเนงร้ายดูหมิ่นดูแคลนเหยียดหยามอื่นๆเป็นผู้มีอันคับแค้นเผาลนแล้วมีใจกายอันวิปฏิสารอยู่ หากได้สดับนามแห่งเราได้อาศัยบารมี และมีคุณาภินิหาร ของเราขอให้สัตว์เหล่านั้นจงหลุดพ้นจากปวงทุกข์ดังกล่าว
    11. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ มีสัตว์เหล่าใดมีความทุกข์ด้วยความหิวกระหายและประกอบอกุศลกรรม เพราะเหตุแห่งอาหารไซร้ หากได้สดับนามแห่งเรามีจิตมั่นตรึกนึกภาวนาเป็นนิตย์ เราจะได้ประทานเครื่องอุปโภคบริโภคอันปราณีตแก่เขายังให้เขาอิ่มหนำสำราญแล้วจะประทานธรรมรสแก่เขาให้เขาได้รับความสุข
    12. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณมีสัตว์เหล่าใดที่ยากจนปราศจากอาภรณ์นุ่งห่ม อันความหนาวร้อนและเหลือบยุงเบียดเบียนทั้งกลางวันกลางคืนหากได้สดับนามแห่งเราและหมั่นรำลึกถึงเราไซร้เขาจักได้สิ่งที่ปรารถนาและจักบริบูรณ์ด้วยธนสารสมบัติสรรพอาภรณ์เครื่องประดับและเครื่องบำรุงความสุขต่างๆลฯ<O:p</O:p

    ครั้นแล้วพระบรมศาสดาศากยมุนีพุทธเจ้าตรัสต่อไปว่าพระไภษัชยคุรุพุทธ นี้มีพระโพธิสัตว์ใหญ่ 2 องค์พระสุริยไวโรจนะและพระจันทรไวโรจนะเป็นพระโพธิสัตว์ผู้ช่วยของพระไภษัชยคุรุพระพุทธเจ้าเบื้องปลายแห่งพระสูตรนั้นทรงแสดงอานิสงส์ของการบูชาพระไภษัชยคุรุว่าผู้ใดก็ดีได้บูชาพระองค์ด้วยความเคารพเลื่อมใสแลไซร้ก็จักเจริญด้วย อายุวรรณะ สุขะ พละ ปราศจากภัยบีฑา ไม่ฝันร้ายศาสตราวุธทำอันตรายมิได้สัตว์ร้ายทำอันตรายมิได้ ยาพิษทำอันตรายมิได้ ฯลฯนอกจากนี้ยังทรงแสดงถึงพิธีจัดมณฑลบูชาพระไภษัชยคุรุอีกด้วยว่าต้องจัดพิธีบูชาเครื่องนั้น ๆ และทรงประธานพระคาถาบูชาพระไภษัชยคุรุด้วยในเวลาตรัสพระคาถานี้ พระบรมศาสดาทรงประทับเข้าสมาธิชื่อสรวสัตวทุกขภินทนาสมาธิปรากฏรัศมีไพโรจน์ขึ้นเหนือพระเกตุมาลาแล้วตรัสพระคาถามหาธารณีดังนี้

    นโม ภควเต ไภษชฺยคุรุ ไวฑูรฺยปรฺภาราชาย ตถาคตยารฺทเตสมฺยกสมฺพุทฺธาย โอมฺ ไภเษชฺเย สมุรฺคเตสฺวาหฺ<O:p</O:p

    ครั้นตรัสพระมหาธารณีนี้แล้ว พสุธาก็กัมปนาทหวาดไหวแสงสว่างอันโอฬารก็ปรากฏสัตว์ทั้งปวงก็หลุดพ้นจากสรรพพยาธิบรรลุสุขสันติอันประณีตแล้วพระบรมศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนมัญชุศรีถ้ามีกุลบุตรกุลธิดาใดอันพยาธิทุกข์เบียดเบียนแล้วถึงตั้งจิตให้เป็นสมาธิแล้วนำพระมหาธารณีบทนี้ ปลุกเสกอาหารหรือยาหรือน้ำดื่มครบ108 หนแล้วดื่มกินเข้าไปเถิด จักสามารถดับสรรพปวงพยาธิได้ ฯลฯพระสูตรนี้ตอนปลาย ๆ ยังมีเรื่องราวพิสดารอีกมากแต่จำต้องของดไว้เพียงเท่านี้เป็นอันว่าท่านได้ทราบถึงความศักดิ์สิทธิ์และความสำคัญของพระพุทธไภษัชยคุรุโดยสังเขปเท่านี้สำหรับพระคาถามหาธรณีนั้นท่านพระคณาจารย์สร้างพระกริ่งได้และควรนับถือว่าเป็นมนต์ประจำพระกริ่งโดยเฉพาะทีเดียว

    ที่มา : watthummuangna.com - board<!-- google_ad_section_end -->

    เมื่อความศักดิ์สิทธิ์อภินิหารของ พระพุทธรูปไภษัชยคุรุ ปรากฏตามที่ได้พรรณนามาพวกพุทธศาสนิกชนฝ่ายลัทธิมหายานจึงเคารพนับถือยิ่งนักมีพระพุทธปฏิมาขอพระไภษัชยคุรุบูชากันทั่วไปในวัดประเทศจีน ญี่ปุ่น ธิเบตเกาหลีและเวียดนาม ที่สุดจนในประเทศเขมรและประเทศไทยสำหรับประเทศไทยแม้จะนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายลังกาวงศ์ลัทธิสาวกยานแต่ก่อนนั้นขึ้นไปเราก็เคยรับเอาลัทธิมหายานมานับถืออยู่ระยะหนึ่งเป็นลัทธิมหายานซึ่งแพร่ขึ้นมาจากอาณาศรีวิชัยทางใต้และที่แพร่หลายมาจากเขมรไทยเพิ่งจะเปลี่ยนมานับถือพุทธศาสนาฝ่ายลังกาวงศ์ก็เมื่อยุคสุโขทัยนี้เท่านั้นอาณาจักรศรีวิชัยซึ่งตั้งแว่นแคว้นอยู่บนคาบสมุทรมลายู ตั้งแต่พ.ศ.1200 – 1700รวมเวลานานราว600ปีเป็นอาณาจักรที่เคารพนับถือพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานและนำลัทธิมหายานให้แพร่หลายในหมู่เกาะชวา มลายูตลอดขึ้นมาจนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาส่วนเขมรนั้นปรากฏว่ามีทั้งลัทธิมหายานและลัทธิพราหมณ์เจริญแข่งกันกษัตริย์ของเขมรหรือขอมในสมัยนั้นบางองค์ก็เป็นพุทธมามกะบางองค์เป็นพราหมณ์มามกะ ในราวพ.ศ.1546 – 1592กษัตริย์เขมรพระองค์หนึ่งทรงนามว่าพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 1ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามากจนถึงกับเมื่อสวรรคตแล้วมีพระนามว่าพระบรมนิวารณบทพระองค์เป็นเชื้อสายกษัตริย์จากอาณาจักรศรีวิชัย ฉะนั้นจึงไม่ต้องสงสัยว่า ลัทธิมหายานจะไม่เฟื่องฟุ้งขึ้น ในรัชสมัยของพระองค์แต่ก็ยังมีกษัตริย์อีกพระองค์คือพระเจ้าชัยวรมันที่ 7ทรงครองราชย์ระหว่างพ.ศ.1724 – 1748พระองค์ทรงเป็นมหายานพุทธมามกะโดยแท้จริงทรงพยายามจรรโลงลัทธิราชองค์สุดท้ายของเขมร เพราะเมื่อสิ้นพระรัชสมัยแล้วเขมรก็เข้าสู่ยุคเสื่อมพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พระองค์นี้ปรากฏว่าเป็นผู้สร้างเมืองใหม่ ชื่อนครชัยศรีคือปราสาทพระขรรค์สำหรับเป็นพุทธสถานประดิษฐานพระปฏิมาอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์อันเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตากรุณาที่สำคัญอย่างยิ่งองค์หนึ่งของลัทธิมหายานทรงสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระเจ้าธรณินทรวรมันพระมหาชนกแล้วสร้างพระปราสาทตามพรหม ประดิษฐานพระปฏิมาปรัชญาปารมิตาโพธิสัตว์แห่งปัญญาอุทิศแด่พระวรราชมารดามีจารึกกล่าวว่าปราสาทตาพรหมเป็นอาวาสสำหรับพระมหาเถระ18องค์และสำหรับพระภิกษุอีก1,740รูปด้วยแล้วทรงสร้างพระปราสาทบายนเป็นที่ประดิษฐานพระรูป สนองพระองค์เองนอกจากนี้ปรากฏในศิลาจารึกตาพรหมว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ 7ได้สร้างโรงพยาบาล คืออโรยศาลาเป็นท่านทั่วพระราชอาณาจักรถึง102แห่งด้วยทรงเคารพนับถือพระพุทธไภษัชยคุรุยิ่งนักจึงทรงพยายามอนุวัติตามพระพุทธจริยาของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น นอกจากนั้นกษัตริย์นักก่อสร้างพระองค์นี้ ยังได้สร้างรูปพระปฏิมาชยพุทธมหานาถพระราชทานไปประดิษฐานไว้ในเมืองอื่น ๆ23 แห่งทรงสร้างธรรมศาลา ขุดสระน้ำ สร้างถนน จากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ข้าพเจ้าปราถนาจะกล่าวว่าพระกริ่งปทุมของเขมรได้สร้างขึ้นอย่างแพร่หลายกว่าทุกยุคในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7นี้ เพื่ออุทิศบูชาแด่พระพุทธไภษัชยคุรุและได้มีการสร้างบ้างแล้วในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1ในการสร้างนั้นได้มีพิธีปลุกเสกประจุฤทธิ์เข้าไปตามกระบวนลัทธิมหายานซึ่งปรากฏในพระพุทธไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาราชามูลประณิธานสูตรนั้นพระกริ่งปทุมจึงมีฤทธานุภาพศักดิ์สิทธิ์ ภายหลังเมื่อลัทธิมหายานเสื่อมสูญคติการสร้างพระกริ่งยังคงสืบทอดกันมาและกลับมาแพร่หลายในหมู่ชาวไทย ลาวแต่นานวันเข้าก็ลืมประวัติเดิม วิธีสร้างแบบเดิมทั้งนี้เพราะพระสูตรมหายานเป็นภาษาสันกฤตเลือนไปตามลัทธิมหายานด้วยพระเกจิอาจารย์ท่านได้ดัดแปลงวิธีสร้างใหม่ตามแบบไสยเวท เช่นการลงยันต์ 108 และนะปถนัง 14 นะในแผ่นโลหะ เป็นต้นก็ให้ผลความศักดิ์สิทธิ์ไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน ถ้ามาตรว่าทำให้ถูกพิธีกรรมใหม่นี้จริงๆ ส่วนเม็ดกริ่งในองค์พระนั้นสันนิษฐานได้เป็น2 ทางคือ ทางหนึ่งเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธภาวะอันมีคุณลักษณะอนาทิเบื้องต้นไม่ปรากฏ จึงทำเป็นเม็ดกลมอีกทางหนึ่งชะรอยจะอนุวัติที่ว่าแม้เพียงได้สดับพระนามก็อาจให้ได้รับความสวัสดีได้จึงใช้ประจุเม็ดกริ่งไว้ เพราะเมื่อสร้างองค์พระทุกครั้งจะได้บุญ2 ต่อคือสร้างเท่ากับได้เจริญภาวนาถึงพระไภษัชยคุรุส่วนผู้อื่นที่ได้ยินเสียงกริ่งก็พลอยได้บุญตามไปฉะนั้นส่วนพระกริ่งเขมรพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์พระเจ้าแผ่นดินเขมรเป็นผู้สร้าง ที่ได้ยินชื่อเรียกบ่อย ๆเรื่องพระกริ่งปทุมนี้ข้าพเจ้าได้ทูลถามเจ้าประคุณสมเด็จฯว่าพระกริ่งของพระองค์ที่สร้างครั้งก่อน ๆ เลียนแบบจากพระกริ่งของประเทศใด สมเด็จฯรับสั่งว่าได้แบบจากพระกริ่งปฐมวงศ์เพราะเห็นพระกริ่งที่ท่านทรงสร้างก่อน ๆนั้นพระนั่งปางมารวิชัยพระหัตถ์ซ้าย ถือวชิราวุธประทับบนบัวคว่ำบัวหงาย 7 กลีบด้านหลังของพระเกลี้ยงไม่มีกลีบบัว และก็ไม่ได้มีเครื่องหมายอะไรพระองค์ทรงสร้างกริ่งในตัวเนื้อโลหะเป็นทองชนิดเดียวกัน สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อยังมีพระชนมายุอยู่เคยเสด็จมาคุยกับเจ้าประคุณสมเด็จฯ สมัยเป็นพระพรหมมุนีบ่อยๆ ครั้งเหมือนกันทราบว่ามาชมหลวงพ่อดำ (พระเชียงแสน) เจ้าคุณอาจารย์เล่าว่าพระบูชาที่หล่อในยุคนั้น สมเด็จกรมพระยาดำรงฯเป็นผู้แนะนำแบบพิมพ์ด้วยเหมือนกันของฉันหล่อ2 องค์เลย อนึ่ง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาเที่ยวนี้ได้ตั้งใจสืบสวนการเรื่องหนึ่ง คือเรื่องพระพุทธรูปองค์เล็ก ๆซึ่งเรียกว่าพระกริ่งเป็นของที่นับถือและขวนขวายหากันในเมืองเราแต่ก่อนกล่าวกันว่าเป็นของพระเจ้าปทุมสุริวงศ์สร้างไว้ เพราะไปจากเมืองเขมรทั้งนั้นเมื่อครั้งรัชกาลที่ 4 พระอมรโมลี (นพ) วัดบุป้างรามลงมาส่งพระมหาปานราชาคณะธรรมยุติ ในกรุงกัมพูชาองค์แรกซึ่งต่อมาได้เป็นสมเด็จสุคนธ์นั้นมาได้พระกริ่งขึ้นไปให้คุณตา (พระยาอัมภันตริกามาตย์) ท่านให้แกเราแต่ยังเป็นเด็กองค์หนึ่งเมื่อเราบวชเป็นสามเณรได้นำไปถวาวเสด็จฯ พระอุปัชฌาย์ ทอดพระเนตรท่านตรัสว่าเป็นพระกริ่งพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์นั้นมี2 อย่างสีดำอย่างหนึ่งสีเหลืององค์ย่อมมากกว่าสีดำอย่างหนึ่งแต่อย่างสีเหลืองนั้นเราไม่เคยเห็นได้เห็นของผู้อื่นก็เป็นอย่างสีดำทั้งนั้นต่อมาเมื่อเราอยู่กระทรวงมหาดไทยพระครูเมืองสุรินทร์เขามากรุงเทพฯเอาพระกริ่งมาให้อีกองค์หนึ่งก็เป็นอย่างสีดำได้เทียบเคียงกันดูกับองค์ที่คุณตาให้เห็นเหมือนกันไม่ผิดเลย จึงเข้าใจว่าพระกริ่งนั้น เดิมเห็นจะตีพิมพ์ทำทีละมาก ๆและรูปสัณฐานเห็นว่าเป็นพระพุทธรูปอย่างจีนมาได้หลักฐานเมื่อเร็วๆนี้ด้วยราชทูตประเทศหนึ่งเคยไปอยู่เมืองปักกิ่ง ได้พระกริ่งทองทางของจีนมาองค์หนึ่งขนาดเท่ากันแต่พระพักตร์มิใช่พิมพ์เดียวกับพระกริ่ง พระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ถึงกระนั้นก็เป็นหลักฐานว่าพระกริ่งเป็นของจีนคิดแบบตำราในลัทธิฝ่ายมหายาน เรียกว่าไภษัชยคุรุเป็นพระพุทธรูปปางทรงถือเครื่องยาบำบัดโรคถือบาตรน้ำมนต์หรือผลสมอ เป็นต้น สำหรับบูชาเพื่อป้องกันสรรพโรคคาพาธและอัปมงคลต่างๆ เพราะฉะนั้นพระกริ่งจึงเป็นพระสำหรับทำน้ำมนต์เรามาเที่ยวนั้นตั้งใจจะมาสืบหาหลักฐานว่าพระกริ่งนั้นหากันได้ที่ไหนในเมืองเขมรครั้นมาถึงเมืองพนมเปญพบพระเจ้าพระสงฆ์ที่เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ลองไต่ถามก็ไม่มีใครรู้เรื่องหรือเคยพบเห็นพระกริ่งมีออกญาจักรีคนเดียวเห็นบอกว่า สัก 20ปีมาแล้วได้เคยเห็นองค์หนึ่งเป็นของชาวบ้านนอกแต่ก็หาได้เอาใจใส่ไม่ครั้นมาถึงนครวัด มาได้ความจริงจากเมอร์ซิเออร์มาร์ชาลผู้จัดการรักษาโบราณสถานว่า เมื่อสัก2 – 3เดือนมาแล้วเขาขุดซ่อมเทวสถานซึ่งแปลงเป็นวัดพระพุทธศาสนาบนยอดเขามาเก็บพบพระพุทธรูปเล็ก ๆ อยู่ในหม้อใบหนึ่งหลายองค์เอามาให้เราดูเป็นพระกริ่งสุริยวงศ์ทั้งนั้น มีทั้งอย่างเนื้อดำและเนื้อเหลืองตรงกับที่สมเด็จพระอุปัชฌาย์ทรงอธิบายจึงเป็นอันได้ความแน่ว่าพระกริ่งที่ได้ไปยังประเทศเราแต่ก่อนนั้นเป็นของหาได้ในกรุงกัมพูชาแน่แต่จะนำมาจำหน่ายจากเมืองจีน หรือพวกขอมจะเอาแบบพระจีนมาหล่อขึ้นในประเทศขอมข้อนี้ไม่ทราบได้พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพตอนนี้ก็เห็นชัดว่าพระกริ่งปทุมสุริยวงศ์ใครเป็นผู้สร้างและแพร่หลายมาเมืองไทยเรามากพอควร

    ที่มา : watthummuangna.com - board<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...โลกอุดรเสก-ถ้าต้องการที่จะได้.22445/page-1692

    กระทู้พระวังหน้าฯ หน้าที่ 1692
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    25-09-2009, 11:06 PM
    #33897

    นำมาให้ชมกัน

    [​IMG]

    เป็นพระบูชา หลวงปู่กรมพระยาปวเรศทั้งสององค์ครับ

    ส่วนการสร้าง,การอธิษฐานจิต และอื่นๆ ผมขอไม่แจ้งบนบอร์ด(ในกระทู้พระวังหน้าฯ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....<!-- google_ad_section_end -->

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...โลกอุดรเสก-ถ้าต้องการที่จะได้.22445/page-1695
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    27-09-2009, 09:51 AM
    #33929

    เหรียญบาตรน้ำมนต์
    Daily News Online > โลกสีสวย > ศิลปวัฒนธรรม > พบกันวันอาทิตย์ > เหรียญบาตรน้ำมนต์

    [​IMG]

    ช่วงนี้เป็นระยะเวลาที่คนกรุงเทพฯกำลังเผชิญปัญหาการจราจรติดขัด

    การจราจรในกรุงเทพฯ นั้น จะติดเป็นประจำเกือบทุกวัน แต่จะติดเป็นบางถนน และบางช่วงเวลา เช่น ในตอนเช้าเพื่อไปทำงาน หรือเวลาเย็นเมื่อเดินทางกลับบ้าน

    แต่ทว่าในขณะนี้ การจราจรได้เพิ่มการติดขัดหนักขึ้นไปอีกเกือบทั้งวัน

    เพราะกรุงเทพมหานครได้ประกาศปิดสะพาน รวม 13 แห่ง เพื่อซ่อมแซม

    ค่อนข้างจะแปลกใจว่าทำไม สะพานลอยเหล่านี้จึงชำรุดทรุดโทรมเร็วมากเหลือเกิน

    ทางด่วนลอยฟ้าบางสายนั้นสร้างมาก่อนนานแล้ว ยังคงใช้ได้เป็นปกติ

    เป็นเพราะอะไรการสร้างสะพานของ กทม. จึงชำรุดทรุดโทรมเร็วนัก

    ต่อไป กทม. จะสร้างอะไรต้องคำนึงถึงความคงทน แข็งแรง เอาไว้ด้วย

    อีกเรื่องหนึ่งที่น่าคิดก็คือ ทำไม กทม. จึงมาซ่อมสะพาน 13 แห่ง ในระยะนี้

    ทำไม... ทำไม ไม่คิดซ่อมสะพานตอนปิดเทอมใหญ่ ซึ่งการจราจรเบาบางลง

    อาจจะเกิดจากความฉลาดน้อยของผู้บริหาร กทม. ก็เป็นได้ ที่คิดเพียงสั้น ๆ ตามความพอใจของตนเอง ไม่คำนึงถึงประชาชนทั้งหลาย

    เวลานี้ก็ยังสามารถแก้ไขได้ สะพานแห่งใดที่ยังไม่ถึงกำหนดเวลาซ่อม ก็เลื่อนไปทำตอนปิดเทอมปลาย ก็ยังสามารถทำได้

    คราวหน้า ถ้าจะซ่อมสะพานอีก คิดทำในตอนปิดเทอมปลายน่าจะดีกว่า

    วันนี้ได้นำเหรียญที่ระลึกในสมัยรัชกาลที่ 5 มาให้ชมพร้อมกัน 2 เหรียญ

    เหรียญบนเป็นเหรียญรูปรี สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า เหรียญที่ระลึก มหาสมณุตตมาภิเศกแบบที่ 1

    เหรียญนี้สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีมหาสมณุตตมาภิเศก เลื่อนพระอิสริยยศ “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ฯ ขึ้นเป็น “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์” เมื่อวันที่ 27 พ.ย. พ.ศ. 2434

    เหรียญนี้ประชาชนโดยทั่วไป เรียกว่า “เหรียญบาตรน้ำมนต์” หรือ เหรียญปวเรศฯ

    เหรียญนี้เป็นเหรียญทองแดง ด้านหน้าเป็นรูปอัฐบริขาร พัดยศ และ เบญจปฎลเศวตฉัตร (ฉัตรบาล 5 ชั้น) มีอักษรภาษา มคธ ว่า “อยโข สุขิ โตโหติ นิท์ทุก์โข นิรุปททโล อนันตราโย ติฏเฐย์ย สัพพ์โสสถี ภวัณตุเต” แปลว่า ผู้นี้แลมีความสุขไร้ทุกข์ ไร้อุปัทวะ ไม่มีอันตราย พึงดำรงอยู่ ความสวัสดี จงมีแก่ท่าน

    ด้านหลังมีข้อความว่า ที่ รฦก งาน มหาสมณุตตมาภิเศก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ วันที่ 27 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร ศก ๑๑๐”

    ส่วนเหรียญด้านล่างเป็นเหรียญที่ระลึกในพระราชพิธีทรงผนวชสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าวชิรุณหิศ เมื่อปี พ.ศ. 2434

    เหรียญนี้มี 3 ชนิด คือ กาไหล่ทอง เงิน และทองแดง ด้านหน้าเป็นรูปพระอรหันต์ 18 องค์ “จับโป้ยล่อหั่น”

    ด้านหลังมีอักษรไทยประดิษฐ์เลียนแบบอักษรจีน “การทรงผนวช” ด้านขวามีอักษรย่อ ส.พ.บ.ร.อ. และ ปี ร.ศ.๑๑๐

    เหรียญทั้ง 2 อันนี้ ตั้งราคาไว้ 6 หมื่นบาท

    พบกันอาทิตย์หน้า.

    สมเจตน์ วัฒนาธร<!-- google_ad_section_end -->

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...โลกอุดรเสก-ถ้าต้องการที่จะได้.22445/page-1697
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    29-09-2009, 09:34 AM
    #33974
    โพสโดยคุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2468498", true); </SCRIPT>

    29 ก.ย 2552 - 200 ปี หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->
    [​IMG]
    ภาพถ่าย ณ พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม ในพระบรมมหาราชวัง จากซ้ายไปขวา
    1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อครั้งทรงผนวช
    2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค็เจ้าอรุณนิภาคุณากร วัดราชบพิธ
    3. พระสุคุณคณาภรณ์ (นิ่ม) วัดเครือวัลย์
    4. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พระราชอุปัธยาจารย์
    5. พระจันทรโคจรคุณ (ยิม จันทรังสี) วัดมกุฏกษัตริยาราม
    6. พระพิมลธรรม(สมเด็จพระวันรัต ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
    7. พระอริยมุนี (พระพรหมมุนี เหมือน สุมิตฺโต) วัดบรมนิวาส
    8. พระพรหมมุนี (สมเด็จพระพุฒาจารย์ ศรี) วัดปทุมคงคา
    9. พระสาสนโสภณ (สมเด็จพระสังฆราชสา ปุสฺสเทโว) วัดราชประดิษฐ์ พระราชกรรมวาจาจารย์
    [​IMG]

    เมื่อคืนได้สนทนากับท่านเลขาชมรมรักษ์พระวังหน้าของเรา เกี่ยวกับความซาบซึ้งในพระเมตตาของหลวงปู่ทั้งหลายที่ดลบันดาลให้พวกเรา ได้พบเจอพระกริ่งสำคัญที่สุดในสยาม ทำให้หวลคำนึงว่าที่สุดแล้วพระกริ่งปวเรศนั้น มีกันกี่องค์กันแน่ จำนวนนั้นจะสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขในหลวงปู่อย่างไร ศึกษา ณ เบื้องต้นศิริรวม เราได้รู้ว่าเกินสิบแน่ เพราะสร้างหลายวาระด้วยกัน โดยเฉพาะวาระสุดท้ายคือปี 2434 ตอนที่หลวงปู่ท่านขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช ผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างจะต้องเป็นบคคลสำคัญในแผ่นดินเป็นแน่ (ในสมัย ร.4 ว่างเว้นสังฆราชอยู่ 15 ปี ในสมัย ร.5 ว่างเว้นอยู่ 23 ปี ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น เว้นไว้สำหรับผู้ที่สนใจจริงๆไปค้นคว้า มีอยู่เยอะใน Internet) ขณะนั้นหลวงปู่อายุ 82 พรรษา ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ประมาณ 11 เดือน ท่านก็สวรรคต ณ ตอนเช้าตรู่ของวันวันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2435 ท่านประสูตรเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน 2352 (ผมยึดถือตามตำราพระประวัติ 19 สมเด็จพระสังฆราช) ถ้านับจากวันประสูติถึงวันนี้(29/09/09) ก็ 200 ปีพอดิบพอดีครับ

    เมื่อวานเป็นวันหนึ่งในฤกษ์ดีที่นับว่าหายยากมากในรอบปีครับ ผมพอจะสรุปให้ได้ดังนี้

    วันอาทิตย์ ขึ้นหรือแรม 6 ค่ำ ...นามดิถีอันประเสริฐ ชัยโชค สำเร็จทุกประการ
    วันจันทร์ ขึ้นหรือแรม 9 ค่ำ...ราชาโชค มีโชคลาภมาก
    วันอังคาร ขึ้นหรือแรม 13 ค่ำ...มหาสิทธิโชค สำเร็จดียิ่ง
    วันพุธ ขึ้นหรือแรม 2 ค่ำ ...อมฤตโชค สำเร็จผล
    วันพฤหัสฯ ขึ้นหรือแรม 9 ค่ำ ...สิทธิโชคมหาวัน สมปรารถนา
    วันศุกร์ ขึ้นหรือแรม 4 ค่ำ ...ราชาโชค มีโชคลาภมาก
    วันเสาร์ ขึ้นหรือแรม 5 ค่ำ ...อมฤตโชค สำเร็จผล

    ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมเราได้รับข่าวดีกันเรื่อยๆ เกี่ยวกับหลวงปู่กรมพระยาปวเรศครับ ...

    อยากให้เราชาวรักษ์พระวังหน้าทุกท่านรำลึกนึกถึงคุณงามความดีที่พระองค์ท่านสร้างให้กับประเทศกับพระศาสนาของเราไม่เพียงแต่เป็นองค์ปฐมในการสร้างพระกริ่งอันลือลั่น เพราะท่านคือหนึ่งในหลวงปู่พระอภิญญาใหญ่ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ ในในหลวงรัชกาลที่ 5 กับเชื้อพระวงค์หลายพระองค์ เป็นที่ปรึกษากับญาติผู้ใหญ่ใน ร.5 และอื่นๆมากมายครับผม ...
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    งั้นผมขอลงประวัติหลวงปู่กรมพระยาปวเรศต่อ จากในลิงค์ของคุณpsombat ครับ

    ที่มา

    ๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ รัชกาลที่ ๒</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ วันจันทร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะเส็ง</B>
    จ.ศ. ๑๑๗๑
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๘๓ พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=450 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๑ เดือนเศษ </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    พระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    นับแต่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๖ ในรัชกาลที่ ๔ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา ๑๕ ปี ฉะนั้น ในรัชกาลที่ ๔ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชจนเกือบตลอดรัชกาล เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษตอนต้นรัชกาลเท่านั้น
    เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น สมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    มาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้โปรดสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช ตลอดช่วงต้นแห่งรัชกาล เป็นเวลาถึง ๒๓ ปี ฉะนั้น ในช่วงต้น รัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่ถึง ๒๓ ปี จึงได้ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ เป็นสมเด็จพระสังฆราช นับเป็นพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    พระประวัติในเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ และเจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ อันเป็นวันเริ่มสวดมนต์ ตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ จึงได้พระราชทานนามว่า พระองค์เจ้าฤกษ์
    ทรงผนวช
    พ.ศ. ๒๓๖๕ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุ สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอยู่ในสำนักพระญาณสมโพธิ (รอด) ครั้งทรงผนวชเป็นสามเณรได้ ๔ พรรษา ประชวรไข้ทรพิษต้องลาผนวชออกมารักษาพระองค์ เมื่อหายประชวรแล้ว สมเด็จกรมพระราชบวรมหาศักดิพลเสพ ในรัชกาลที่ ๓ ทรงจัดการให้ทรงผนวชเป็นสามเณรอีกครั้งหนึ่ง
    พ.ศ. ๒๓๗๒ พระชนมายุครบทรงผนวชเป็นพระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ทรงลาผนวชออกสมโภช แล้วแห่พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ เจ้าฟ้าอาภรณ์ ที่จะทรงผนวชเป็นเป็นสามเณรในเวลานั้น ในการทรงผนวชเป็นพระภิกษุนั้น สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นนุชิตชิโนรส กับพระวินัยรักขิต วัดมหาธาตุ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    เมื่อทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงผนวชเป็นพระภิกษุอยู่ ณ วัดมหาธาตุนั้น เช่นกัน ในเวลานั้น (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงพระเจริญพระชนมายุกว่า ๕ พรรษา) เป็นเหตุให้ทรงเลื่อมใสในลัทธิธรรมวินัยตามอย่างพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ภายหลังจึงได้ทรงอุปสมบทซ้ำอีกครั้งหนึ่งในนทีสีมา โดยพระสุเมธาจารย์ (พุทธวังสะ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมจนทรงแตกฉานในภาษาบาลี แต่ไม่ทรงเข้าสอบเพื่อเป็นเปรียญ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพัดยศสำหรับเปรียญเอก ที่เคยพระราชทานแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เมื่อครั้งยังมิได้ทรงเป็นพระราชาคณะให้ทรงถือเป็นเกียรติยศ สืบมา พระนิพนธ์อันเป็นเครื่องแสดงถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีของพระองค์ก็คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธานซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลีว่าด้วยเรื่องการวิเคราะห์คืบพระสุคตอันเป็นมาตราวัดที่มีกล่าวถึงในทาง พระวินัย นอกจากนี้ ก็ได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เป็น ภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง นับว่าทรงเป็นปราญ์ทาง ภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุครัตนโกสินทร์
    ในรัชกาล ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะสมณศักดิ์ เสมอพระราชาคณะสามัญ พระราชทานตาลปัตรแฉกถมปัดเป็นพัดยศ
    พ.ศ. ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะยังทรงผนวชอยู่ ทรงเป็นพระเถราจารย์ประธานแห่งพระสงฆ์ธรรมยุตินิกายทรงลาผนวชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นรัชกาลที่ ๔ จึงได้ทรงสถาปนาพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าฤกษ์ เป็นกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ทรงอิศริยยศเป็นประธานาธิบดีแห่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ซึ่งขณะนั้นเรียกว่า “ธรรมยุติกนิกายิกสังฆมัธยมบวรนิเวสาธิคณะ” ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองรองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆปริณายก คือสมเด็จพระสังฆราชอยู่ในขณะนั้น สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเป็นพระองค์แรก
    ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์
    พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ขณะทรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ สมเด็จพระสังฆราช (สาปุสฺ สเทโว) ขณะทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ พระสาสนโสภณ เป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ เมื่อทรงผนวชแล้ว เสด็จประทับที่พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม ในพระบรมมหาราชวังชั้นใน โดยทรงเชิญเสด็จสมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ และนิมนต์พระราชาคณะผู้ใหญ่ต่างวัดเข้าไปอยู่ด้วยพอครบคณะสงฆ์ ทรงผนวชอยู่ ๑๕ วันก็ทรงลาผนวช
    หลังจากเสด็จออกทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชปรารภที่จะถวายมหาสมณุตมาภิเษกพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ในตำแหน่งที่สมเด็จพระสังฆราช แต่สมเด็จมหาสมณเจ้าฯ พระองค์นั้นไม่ทรงรับ ทรงถ่อมพระองค์อยู่ว่า เป็นพระองค์เจ้าในพระราชวังบวรฯ จักข้ามเจ้านายที่เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งทรงเจริญพระชนมายุกว่าก็มี จักเป็นที่ทรงรังเกียจของท่าน จึงทรงรับเลื่อนเพียงเป็นกรมพระ เสมอด้วยเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในชั้นเท่านั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดให้เลื่อนพระ อิศริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖
    การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อนพระอิศริยยศ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่รับถวายมหาสมณุตมาภิเษก ในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุดเท่ากับทรงเป็นสมเด็จ พระสังฆราชดังปรากฏในคำประกาศเลื่อนกรมว่า “สมควรเป็นสังฆปรินายกประธานาธิบดี มีสมณศักดิ์อิศริยยศใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆ์บรรพสัชทั้งปวงในฝ่ายพุทธจักร” ฉะนั้น ในช่วงต้นรัชกาล มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๓๔ เป็นเวลา ๒๓ ปี จึงว่างสมเด็จพระสังฆราช
    ทรงรับมหาสมณุตมาภิเษก
    พ.ศ. ๒๔๓๔ อันเป็นบั้นปลายแห่งพระชนม์ชีพแห่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงถวายมหาสมณุตมาภิเษก ขณะเมื่อทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเจริญพระชนมายุถึง ๘๒ พรรษาแล้ว มาในคราวนี้ ทรงยอมรับถวายมหาสมณุตมาภิเษก เพราะเจ้านายชั้นเดียวกันสิ้นพระชนม์แล้วทั้งสิ้น มีเจ้านายผู้ใหญ่เจริญพระชนมายุเหลืออยู่แต่พระองค์เพียงพระองค์เดียว
    การพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก (ของเดิมเขียน มหาสมณุตมาภิเศก) ทรงพระกรุณาโปรดให้ตั้งพระราชพิธีสงฆ์ในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร มีเทียนชัยและเตียงพระสวดภาณวารตั้งพระแท่นเศวตฉัตร ในนั้น ตั้งพระแท่นสรงที่ศาลากำแพงแก้ว โรงพิธีพราหมณ์ตั้งริมคูนอกกำแพงบริเวณนั้นออกมา มีสวดมนต์ตั้งน้ำวงด้ายวัน ๑ พระสงฆ์ ๒๐ รูป รุ่งเช้าจุดเทียนชัยสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นโปรดให้กรมหมื่นวชิรญาณวโรรสทรงจุด พระสงฆ์เข้าพระราชพิธี ๓๐ รูป สวดมนต์ ๓ เวลาและสวดภาณวาร ๓ วัน ๓ คืน เช้าวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ สรงแล้ว เสด็จขึ้นพระแท่นเศวตรฉัตร มีประกาศกระแสพระบรมราชโองการทรงสถาปนาแล้ว ทรงรับพระสุพรรณบัฏ เครื่องยศ ดอกไม้ธูปเทียนและต้นไม้ทองเงินของหลวงแล้ว ทรงถวายศีล เป็นเสร็จการรับมหาสมณุตมาภิเษกเพียงเท่านี้ ต่อนั้นทรงธรรม ๔ กัณฑ์อนุโลมตามบรมราชาภิเษกกัณฑ์ทศพิธราชธรรมจรรยาเปลี่ยนเป็นไตรสิกขาและ ทรงรับดอกไม้ธูปเทียนของ พระสงฆ์พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ
    ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงพระอัจฉริยภาพในหลายด้าน ซึ่งคนส่วนมากไม่ค่อยจะได้รู้จัก ประการแรก ทรงเป็นปราชญ์ ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีอยู่จำนวนไม่มากนัก ผลงานด้านภาษาบาลีที่สำคัญของพระองค์ก็คือพระนิพนธ์เรื่องสุคตวิทิตถิวิธาน ซึ่งทรงวิเคราะห์ และอธิบายเรื่องคืบพระสุคต พระนิพนธ์เรื่องนี้ ทรงพระนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ในปลายรัชกาลที่ ๓ และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในลังกา ในตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สำหรับในประเทศไทยนั้น เพิ่งจะมารู้จักพระนิพนธ์เรื่องนี้เมื่อต้นรัชกาลที่ ๖ นอกจากพระนิพนธ์เรื่องนี้แล้ว พระองค์ยังทรงพระนิพนธ์เรื่องอื่นๆ เป็นภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง ส่วนพระนิพนธ์ในภาษาไทยก็ทรงไว้หลายเรื่องเช่นกัน ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม และทรงพระปรีชาสามารถทั้งในทางร้อยแก้วและร้อยกรอง ที่สำคัญ เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ โครงพระราชประวัติในรัชกาลที่ ๔
    ทรงเป็นสถาปนิก
    พ.ศ. ๒๓๙๖ อันเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริที่จะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งองค์เดิมเป็นพระเจดีย์ขนาดย่อม ให้เป็นพระมหาเจดีย์สำหรับเป็นที่สักการบูชาของมหาชนสืบไทย จึงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่ยังทรงเป็นกรมหมื่นออกแบบพระเจดีย์ และทรงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์ เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาฯ ถึงแก่พิราลัย ก็โปรดให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) เป็นผู้บัญชาการทำการปฏิสังขรณ์ต่อมาจนสำเร็จ พระปฐมเจดีย์ดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ จึงเป็นผลงานออกแบบของสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงเป็นนักโบราณคดี
    เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ ได้เสด็จธุดงค์ไปยังหัวเมืองต่างๆเป็นเหตุให้ทรงพบศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และจารึกอื่นๆ ในเวลาต่อมาอีกมาก และพระองค์ทรงพยายามศึกษา จนสามารถทรงอ่านข้อความในจารึกดังกล่าวนั้นได้ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติไทย อย่างมหาศาล สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ซึ่งทรงเป็นศิษย์ใกล้ชิดในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ก็ได้ทรงดำเนินรอยตาม เป็นเหตุให้ทรงเชี่ยวชาญในทางโบราณคดีพระองค์หนึ่งของไทยในยุคนั้น ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทย ได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่างๆ ในประเทศไทยไว้มากและได้ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ (อักษรขอม) เป็นพระองค์แรก

    ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์
    นอกจากจะทรงสนพระทัยในการศึกษาทางโบราณคดีแล้ว สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ยังทรงสนพระทัยในเรื่องประวัติศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากผลงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่ทรงพระนิพนธ์ไว้หลายเรื่อง เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นต้น
    ทรงเป็นนักดาราศาสตร์และโหราศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงเป็นที่เลื่องลือว่าเชี่ยวชาญในทางโหราศาสตร์เป็นอันมากแต่ไม่ทรงนิยมการพยากรณ์ ในด้านดาราศาสตร์ก็ทรงเชี่ยวชาญเป็นอย่างยิ่ง ได้ทรงพระนิพนธ์ตำราปักขคณนา (คือตำราการคำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร พระนิพนธ์อันเป็นผลงานของพระองค์ในด้านนี้ไม่ค่อยได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่คนทั่วไปจึงไม่ค่อยรู้จักพระอัจฉริยภาพ ของพระองค์ในเรื่องดังกล่าวเหล่านี้มากนัก
    ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวันติดต่อกันเป็นเวลาถึง ๔๕ ปี เริ่มแต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๙ ในรัชกาลที่ ๓ จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ ในรัชกาลที่ ๕ เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย นับว่าทรงมีความวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทรงเรียกบันทึกของพระองค์ว่า “จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน” และในจดหมายเหตุนี้ยังได้ทรงบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญๆ ไว้ด้วย นับเป็นจดหมายเหตุทางประวัติที่มีค่ามากเรื่องหนึ่ง
    ทรงเป็นกวี
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงพระนิพนธ์เรื่องราวต่างๆ ไว้มาก ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ในส่วนที่เป็นภาษาไทยนั้นทรงพระนิพนธ์เป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ไว้ก็จำนวนมาก เช่น โคลงพระราชประวัติรัชกาลที่ ๔ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงเป็นกวีนักอักษรศาสตร์ที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย
    เมื่อกล่าวถึงเรื่องพระกริ่ง คนส่วนมากก็คงจะเคยได้ยินเรื่องพระกริ่งปวเรศ ซึ่งนิยมนับถือกันว่าเป็นยอดแห่งพระกริ่งในสยามพระกริ่งปวเรศเป็นพุทธศิลป์ที่สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ได้ทรงพระดำริสร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕ นับเป็นการให้กำเนิดพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และได้เป็นแบบอย่างให้มีการสร้างพระกริ่ง กันขึ้นในเวลาต่อมาจนกระทั่งทุกวันนี้
    พระอวสานกาล
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ตลอดถึงพระบรมวงศานุวงศ์เป็นอันมาก ทรงเป็นที่ปรึกษาในกิจการบ้านเมืองที่สำคัญๆ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ มาตลอดพระชนมชีพ ดังจะเห็นได้จากความในพระราชหัตถเลขาที่กราบทูลสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น บางตอนว่า “ทุกวันนี้หม่อมฉันเหมือนตัวคนเดียว ได้อาศัยอยู่แค่สมเด็จกรมพระกับสมเด็จเป็นที่พึ่งที่ปรึกษา เป็นพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ ขอให้ทรงพิเคราะห์การให้ละเอียดด้วย”
    ในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงประชวรต้อกระจก ในที่สุดพระเนตรมืด ครั้ง พ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงประชวรพระโรคกลัดพระบังคนหนัก จัดเข้าในพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อเช้าตรู่ของวันพฤหัสบดีที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ สิริรวมพระชนมายุได้ ๘๓ พรรษา ทรงครองวัดบวรนิเวศเป็นเวลา ๔๑ ปี ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียง ๑๑ เดือนเศษ ได้พระราชทานพระโกศกุดั่งใหญ่ทรงพระศพ
    พระศพสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ประดิษฐานอยู่ ณ พระตำหนักเดิม (คือที่เสด็จประทับ) วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลาถึง ๘ ปี จึงได้พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๔๔๓
    ทรงสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนาม
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะเมื่อทรงดำรงพระสมณฐานันดรเป็น สมเด็จพระมหาสังฆปริณายก ที่ สมเด็จพระสังฆราชนั้น ยังไม่มีคำนำพระนามที่บ่งบอกถึงพระเกียรติยศ ในทางสมณศักดิ์ คือเรียกพระนามไปตามพระอิศริยยศแห่งบรมราชวงศ์ว่า “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จ พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” มาในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” ในคราวเดียวกันกับที่ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ จึงได้เรียกกันว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่นั้นเป็นต้นมา

    ย่อความจาก "ธรรมจักษุ"
    นิตยสารทางพระพุทธศาสนารายเดือน
    จัดทำโดย มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับในวันงานใหญ่ ในเดือนหน้า ผมจะนำพระกริ่งปวเรศ จำนวน 5 องค์ ไปให้สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และคณะพระวังหน้า ได้ร่วมทำบุญกัน โดยเงินที่ร่วมทำบุญนั้น ผมจะนำเข้าบัญชีชมรมรักษ์พระวังหน้าทั้งหมด เพื่อที่จะไว้เป็นทุนในการร่วมทำบุญในงานบุญต่างๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายต่างๆของชมรมรักษ์พระวังหน้า

    1.ให้ร่วมทำบุญ 10,000 บาท/1องค์ สำหรับสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า
    2.ให้ร่วมทำบุญ 20,000 บาท/1องค์ สำหรับคณะพระวังหน้า
    3.ให้ร่วมทำบุญ 5,000,000 บาท/1องค์ สำหรับบุคคลทั่วไปที่ไปในงาน

    [​IMG]

    [​IMG]

    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --> <!-- / message --><!-- sig -->
     
  10. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    สวัสดีตอนเช้าครับทุกท่าน

    ชาวรักษ์พระวังหน้า + ท่านที่มีความสนใจพระวังหน้าครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    รายนามผู้จองหนังสือปู่เล่าให้ฟัง

    ซึ่งผมได้ส่งรายชื่อให้กับคุณปุ๊ เพื่อดำเนินการสั่งพิมพ์หนังสือแล้วนะครับ

    <TABLE style="WIDTH: 105pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=140 border=0 x:str><COLGROUP><COL style="WIDTH: 105pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5120" width=140><TBODY><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 105pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=140 height=37>คุณNongnooo</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณแหน่ง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณjirautes</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณพรสว่าง_2008</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณpsombat</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณลุงจิ๋ว</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณsira</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณมูริญโญ่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณPhocharoen</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณdrmetta</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>เจ้าของวัดไ......</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณchai wong</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณkiitii</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณdragonlord</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>ผู้กองท๊อป</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณlittlelucky</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณtawatd</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณsithiphong</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>ชมรมรักษ์พระวังหน้า</TD></TR><TR style="HEIGHT: 27.75pt" height=37><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 27.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=37>คุณkaicp</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ส่วนหนังสือ น่าจะรับได้ในวันงานใหญ่

    ส่วนท่านที่ไม่ได้ไปในงานใหญ่ (ที่ส่งค่าจัดส่งให้ผม) ผมจะดำเนินการจัดส่งให้หลังจากที่ผมได้รับหนังสือแล้วนะครับ
    โมทนาสาธุครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 28 ครั้ง

    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 5 ครั้ง
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    รู้ไว้ใช่ว่า ก่อนเริ่มกินเจ

    อาหารเจ เมนูอาหารเจ กินเจ อย่างถูกวิธี


    [​IMG]


    รู้ไว้ใช้ว่า ก่อนเริ่มกินเจ (ไทยรัฐ)
    ที่มา : ศูนย์ข้อมูลสุขภาพกรุงเทพ

    "อาหารเจ" เป็นอาหารที่บริโภคในช่วงถือศีลเจ ซึ่งเป็นเทศกาลการปฏิบัติตนทั้งทางกายและใจไม่กินเนื้อสัตว์ เป็นเทศกาลในช่วงเดือน 9 ขึ้น 1-9 ค่ำของจีน ประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี ในช่วงนี้เราจะเห็นร้านอาหารมากมาย รวมทั้งตามศูนย์การค้าจะมีการขายอาหารสำเร็จรูปเจ อาหารแห้งเจ หรือแม้แต่อาหารหลายอย่างที่เดิม ๆ ก็จัดเป็นอาหารสำหรับผู้ที่ไม่กินเนื้อสัตว์อยู่แล้ว ก็มีการติดฉลากเป็นอาหารเจไปด้วย ทั้งนี้ เพราะความนิยมการกินอาหารแบบนี้ในเทศกาลช่วง 9 วันมีมากขึ้น

    [​IMG] หลักการถือศีลเจ

    การถือศีลเจ เป็นช่วงเวลาของการปฏิบัติตามศีล 3 ข้อใหญ่ คือ

    [​IMG] เจที่ปาก ไม่กินเนื้อสัตว์ ไม่พูดเพ้อเจ้อ ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดจายุแหย่ส่อเสียด

    [​IMG] เจที่กาย ไม่ประพฤติชั่ว ไม่ฆ่าสัตว์

    [​IMG] เจที่ใจ ไมีคิดชั่วร้าย ไม่คิดไร้สาระ มีสมาธิ

    จะเห็นว่านอกจากไม่กินเนื้อสัตว์แล้ว ยังมุ่งไปที่ความมีจิตใจและการปฏิบัติอื่น ๆ ที่ดี ละเว้นความชั่ว

    [​IMG] ผักฉุนทั้งห้า

    อาหารเจ เป็นอาหารที่ปรุงโดยปราศจากเนื้อสัตว์รวมทั้งไม่มีส่วนประกอบอื่นใดที่นำมาจากเนื้อสัตว์ทุกประเภท ที่สำคัญอาหารเจงดเว้นการปรุงการเสพผักฉุน 5 ประเภท ได้แก่

    [​IMG] กระเทียม รวมถึง หัวกระเทียม ต้นกระเทียม

    [​IMG] หัวหอม รวมถึง ต้นหอม ใบหอม หอมแดง หอมขาว หอมหัวใหญ่

    [​IMG] หลักเกียว เป็นกระเทียมโทนจีน ลักษณะคล้ายหัวกระเทียม ในประเทศไทยไม่พบว่าปลูกแพร่หลาย

    [​IMG] กุ้ยฉ่าย ใบคล้ายใบหอม แต่แบนและเล็กกว่า

    [​IMG] ใบยาสูบ บุหรี่ ยาเส้น ของเสพติด มึนเมา

    เชื่อกันว่าผักดังกล่าวนี้ เป็นผักที่มีรสหนัก กลิ่นเหม็นคาวรุนแรง นอกจากนี้ยังมีพิษคอยทำลายพลังธาตุทั้ง 5 ในร่างกาย เป็นมูลเหตุให้อวัยวะหลักสำคัญภายในทั้ง 5 ทำงานไม่ปกติ

    [​IMG] กินอาหารเจ หรือมังสวิรัติอย่างไรให้ถูกหลัก

    หลาย ๆ ท่านอาจรับประทานมังสวิรัติเป็นกิจวัตร แม้ว่าการรับประทานอาหารแบบนี้ มีผลดีมากต่อร่างกาย โดยเฉพาะป้องกันโรคที่เกี่ยวกับหลอดเลือด อย่างไรก็ตามควรตระหนักว่า การรับประทานไม่ถูกต้อง มีผลเสียต่อร่างกายมากกว่าครับ เรามาดูคำแนะนำของสมาคมโรคหัวใจว่า รับประทานมังสวิรัตอย่างไรจะดี

    อาหารที่ประกอบด้วยผักจะมีเส้นใยและวิตามินมาก ช่วยในระบบการย่อย ป้องกันโรคอ้วน ในขณะที่มีไขมันน้อย โปรตีนและธาตุเหล็ก รวมถึงวิตามินบี 12 ซึ่งอยู่ในเนื้อสัตว์จะน้อย การรับประทานอาหารมังสวิรัติ ถ้าทานไม่เป็น อาจขาดสารอาหารเหล่านี้ ดังนั้น ข้อแนะนำคือ

    [​IMG] รับประทานโปรตีนให้เพียงพอ แหล่งโปรตีนในพืชจะมาจากถั่วลิสง ถั่วเหลือง

    [​IMG] รับประทานถั่ว ธัญพืช ข่าวซ้อมมือ ที่มีวิตามินสูง

    [​IMG] รับประทานผักที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ผักโขม ถั่วลิสง และถ้าจำเป็น อาจรับประทานแคปซูลธาตุเหล็กเสริม
    ประทานวิตามิน บี 12 เสริม

    [​IMG] เลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาล หรือไขมันสูงไป

    [​IMG] โปรตีนจากเนื้อสัตว์

    เนื้อสัตว์จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนชนิดสมบูรณ์ ซึ่งประกอบไปด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายที่มนุษย์ไม่สามารถสังเคราะห์ได้ครบถ้วน ตามความต้องการของร่างกาย

    โปรตีนจากเนื้อสัตว์ เป็นโปรตีนที่มีคุณค่าสูง นอกจากจะประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นครบถ้วนแล้ว ยังมีคุณสมบัติถูกย่อยได้ดีร่างกายจึงสามารถดูดซึมและนำไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย ขณะที่โปรตีนจากพืชและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจะมีกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นสูง จึงจัดเป็นโปรตีนที่มีคุณค่าต่ำ

    การบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จะได้ปริมาณโปรตีนแตกต่างกันไปด้วย เนื้อสัตว์หมายถึงส่วนที่ได้จากสัตว์เพื่อนำมาเป็นอาหาร ได้แก่ กล้ามเนื้อและ อวัยวะภายในต่าง ๆ เช่น ตับ หัวใจ และส่วนอื่นที่บริโภคได้ เช่น หนัง กระดูก เป็นต้น เนื้อที่ได้จากสัตว์ที่ชนิด พันธุ์และอายุต่างกันจะมีองค์ประกอบทางเคมีที่ต่างกัน กล้ามเนื้อ ของสัตว์จะมีองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ น้ำประมาณร้อยละ 65-80 โปรตีนประมาณร้อยละ 16-22 ไขมันประมาณร้อยละ 5-25 เถ้าและคาร์โบไฮเดรตชนิดละประมาณร้อยละ 1

    เนื้อสัตว์ยังเป็นแหล่งของแร่ธาตุทุกชนิดโดยเฉพาะฟอสฟอรัสและเหล็ก ส่วนใหญ่แร่ธาตุเหล่านี้จะอยู่ในส่วนที่เป็นน้ำและโปรตีนของเนื้อสัตว์ เมื่อเปรียบเทียบเนื้อแดงกับเนื้อที่มีไขมันปนอยู่ พบว่าเนื้อที่เป็นเนื้อแดง จะเป็นแหล่งแร่ธาตุที่ดีกว่าเนื้อที่มีไขมัน เมื่อถูกความร้อนเพื่อทำให้สุกนั้น แร่ธาตุส่วนใหญ่โดยเฉพาะธาตุเหล็กจะยังคงเหลือครบ

    โปรตีนเป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญของเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะส่วนกล้ามเนื้อโครงร่างซึ่งมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 16–22

    โปรตีนในเนื้อสัตว์ถูกแบ่งตามแหล่งที่มาและความสามารถในการละลายได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ไมโอไฟบริลลาร์โปรตีน (myofibrillar protein) ซาร์โคปลาสมิกโปรตีน (sarcoplasmic protein) และสโตรมาโปรตีน (stroma protein)

    [​IMG] ไมโอไฟบริลลาร์โปรตีน เป็นโปรตีนที่พบมากที่สุดประมาณร้อยละ 55 ของโปรตีนทั้งหมดในเนื้อสัตว์ โปรตีนชนิดนี้ทำหน้าที่ในการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ เนื่องจากไมโอไฟบริลลาร์อยู่ในเส้นใยย่อยจึงอาจเรียกว่า โปรตีนเส้นใยย่อย สามารถละลายได้ในสารละลายเกลือ โปรตีนที่พบมากที่สุดในกลุ่มนี้ คือ ไมโอซิน แอกทิน โทรโปนิน และโทรโปไมโอซิน เป็นต้น

    [​IMG] ซาร์โคปลาสมิกโปรตีน เป็นโปรตีนที่ห่อหุ้มรอบเส้นใยย่อย ซึ่งละลายอยู่ในส่วนของซาร์โคพลาสซึมจึงเรียกว่า ซาร์โคปลาสมิกโปรตีน โดยมีประมาณร้อยละ 30 ของปริมาณโปรตีนทั้งหมด ซาร์โคปลาสมิกโปรตีนเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติจะละลายได้ในน้ำและสารละลายน้ำเกลืออ่อน ๆ โปรตีนในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วยไมโอโกลบิน ฮีโมโกลบิน ไซโตโครม และเอนไซม์ต่าง ๆ เป็นต้น

    [​IMG] สโตรมาโปรตีน เป็นโปรตีนที่มีองค์ประกอบเหมือนกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน จึงอาจเรียกอีกอย่างว่า โปรตีนจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน สโตรมาโปรตีนมีอยู่ประมาณร้อยละ 15 เปอร์เซ็นต์ของโปรตีนทั้งหมด โปรตีนในกลุ่มนี้ ได้แก่ คอลลาเจน อิลาสติน และเรติคิวลิน เป็นต้น โปรตีนเหล่านี้ละลายบ้างในสารละลายเข้มข้นของกรดและเบส

    [​IMG] วิตามินบี 12

    อาหารมังสวิรัติส่วนใหญ่มีธาตุเหล็ก และวิตามินบี 12 ต่ำ อาหารที่มีวิตามินบี 12 พบมากในอาหารจากสัตว์และนม ได้แก่ ปลา ไก่ ไก่งวง เนื้อ นม ผลิตภัณฑ์จากนม เช่น เนย โยเกิร์ต วิตามินบี 12 จำเป็นสำหรับการทำงานของเซลล์ในร่างกาย โดยเฉพาะเซลล์ของระบบประสาท และทางเดินอาหาร พบว่าในไขกระดูกวิตามินบี 12 ทำหน้าที่ช่วยเร่งปฏิกิริยาการสังเคราะห์ DNA ทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแบ่งตัวตามปกติ ถ้าขาดวิตามินบี 12 การสังเคราะห์ DNA จะไม่เกิดขึ้น เซลล์เม็ดเลือดจะไม่มีการแบ่งตัว ทำให้เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่ และถูกส่งเข้ากระแสเลือดแทนเม็ดเลือดแดงขนาดปกติ มีผลทำให้จำนวนเม็ดเลือดแดงมีจำนวนน้อยลง และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเชียส

    วิตามินบี 12 ต้องอาศัยกรดจากกระเพาะอาหาร สารช่วยการดูดซึมจากกระเพาะอาหาร และน้ำย่อยโปรตีนทั้งจากกระเพาะอาหาร และตับอ่อน เพื่อสกัดวิตามินชนิดนี้ออกจากโปรตีน เช่น เนื้อ ฯลฯ และดูดซึมที่ลำไส้เล็ก วิตามินบี 12 เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ช่วยในการดูดซึมสารแคโรทีน และเปลี่ยนสารแคโรทีนเป็นวิตามินเอ ช่วยในการสังเคราะห์ เมทธิโอนีน และโคลีนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในสารที่ช่วยป้องกันการสะสมไขมันในตับ

    การขาดวิตามินบี 12 อาจทำให้เกิดโรคเลือดจาง เส้นประสาทเสื่อมสภาพ หรือมีอาการจากระบบประสาทหลายอย่าง เช่น ความจำเสื่อม สมาธิ หรือความสามารถในการใส่ใจการงานตกลง เกิดความรู้สึกผิดปกติ เช่น ร้อนเหมือนถูกไฟ คัน ความรับรู้สัมผัสลดลง

    คนที่เสี่ยงต่อการขาดวิตามินบี 12 มากหน่อย ได้แก่ คนที่กินมังสวิรัติแบบไม่กินเนื้อด้วย ไม่กินนมด้วย คนที่อายุ 50 ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนหนึ่งกระเพาะอาหารเริ่มเสื่อมสภาพไปตามอายุ ทำให้การหลั่งกรดออกมาน้อยลง ปัจจุบันยังไม่ทราบความต้องการวิตามินบี 12 ของคน แต่ในอาหารที่บริโภคทั่วไปจะมีวิตามินบี 12 ประมาณ 2 -10 ไมโครกรัม

    การกินวิตามินรวมวันละ 1 เม็ดพร้อมอาหาร เพื่อให้การดูดซึมดีขึ้น ช่วยป้องกันภาวะขาดวิตะมินบี 12 ได้ หรือจะกินวิตามินรวมครั้งละ 1 เม็ด วันเว้นวัน การดูดซึมวิตามินบี 12 เนื่องจากวิตามินบี 12 เป็นวิตามินที่มีโคบอลท์ประกอบอยู่ในโมเลกุล จึงทำให้โมเลกุลมีขนาดใหญ่ การดูดซึมต้องอาศัยสารอินทรินสิก แฟกเตอร์ ช่วยพาวิตามินบี12 มาที่ลำไส้เล็กตอนปลายแล้วปล่อยให้ซึมผ่านเข้าผนังลำไส้เล็กสู่กระแสโลหิต เมื่อเข้าสู่กระแสโลหิตแล้วจะรวมตัวกับโปรตีนขนส่ง (transcobalamin) เพื่อส่งวิตามินไปยังอวัยวะต่าง ๆ โดยอวัยวะที่พบมาก ได้แก่ ตับ ไต หัวใจ และสมอง ในร่างกายมีการสะสมวิตามินบี12 ที่ตับประมาณ 5,000 ไมโครกรัม ซึ่งเป็นวิตามินชนิดเดียวที่ร่างกายเก็บสะสมไว้ได้มากที่สุด

    วิตามินบี 12 เป็นวิตามินที่ละลายน้ำง่าย ในโมเลกุลประกอบด้วยเกลือแร่ 2 ตัว คือ โคบอลท์ และฟอสฟอรัส ในธรรมชาติมีหลายรูปแต่ที่สำคัญ คือ ไซยาโนโคบาลามิน (cyanocobalamin) กับไฮดรอกซีโคบาลามิน (hydroxycobalamin) แต่เรียกชื่อรวมว่า โคบาลามิน วิตามินบี 12 สลายตัวง่ายเมื่อถูกกรด ด่าง หรือแสงสว่าง

    ประวัติการค้นพบ ในปี ค.ศ. 1926 ไมน็อต และเมอร์ฟี่ (Minot and Murphy) รักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเชียส แอนิเมีย โดยให้กินตับ ต่อมาในปี ค.ศ. 1929 คาสเซิล (Castle) พบว่าโรคโลหิตจางเกิดจากขาดสารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดงซึ่งประกอบด้วย extrinsic factor ที่ได้จากอาหาร และ intrinsic factor ซึ่งมีในกระเพาะอาหาร ในปีค.ศ. 1948 กลุ่มของริคเคส สมิธ และพาร์เคอร์ (Rickes, Smith and Parker) แยกสารชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นผลึกสีแดงได้จากตับ และสารนี้สามารถแก้ไขโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเชียส แอนิเมีย และพบว่าเป็นตัวเดียวกับ extrinsic factor ของคาสเซิล ในปี ค.ศ. 1965 ชาลเมอร์ และชินตัน (Chalmers and Shinton) ประสบความสำเร็จในการผลิตวิตามินบี 12 จากแบคทีเรีย และในปี ค.ศ. 1973 วูดเวิร์ด (Woodword) สังเคราะห์วิตามินบี 12 ทางเคมีได้สำเร็จ

    อาหารพวกพืช เช่น ถั่วเมล็ดแห้ง ข้าว และผัก มีวิตามินบี 12 น้อยมาก อาหารที่ได้จากการหมัก เช่น ปลาหมัก ถั่วหมักจะมีวิตามินบี 12 มากขึ้น ดังนั้นกลุ่มผู้ที่บริโภคอาหารมังสวิรัติ หรือผู้ที่ไม่บริโภคเนื้อสัตว์ แต่บริโภคน้ำปลา ซีอิ๊ว และเต้าเจี้ยว จึงไม่เป็นโรคโลหิตจาง เพราะได้รับวิตามินบี 12 จากอาหารเหล่านี้ และได้จากการสังเคราะห์ของแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่

    เคล็ดลับสุขภาพ สุขภาพใกล้ตัว โรคและการป้องกัน คลิกเลย

    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก ไทยรัฐ
    [​IMG]

    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    โดนจับแน่! ไฟฟ้าเอาจริง มิจฉาชีพแต่งมิเตอร์ประหยัดไฟ



    [​IMG]



    ไฟฟ้าเอาจริงแต่งมิเตอร์ หลังพบมิจฉาชีพหลอกประหยัดไฟ-โดนทั้งแพ่งและอาญา (ไทยรัฐ)


    กฟน. พบมิจฉาชีพ แอบตกแต่งมิเตอร์ไฟฟ้า ทำให้ราคาถูกกว่าปกติ โดยติดตั้งอุปกรณ์ หยุดการทำงานของเครื่องวัด หากจับได้ต้องจ่ายเบี้ยปรับและค่าไฟฟ้าย้อนหลัง


    นางสุดารัตน์ จันทร์น้อย ผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ การไฟฟ้านครหลวง(กฟน.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ได้มีกลุ่มมิจฉาชีพแอบอ้างว่า สามารถทำให้ค่าไฟฟ้าทั้งที่บ้านและสถานประกอบการถูกลงกว่าปกติ โดยการติดตั้งอุปกรณ์เครื่องประหยัดไฟฟ้าเพิ่มเติม และดัดแปลงแก้ไขเครื่องวัดฯหรือมิเตอร์ โดยอ้างว่าไม่ผิดกฎหมายหรือไม่ผิดระเบียบของ กฟน. นอกจากนี้ยังพบมิจฉาชีพอีกกลุ่มแอบอ้างกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประกอบธุรกิจต่าง ๆ ว่าสามารถช่วยให้ค่าไฟฟ้าลดลงได้ โดยทำการติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไว้ในเครื่องวัดฯ และบังคับให้อุปกรณ์ทำงานด้วยรีโมตคอนโทรล เพื่อหยุดการทำงานของเครื่องวัดฯ ซึ่งการกระทำดังกล่าว กฟน. สามารถตรวจสอบได้ไม่ยาก และขอแจ้งให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทราบว่า เมื่อตรวจพบว่ามีการกระทำที่เครื่องวัดฯ เพื่อให้แสดงค่าลดลง เจ้าของบ้านหรือผู้ประกอบการธุรกิจที่เป็นเจ้าของเครื่องวัดฯ จะต้องถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา รวมถึงต้องจ่ายเบี้ยปรับ และค่าไฟฟ้าย้อนหลังตามระเบียบของ กฟน. อีกด้วย


    นางสุดารัตน์ กล่าวว่า วิธีที่ถูกต้องในการทำให้ค่าไฟฟ้าลดลงคือ ต้องใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 ลดการใช้ไฟฟ้าในส่วนที่ฟุ่มเฟือยหรือไม่จำเป็น ใช้อย่างถูกวิธี และควรมีการบำรุงรักษาตามระยะเวลาการใช้งาน เช่น ล้างเครื่องปรับอากาศปีละ 2 ครั้ง เป็นต้น สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าหากพบเห็นกลุ่มบุคคลที่มีพฤติกรรมดังกล่าวขอให้แจ้ง กฟน. ทราบทันที ที่ศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้า หมายเลข โทรศัพท์ 1130 ตลอด 24 ชั่วโมง ทาง กฟน. จะปกปิดข้อมูลของผู้แจ้งให้เป็นความลับ และมีรางวัลนำจับให้แก่ผู้ที่แจ้งเบาะแส ในการช่วยรักษาผลประโยชน์และทรัพย์สินของส่วนรวมด้วย



    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก ไทยรัฐ
    [​IMG]
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ย้ากส์!

    เอิ๊กอ๊ากอินเตอร์

    ˹ѧ��;��������ʴ�͹�Ź� : �ú�ء�� ʴ�ء����ͧ==



    แมตส์ ฮัมนัส ลุงวัย 62 ปี ในเมืองเฮลซิงบอร์ก สวีเดน กดชัตเตอร์แมวที่บ้านมาอวด ลงหนังสือพิมพ์เดลี่เมล์แดนผู้ดี

    เจ้ามัฟฟี่กับ เจ้าไทเกอร์ มันเหาะสู้กันได้ใจ เหมือนฉากในเคราชิ่ง ไทเกอร์ ฮิดเดน ดราก้อน

    [​IMG]


    [​IMG]

    "มันสู้กันสุดฤทธิ์ แต่พอสู้เสร็จ มันก็กลับเข้าบ้าน ไปนอนซุกกันเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น" ลุงฮัมนัสกล่าว

    คนน่าเอาเยี่ยงอย่างใช่มั้ยลุง?


    ˹ѧ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    สำหรับในวันงานใหญ่ ในเดือนหน้า ผมจะนำพระกริ่งปวเรศ จำนวน 5 องค์ ไปให้สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และคณะพระวังหน้า ได้ร่วมทำบุญกัน โดยเงินที่ร่วมทำบุญนั้น ผมจะนำเข้าบัญชีชมรมรักษ์พระวังหน้าทั้งหมด เพื่อที่จะไว้เป็นทุนในการร่วมทำบุญในงานบุญต่างๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายต่างๆของชมรมรักษ์พระวังหน้า

    1.ให้ร่วมทำบุญ 10,000 บาท/1องค์ สำหรับสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า
    2.ให้ร่วมทำบุญ 20,000 บาท/1องค์ สำหรับคณะพระวังหน้า
    3.ให้ร่วมทำบุญ 5,000,000 บาท/1องค์ สำหรับบุคคลทั่วไปที่ไปในงาน

    [​IMG]

    [​IMG]

    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 73 ครั้ง

    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 6 ครั้ง
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ psombat [​IMG]
    เอ่อ ถ้าที่วัดไ...... ก็ยังพอมีหวังครับ แต่บ้านคุณเพชร น่าจะยากแน่เลย

    สิ่งที่สำคัญที่สุด ต้องเป็นพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม เป็นที่สุด

    เนื่องจาก เราทุกๆท่าน เกิดมาในยุคสมัยที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม เผยแพร่พระพุทธศาสนา ซึ่งผมเปรียบได้เหมือนกับ พ่อ แต่หากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์อื่นๆที่ตรัสรู้และปรินิพพานแล้ว ผมเปรียบเหมือนกับ ทวด หรือ ปู่ หรือ ลุง

    ทวด หรือ ปู่ หรือ ลุง ต้องไหว้
    พ่อ ต้องกราบครับ

    ส่วนเรื่องของ 16 ชั้นฟ้า ผมตามหาอยู่ครับ แต่ยังไม่รู้ว่า จะมีโอกาสได้หรือไม่ เป็นเรื่องที่ยากมากๆๆๆๆ แต่คำที่ว่า พระท่านเลือกคนนั้น ถูกต้องเสมอ ขอบคุณในกำลังใจนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    หากไม่มีอะไรผิดพลาด วันเสาร์(17 ตค.)นี้ ผมจะไปที่วัดไ....... ผมจะไปคุยกับเจ้าของว่า จะมีความประสงค์ที่จะนำสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า เข้ากราบสักการะ พระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้ความคืบหน้าอย่างไร จะแจ้งให้ทราบบนบอร์ดอีกครั้ง

    แต่หากผมได้วันและเวลามา ผมจะแจ้งให้ทราบทาง Email นะครับ จะไม่แจ้งบนบอร์ด

    .
     
  18. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    โอ้ว...ขอให้ฝันเป็นจริง โมทนาสาธุครับ :)
     
  19. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ได้มาจาก www.krusiam.com ครับ


    1. เรื่องเริ่มขึ้นตอนเมื่อผมเป็นเด็ก ๆ ผมเกิดในครอบครัวยากจน ครอบครัวของเราจนมากจนต้องอดข้าวบ่อย ๆ เมื่อไหร่ก็ตามเมื่อถึงเวลากินข้าว...แม่จะแบ่งข้าวม าให้ผมเพิ่มขึ้นอีก พร้อมทั้งพูดว่า"ลูกต้องกินข้าวเพิ่มขึ้นนะ...ส่วนแม ่ไม่ค่อยหิว"
    นี้เป็นครั้งแรกที่แม่โกหกผม

    2. เมื่อผมเติบโตขึ้น คุณแม่เพียรพยายามหาเวลาว่างไปตกปลาในแม่น้ำ เพื่อว่าผมจะได้กินอาหารที่มีประโยชน์ต่อการเจริญเติ บโตของผม แม่ต้มปลาที่ตกมาได้ทำเป็นซุปให้ผมกิน ในขณะที่ผมกินแกงต้มปลา..แม่จะนั่งข้าง ๆผม แทะกิน เศษเนื้อปลาที่ติดอยู่ตามก้างปลาหลังจากที่ผมไ ด้กินเนื้อปลาไปแล้ว
    ผมรู้สึกตื้นตันใจมาก..ผมพยายามแบ่งเนื้อปลาให้แม่ แต่แม่ปฎิเสธทันควันพร้อมกับกล่าวว่า "ลูกกินเถอะ...แม่ไม่ค่อยชอบกินเนื้อปลา"
    นี่เป็นครั้งที่ 2 ที่แม่โกหกผม

    3. เมื่อผมเรียนอยู่ชั้นมัธยม เราต้องใช้เงินเพิ่มมากขึ้น แม่ต้องหารายได้พิเศษด้วยการรับงานเล็ก ๆน้อยจากโรงงานมาทำที่บ้าน บางครั้งผมตื่นขึ้นมาตอนตี 1 หรือตี 2...ผมยังเห็นแม่กำลังทำงาน "แม่ครับ...นอนเถอะครับมันดึกมากแล้ว พรุ่งนี้แม่ต้องไปทำงานอีก"
    แม่ยิ้มกับผมพูดว่า "ลูกนอนต่อก่อนนะ...แม่ยังไม่เหนื่อย...นอนไม่หลับ"
    ครั้งที่ 3 แล้วที่แม่โกหกผม

    4. ตอนเมื่อใกล้จบชั้นมัธยมผมต้องไปสอบเป็นวันสุดท้าย แม่อุตส่าห์หยุดงานไปเป็นเพื่อนและเพื่อเป็นกำลังใจใ ห้ผม มันเป็นวันที่แดดร้อนมาก ๆ...แม่ต้องรอผมอยู่หลายชม. เมื่อผมทำข้อสอบเสร็จ...รีบออกมาหาแม่ เห็นแม่ผมมีเหงื่อออกท่วมตัว.. แต่ท่านกลับรินน้ำเย็นที่เตรียมมาให้ผมดื่ม ผมเห็นแม่รู้สึกเหนื่อยและร้อนจึงขอให้แม่ดื่มน้ำก่อน แม่พูดขึ้นว่า "ลูกดื่มเถอะ....แม่ยังไม่กระหายน้ำ"
    นั่นเป็นครั้งที่ 4 ที่แม่โกหกผม

    5. หลังจากที่พ่อผมล้มป่วยและเสียชีวิต คุณแม่ที่น่าสงสารต้องทำงานหนักขึ้นเพื่อหารายได้มาจ ุนเจือครอบครัว แต่ก็ยังไม่ค่อยเพียงพอไม่ว่าคุณแม่จะพยายามมากขึ้นเ พียงไร คุณลุงที่อยู่ข้าง ๆบ้านท่านเป็นคนดี พยายามมาช่วยเหลือครอบครัวเราเสมอ....เช่นซ่อมแซมบ้า นที่ผุพัง..ฯลฯ เพื่อนบ้านเห็นครอบครัวลำบากมากก็แนะนำให้แม่แต่งงาน ใหม่ แต่แม่ยืนกรานไม่เห็นด้วย แม่พูดกับผมว่า "แม่มีลูกอยู่ทั้งคน...แม่ไม่ต้องความรักอีก"
    แม่โกหกผมเป็นครั้งที่ 5 แล้ว

    6. ในทื่สุดผมก็เรียนจบและมีงานทำ ผมอยากให้แม่ซึ่งตรากตรำทำงานหนักมาตลอดได้พักผ่อนบ้าง
    แต่แม่ไม่ยอม.....กลับไปตลาดทุกเช้า ขายผักที่หามาได้เพื่อเลี้ยงชีพทั้ง ๆที่ผมพยายามส่งเงินมาให้แม่
    (ผมต้องไปทำงานในเมืองที่ห่างไกล) แม่ผมไม่ค่อยยอมรับเงินผม..บางครั้งยังส่งเงินกลับคื นให้ผมอีก
    แม่พูดกับผมว่า "แม่มีเงินพอใช้แล้ว...ลูกควรเก็บเงินไว้สร้างฐานะ"
    แม่โกหกผมเป็นครั้งที่ 6

    7. เพื่ออนาคตที่ก้าวหน้า.. ผมตัดสินใจเรียนต่อปริญญาโทด้วยทุนของมหาวิทยาลัยที่ม ีชื่อเสียงในอเมริกา เมื่อผมเรียนจบก็ได้งานทำที่นั่นและมีเงินเดือนค่อนข้างสูง เมื่อทำงานไปได้สักพัก...ผมอยากให้แม่ผมมาอยู่กับผมท ี่อเมริกา เพื่อว่าแม่จะได้หยุดทำงาน...พักผ่อนให้สบายในบั้นปลายของชีวิต
    แต่แม่ผมไม่อยากรบกวนผม...บอกผมว่า "แม่ไม่คุ้นเคยกับชีวิตต่างแดน"
    ครั้งที่ 7 แล้วซินะที่แม่โกหกผม

    8. เมื่อแม่แก่ตัวลงไปเรื่อย ๆ.. ในที่สุดแม่ก็เป็นมะเร็งและต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โ รงพยาบาล
    ผมลางานแล้วรีบบินกลับมาหาแม่สุดที่รักทันที แม่ผมนอนพักฟื้นอยู่บนเตียงเมื่อผมไปถึง
    น้ำตาผมไหลอาบแก้มเมื่อเห็นแม่ซึ่งผ่ายผอมและดูทรุดโ ทรมลงอย่างมาก แม่รู้สึกดีใจมากที่เห็นผม....พยายามยิ้มอย่างสดชื่น ด้วยความลำบาก ผมรู้ดีว่าแม่ได้ฝืนความเจ็บปวดรวดร้าวอย่างสุดฝืน
    จากโรคมะเร็งร้ายที่ลามไปทั่วทั้งตัว ผมโอบกอดแม่พร้อมกับร้องไห้ด้วยความสงสาร หัวใจผมในขณะนั้นเศร้าหมองและเจ็บปวดอย่างที่สุด แม่พยายามปลอบผมด้วยเสียงที่แหบพร่าและสั่นเครือ
    "ลูกรักของแม่...เห็นหน้าลูกแม่ไม่รู้สึกเจ็บแล้ ว"
    นี่เป็นครั้งที่ 8 ที่แม่โกหก

    และเป็นครั้งสุดท้ายในชีวิตของแม่ที่โกหกผม แม่ที่ผมรักและบูชามาตลอดชีวิตได้ปิดตาลงและจากผมไปอย่างไม่มีวันกลับ หลังจากที่เธอกล่าวคำโกหกครั้งที่ 8 จบลง.........
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 ตุลาคม 2009
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตั้งแต่วันนี้ ให้สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า ,คณะพระวังหน้า และท่านที่มีความจงรักภักดีต่อในหลวงของคนไทย ร่วมกันนั่งสมาธิภาวนาให้พระองค์ท่าน หายจากการประชวรในครั้งนี้โดยเร็วพลันนะครับ

    ขอบคุณครับ

    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong
    เลขานุการชมรมรักษ์พระวังหน้า
     

แชร์หน้านี้

Loading...