พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->
    <TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange" colSpan=3><CENTER>ข้อมูล</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>27 มิถุนายน พ.ศ. 2421</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันทิวงคต</TD><TD colSpan=2>4 มกราคม พ.ศ. 2437</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชบิดา</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชมารดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๗ แรม ๑๒ ค่ำ ปีขาล สัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๔๐ ตรงกับวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๑
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๙ มีพระนามตามจารึกสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ อดิศวรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรสมมติเทพยวรางกูร บรมมกุฎนเรนทรสูริย์ขัตติยสันตติวงศ์ อุกฤษฐพงศ์วโรภโตสุชาต ธัญญลักษณวิลาสวิบุลยสวัสดิ์สิริวัฒนราชกุมาร มุสิกนาม <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP>
    นับเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร เป็นตำแหน่งรัชทายาท แทนตำแหน่งพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ วังหน้า ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ประชวรด้วยพระโรคอวัยวะภายในพระอุระพิการ เสด็จทิวงคตเมื่อวันศุกร์ เดือน ๒ ขึ้น ๙ ค่ำ ปีมะเมียฉศก จ.ศ. ๑๒๕๖ ตรงกับวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๗ ขณะทรงมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ๖ เดือน กับ ๗ วัน<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    <TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขณะทรงพระเยาว์


    </TD><TD>[​IMG]

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงฉายร่วมกับเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช และเจ้าจอมมารดาเปี่ยม


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] ราชตระกูล

    <CENTER><TABLE class=wikitable><CAPTION>พระราชตระกูลในสามรุ่นของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</CAPTION><TBODY><TR><TD align=middle rowSpan=8>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ
    สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD><TD align=middle rowSpan=4>พระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทร์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    หม่อมน้อย</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=4>พระชนนี:
    สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี
    พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
    </TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทร์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา
    (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม)</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    หลวงอาสาสำแดง (แตง)</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    ท้าวสุจริตธำรง (นาค)</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธย สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าราชกุมารพระองค์ใหญ่ เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ, เล่ม ๓, ตอน ๔๔, วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๙, หน้า ๓๖๘
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมโองการ ประกาศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสวรรคต, เล่ม ๑๑, ตอน ๔๑, ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๗, หน้า ๓๒๘
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
    (กรมพระราชวังบวรสถานมงคล)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">สยามมกุฎราชกุมาร
    (พ.ศ. 2429-พ.ศ. 2437)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40></TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นบทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 377/1000000Post-expand include size: 13721/2048000 bytesTemplate argument size: 1986/2048000 bytesExpensive parser function count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:47686-0!1!0!!th!2 and timestamp 20090917115146 -->ดึงข้อมูลจาก "สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2421 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2437 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 | สยามมกุฎราชกุมาร | ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า | พระราชบุตรในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. | บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่รอการตรวจสอบรูปแบบ
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]
    </CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" colSpan=3><CENTER>ข้อมูล</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>6 กันยายน พ.ศ. 2381 <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP></TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันสวรรคต</TD><TD colSpan=2>28 สิงหาคม พ.ศ. 2428</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชบิดา</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระมารดา</TD><TD colSpan=2>เจ้าคุณจอมมารดาเอม</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428 ) พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ หรือ พระองค์เจ้ายอดยิ่งประยุรยศบวรราโชรสรัตนราชกุมาร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาเอม
    บางตำรากล่าวว่า พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ ทรงพระนามว่า พระองค์เจ้ายอร์ช วอชิงตัน ตามชื่อของอดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนแรก จอร์จ วอชิงตัน (พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๔๒) <SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] การแต่งตั้งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล

    เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) เพราะในขณะนั้นพระราชโอรสพระองค์โต คือ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ยังทรงพระเยาว์เพียง ๑๒ พรรษา ทำให้เสี่ยงต่อการถูกแย่งชิงราชบัลลังก์ ฝ่ายสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซึ่งถูกสงสัยมาตั้งแต่ครั้งพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงพระชนม์ว่าคิดจะชิงราชสมบัติจึงได้เสนอให้ทรงแต่งตั้งพระองค์เจ้ายอดยิ่งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระองค์เจ้ายอดยิ่ง เป็น กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๐ แต่ไม่ได้ตั้งให้เป็นวังหน้า
    ก่อนหน้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคต ๑ วัน ได้มีการประชุมพระญาติวงศ์และขุนนาง ที่ประชุมอันมีสมเด็จเจ้าพระยามหาสุริยวงศ์ (่ช่วง บุนนาค) เป็นประธาน ตกลงที่จะแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิไชยชาญเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลตามคำเสนอของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ แต่เรื่องนี้ไม่เป็นมติเอกฉันท์ของที่ประชุม เพราะพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงคัดค้านว่า การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลนั้น ตามโบราณราชประเพณีเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของที่ประชุม ซึ่งทำความไม่พอใจให้แก่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ท่านจึงได้ย้อนถามว่า "ที่ไม่ยอมนั้น อยากจะเป็นเองหรือ" กรมขุนวรจักรธรานุภาพ จึงตอบว่า "ถ้าจะให้ยอมก็ต้องยอม" จึงเป็นอันว่าที่ประชุมเห็นสมควรที่จะแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิไชยชาญเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP>
    [แก้] กรณีวิกฤตการณ์วังหน้า

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ วิกฤตการณ์วังหน้า
    </DD></DL>เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สนับสนุนให้ได้เป็นแต่งตั้งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ จึงทรงเกรงพระทัยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นอันมาก
    ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ พ.ศ. ๒๔๑๗-๒๔๑๘ ทรงริเริ่มปฏิรูปปรับปรุงการปกครองประเทศให้ทันสมัย โดย โยงอำนาจเข้าศูนย์กลาง ทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ (Auditing Office ปัจจุบันคือ กระทรวงการคลัง) เพื่อรวมรวมการเก็บภาษีมาอยู่ที่เดียวกัน ซึ่งกระทบกระเทือนต่อการเก็บรายได้ สร้างความไม่พอใจแก่เจ้านายและขุนนางเก่าแก่เป็นอันมาก โดยเฉพาะกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเดิมมีรายได้แผ่นดินถึง ๑ ใน ๓ มีทหารในสังกัดถึง ๒๐๐๐ นาย และมีข้าราชบริพารเป็นจำนวนมาก และเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ มีการสะสมอาวุธ มีความขัดแย้งระหว่างวังหลวงกับวังหน้า จนเกือบจะเกิดสงครามกลางเมือง ซึ่งเรียกเหตุการณ์ขัดแย้งนี้ว่า วิกฤตการณ์วังหน้า <SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี และเข้าไปคบค้าสนิทสนมกับนายโทมัส น็อกซ์ กงสุลอังกฤษ ประกอบกับในสมัยนั้น อังกฤษคุกคามสยาม ถึงขั้นเรียกเรือรบมาปิดปากแม่น้ำ ทางวังหลวงจึงหวาดระแวง เชื่อว่ามีแผนการจะแบ่งดินแดนเป็นสองส่วนคือ ทางเหนือถึงเชียงใหม่ ให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าครอง ทางใต้ให้กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญครอง นัยว่าเมื่อแบ่งสยามให้เล็กลงแล้วจะได้อ่อนแอ ง่ายต่อการเอาเป็นเมืองขึ้น
    เหตุการณ์บาดหมางเกิดขึ้นเมื่อวันหนึ่ง เกิดระเบิดขึ้นที่ตึกดินในวังหลวง ไฟไหม้ลุกลามไปถึงพระบรมมหาราชวัง ทางวังหลวงเข้าใจว่าวังหน้าเป็นผู้วางระเบิด และไม่ส่งคนมาช่วยดับไฟ ส่วนกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ก็เสด็จหลบหนีไปอยู่ในสถานกงสุลอังกฤษไม่ยอมเสด็จออกมา เหตุการณ์ตึงเครียดนี้กินเวลาถึงสองสัปดาห์ จนกระทั่งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เดินทางกลับจากราชบุรี เข้ามาไกล่เกลี่ย โดยฝ่ายอังกฤษและฝรั่งเศสถือว่าเหตุการณ์ครั้งนั้นเป็นการเมืองภายในของสยาม และไม่ได้เข้ามาก้าวก่าย
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงเป็นเจ้านายที่มีความสามารถหลายด้าน ด้านนาฏกรรม ทรงพระปรีชา เล่นหุ่นไทย หุ่นจีน เชิดหนัง และงิ้ว ด้านการช่าง ทรงชำนาญเครื่องจักรกล ทรงต่อเรือกำปั่น ทรงทำแผนที่แบบสากล ทรงสนพระทัยในแร่ธาตุ ถึงกับทรงสร้างโรงถลุงแร่ไว้ในพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ ทรงได้รับประกาศนียบัตรจากฝรั่งเศส ในฐานะผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาช่าง <SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP>
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เสด็จทิวงคตเมื่อวันศุกร์ เดือน ๙ แรม ๓ ค่ำ ปีระกา จุลศักราช ๑๒๔๗ (๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๒๘) พระชนมายุ ๔๘ พรรษา พระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใด ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลว่างลง จนถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๒๙ จึงทรงสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ เป็นมกุฎราชกุมาร และยกเลิกตำแหน่งพระมหาอุปราช ตั้งแต่นั้นมา
    [แก้] พระโอรส-พระธิดา

    [แก้] ประสูติก่อนอุปราชาภิเษก

    • พระองค์เจ้าชายแฝด (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. ๒๔๐๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมหลวงปริก เจษฎางกูร
    • พระองค์เจ้าหญิงปฐมพิสมัย (พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๒๑) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากรุด
    [แก้] ประสูติเมื่ออุปราชาภิเษกแล้ว

    • พระองค์เจ้าชายวิไลวรวิลาศ (พ.ศ. ๒๔๑๒) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเข็ม ทรงเป็นต้นสกุล วิไลยวงศ์
    • พระองค์เจ้าชายกาญจโนภาสรัศมี (พ.ศ. ๒๔๑๒-๒๔๖๓) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปริกเล็ก ณ นคร ทรงได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นชาญไชญบวรยศ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ ในรัชกาลที่ ๕ ทรงเป็นต้นสกุล กาญจนะวิชัย
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. ๒๔๑๓) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเวก
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. ๒๔๑๓) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาละม้าย
    • พระองค์เจ้าหญิงภัทราวดีศรีราชธิดา (พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๔๒) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมเล็ก
    • พระองค์เจ้าชายกัลยาณประวัติ (พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๗๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมใหญ่ ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ ในรัชกาลที่ ๖ ทรงเป็นต้นสกุล กัลยาณะวงศ์
    • พระองค์เจ้าหญิงธิดาจำรัสแสงศรี (พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๔๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเขียวใหญ่
    • พระองค์เจ้าหญิงฉายรัศมีหิรัญพรรณ (พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๗๑) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปุ้ย
    • พระองค์เจ้าหญิง (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. ๒๕๑๕) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเวก
    • พระองค์เจ้าหญิงกลิ่นแก่นจันทนารัตน์ (พ.ศ. ๒๔๑๕-๒๔๑๘) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจั่น
    • พระองค์เจ้าชายสุทัศนนิภาธร (พ.ศ. ๒๔๑๕-๒๔๖๑) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมหลวงนวม ปาลกะวงศ์ ทรงเป็นต้นสกุล สุทัศนีย์
    • พระองค์เจ้าชายวรวุฒิอาภรณ์ (พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๕๘) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาป้อม ทรงเป็นต้นสกุล วรวุฒิ
    • พระองค์เจ้าชายโอภาสไพศาลรัศมี (พ.ศ. ๒๔๑๖-๓๕๕๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. ๒๔๑๖) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอิน
    • พระองค์เจ้าหญิงอัปสรศรีราชกานดา (พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๖๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาต่วน
    • พระองค์เจ้าชายรุจาวรฉวี (พ.ศ. ๒๔๑๗) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสมบุญ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๘ ทรงเป็นต้นสกุล รุจจวิชัย
    • พระองค์เจ้าหญิงเทวีวิไลยวรรณ (พ.ศ. ๒๔๑๘) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุ่นใหญ่ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๘
    • พระองค์เจ้าชายวิบูลยพรรณรังษี (พ.ศ. ๒๔๑๙-๒๔๕๑) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเขียวเล็ก ทรงเป็นต้นสกุล วิบูลยพรรณ
    • พระองค์เจ้าชายรัชนีแจ่มจรัส (พ.ศ. ๒๔๑๙-๒๔๕๖) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมเล็ก ทรงได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ ในรัชกาลที่ ๖ ทรงเป็นต้นสกุล รัชนี
    • พระองค์เจ้าชายไชยรัตนวโรภาส (พ.ศ. ๒๔๑๙-๒๔๔๐) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปริกใหญ่
    • พระองค์เจ้าหญิงวิมลมาศมาลี (พ.ศ. ๒๔๑๙-๒๔๖๔) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจั่น
    • พระองค์เจ้าหญิงสุนทรีนาฎ (พ.ศ. ๒๔๒๓) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุ่นเล็ก
    • พระองค์เจ้าหญิงประสาทสมร (พ.ศ. ๒๔๒๕-๒๔๕๖) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดายิ้ม
    • พระองค์เจ้าชายบวรวิสุทธิ์ (พ.ศ. ๒๔๒๖-๒๔๕๓) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสอาด ทรงเป็นต้นสกุล วิสุทธิ
    • พระองค์เจ้าหญิงกมุทมาลี (พ.ศ. ๒๔๒๗-๒๔๕๔) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เชื้อ อิศรางกูร
    • พระองค์เจ้าหญิงศรีสุดสวาดิ (พ.ศ. ๒๔๒๗-๒๔๘๙) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแข
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี -- กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. (ISBN 974-221-818-8) <LI id=cite_note-1>^ http://www.vcharkarn.com/include/article/showarticle.php?Aid=211 <LI id=cite_note-2>^ ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ เล่ม ๒. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๔. <LI id=cite_note-3>^ Untitled Document การแก้ไขวิกฤตชาติ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าหัว <LI id=cite_note-4>^ http://www.yanravee.com/index.php?option=com_content&task=view&id=72&Itemid=31 รัชกาลที่ ๕ กับการเสด็จอินเดีย พ.ศ. ๒๔๑๔ และความเข้าใจต่อการปฏิรูปแห่งรัชสมัย
    2. ^ http://www.thairath.co.th//thairath1/2548/column/bible/apr/17_4_48.php
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
    (ราชวงศ์จักรี)

    (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2428)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
    (สยามมกุฎราชกุมาร)
    </TD></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">ผู้บัญชาการทหารเรือวังหน้า
    (พ.ศ. 2408 - พ.ศ. 2428)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%">พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
    (ผู้บัญชาการทหารเรือ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=3>
    [แสดง]​

    ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่ง กองทัพเรือไทย</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทหารเรือวังหน้า</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><CENTER>พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
    </CENTER>

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทหารเรือวังหลวง</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><CENTER>สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ · เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์
    </CENTER>

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">กระทรวงทหารเรือ
    กองทัพเรือ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><CENTER>พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ · พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · พระยาชลยุทธโยธินทร์ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · พระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) · พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) · สินธุ์ กมลนาวิน · พระยาวิจารณจักรกิจ · หลวงพลสินธวาณัติก์ (เปล่ง พลสินธ์ สมิตเมฆ) · หลวงยุทธศาสตร์โกศล · หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) · สวัสดิ์ ภูติอนันต์ · หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร · จรูญ เฉลิมเตียรณ · ถวิล รายนานนท์ · กมล สีตกะลิน · เฉิดชาย ถมยา · สงัด ชลออยู่ · อมร ศิริกายะ · กวี สิงหะ · สมุทร์ สหนาวิน · สมบูรณ์ เชื้อพิบูลย์ · ประพัฒน์ จันทวิรัช · นิพนธ์ ศิริธร · ธาดา ดิษฐบรรจง · ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ · วิเชษฐ การุณยวนิช · ประเจตน์ ศิริเดช · วิจิตร ชำนาญการณ์ · สุวัชชัย เกษมศุข · ธีระ ห้าวเจริญ · ประเสริฐ บุญทรง · ทวีศักดิ์ โสมาภา · ชุมพล ปัจจุสานนท์ · สามภพ อัมระปาล · สถิรพันธุ์ เกยานนท์ · กำธร พุ่มหิรัญ
    </CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: orange" colSpan=2>
    [แสดง]​

    กรมพระราชวังบวรสถานมงคล และ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: navajowhite">สมัยอยุธยา</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><TABLE class="navbox nowraplinks" style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: -3px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px"><TBODY><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite">วังหน้า</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">พระราเมศวร · พระเชษฐา · พระอาทิตยวงศ์ · สมเด็จพระนเรศวร · สมเด็จพระเอกาทศรถ · เจ้าฟ้าสุทัศน์ · สมเด็จพระนารายณ์มหาราช · หลวงสรศักดิ์ · เจ้าฟ้าเพชร · เจ้าฟ้าพร · เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ · เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite; WHITE-SPACE: nowrap; TEXT-ALIGN: right">วังหลัง</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">นายจบคชประสิทธิ์· เจ้าฟ้าพร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: navajowhite">สมัยรัตนโกสินทร์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><TABLE class="navbox nowraplinks" style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: -3px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px"><TBODY><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite">วังหน้า</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร · สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ · สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ · พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite; WHITE-SPACE: nowrap; TEXT-ALIGN: right">วังหลัง</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: navajowhite">ที่ประทับ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left"><TABLE class="navbox nowraplinks" style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: -3px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px"><TBODY><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite">วังหน้า</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">พระราชวังจันทรเกษม · พระราชวังบวรสถานมงคล</TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: antiquewhite; WHITE-SPACE: nowrap; TEXT-ALIGN: right">วังหลัง</TH><TD style="WIDTH: 100%; TEXT-ALIGN: left">พระราชวังบวรสถานพิมุข</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable2 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: orange" colSpan=2>
    [แสดง]​

    เจ้านายในวังหน้าและวังหลังที่ได้ทรงกรม (สมัยกรุงรัตนโกสินทร์)</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนศรีสุนทร · กรมหมื่นเสนีเทพ · กรมขุนนรานุชิต ·

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนธิเบศวร์บวร · กรมหมื่นอมรมนตรี · กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · กรมหมื่นอมเรศรัศมี · กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ · กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ · กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ · กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ · กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ · กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ · กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร · กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · กรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา · กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นนราเทเวศร์ · กรมหมื่นนเรศร์โยธี · กรมหลวงเสนีบริรักษ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: orange" colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 1932/1000000Post-expand include size: 95433/2048000 bytesTemplate argument size: 76764/2048000 bytesExpensive parser function count: 3/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:53263-0!1!0!!th!2 and timestamp 20090917130557 -->ดึงข้อมูลจาก "กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2380 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2428 | รัชกาลที่ 5 | กรมพระราชวังบวรสถานมงคล | พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ ชั้น 4 | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 2
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->
    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชวรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ราชวงศ์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ครองราชย์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>1 ตุลาคม พ.ศ. 2411</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ระยะครองราชย์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>42 ปี</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>รัชกาลถัดไป</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>วัดประจำรัชกาล</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชสมภพ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>20 กันยายน พ.ศ. 2396
    วันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>สวรรคต</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
    รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชบิดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชมารดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระมเหสี</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชโอรส/ธิดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>77 พระองค์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9></TD></TR></TBODY></TABLE>​


    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระพุทธเจ้าหลวง ทรงเป็นรัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระบรมราชสมภพเมื่อ วันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 9 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ เสวยราชสมบัติ เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง (พ.ศ. 2411) รวมสิริดำรงราชสมบัติ 42 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันเสาร์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) ด้วยโรคพระวักกะ รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา
    พระองค์ทรงปกครองอาณาประชาราษฎร ให้ร่มเย็นเป็นสุข ทรงโปรดการเสด็จประพาสต้น เพื่อให้ได้ทรงทราบถึงความเป็นอยู่ที่แท้จริงของราษฎร ทรงสนพระทัยในวิชาความรู้ และวิทยาการแขนงต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และนำมาใช้บริหารประเทศให้ เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว พระองค์จึงได้รับถวายพระราชสมัญญานามว่า สมเด็จพระปิยมหาราช และมีความหมายว่า พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน
    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] พระราชประวัติ

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ (ต่อมาภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการเปลี่ยนแปลงพระนามเจ้านายฝ่ายในให้ถูกต้องชัดเจนตามโบราณราชประเพณีนิยมยุคถัดมาเป็น สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ได้รับพระราชทานนามว่า สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร
    พระองค์ทรงมีพระขนิษฐาและพระอนุชารวม 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ และ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
    วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2404 สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ ได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP> และเมื่อ พ.ศ. 2409 พระองค์ทรงผนวชตามราชประเพณี ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังจากการทรงผนวช พระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ เมื่อปี พ.ศ. 2410 โดยทรงกำกับราชการกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ และกรมทหารบกวังหน้า <SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-0>[2]</SUP>
    วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตภายหลังทรงเสด็จออกทอดพระเนตรสุริยุปราคา โดยก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคตนั้น ได้มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า "พระราชดำริทรงเห็นว่า เจ้านายซึ่งจะสืบพระราชวงศ์ต่อไปภายหน้า พระเจ้าน้องยาเธอก็ได้ พระเจ้าลูกยาเธอก็ได้ พระเจ้าหลานเธอก็ได้ ให้ท่านผู้หลักผู้ใหญ่ปรึกษากันจงพร้อม สุดแล้วแต่จะเห็นดีพร้อมกันเถิด ท่านผู้ใดมีปรีชาควรจะรักษาแผ่นดินได้ก็ให้เลือกดูตามสมควร" ดังนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเสด็จสวรคต จึงได้มีการประชุมปรึกษาเรื่องการถวายสิริราชสมบัติแด่พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ซึ่งในที่ประชุมนั้นประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ ได้เสนอสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ซึ่งที่ประชุมนั้นมีความเห็นพ้องเป็นเอกฉันท์ ดังนั้น พระองค์จึงได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดา <SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> โดยในขณะนั้น ทรงมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังนั้น จึงได้แต่งตั้งเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะทรงมีพระชนมพรรษครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราชรวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทร มหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตยรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว" <SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-1>[2]</SUP>
    เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา จึงทรงลาผนวชเป็นพระภิกษุ และได้มีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ 2 ขึ้น เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยในครั้งนี้ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราช รวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยโรคพระวักกะ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 เวลา 2.45 นาฬิกา รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา <SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP>
    [แก้] พระราชลัญจกรประจำพระองค์

    [​IMG]
    พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5


    พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว เป็นตรางา ลักษณะกลมรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. โดยมีตรา พระเกี้ยว หรือ พระจุลมงกุฏ ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา และทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์เพชร โดยพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการเจริญรอยจำลองมาจากพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    การสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ดังนั้น จึงเลือกใช้ พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์ <SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP> <SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP>
    [แก้] พระมเหสี พระราชินี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในพระพุทธเจ้าหลวง
    </DD></DL>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด 92 พระองค์ โดย 36 พระองค์มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 56 พระองค์ไม่มี และพระองค์ทรงมีพระราชโอรส-ธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์
    [แก้] พระราชกรณียกิจที่สำคัญ

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ เหตุการณ์สำคัญในรัชกาลที่ 5
    </DD></DL>พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ 5 ได้แก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีเลิกทาส การป้องกันการเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และจักรวรรดิอังกฤษ ได้มีการประกาศออกมาให้มีการนับถือศาสนาโดยอิสระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามสามารถปฏิบัติการในศาสนาได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ได้มีมีการนำระบบจากทางยุโรปมาใช้ในประเทศไทย ได้แก่ระบบการใช้ธนบัตรและเหรียญบาท ใช้ระบบเขตการปกครองใหม่ เช่น มณฑลเทศาภิบาล จังหวัดและอำเภอ และได้มีการสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง เมืองนครราชสีมา ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช 2433 นอกจากนี้ได้มีงานพระราชนิพนธ์ ที่สำคัญ
    [แก้] การเสียดินแดน

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ การเสียดินแดนของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
    </DD></DL>[​IMG]
    ภาพการรบระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ที่ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ ซึ่งนำไปสู่การเสียดินแดนของไทยให้แก่ฝรั่งเศสเป็นจำนวนมาก


    [​IMG]
    พระบรมราชนุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ


    [แก้] การเสียดินแดนให้ฝรั่งเศส

    รวมแล้วในคราวนี้ ไทยเสียเนื้อที่ประมาณ 66,555 ตารางกิโลเมตร
    [แก้] การเสียดินแดนให้อังกฤษ


    [แก้] พระราชนิพนธ์

    ทรงมีพระราชนิพนธ์ ทั้งหมด 10 เรื่อง<SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP>
    [แก้] ราชตระกูล

    <CENTER><TABLE class=wikitable><CAPTION>พระราชตระกูลในสามรุ่นของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</CAPTION><TBODY><TR><TD align=middle rowSpan=8>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD align=middle rowSpan=4>พระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    เจ้าขรัวเงิน</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=4>พระชนนี:
    สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี</TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
    </TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    เจ้าจอมมารดาทรัพย์</TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    พระชนนีน้อย</TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    ไม่ทราบ</TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    คุณม่วง</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ จิรวัฒน์ อุตตมะกุล, สมเด็จพระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5, สำนักพิมพ์มติชน, 2546 ISBN 974-322-964-7 <LI id=cite_note-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD-1>^ <SUP>2.0</SUP> <SUP>2.1</SUP> วุฒิชัย มูลศิลป์ และคณะ, พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์, อัลฟ่า มิเล็นเนียม, ISBN 974-91048-5-4 <LI id=cite_note-2>^ แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, หม่อมราชวงศ์, พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระราชนิเวศน์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, สำนักพิมพ์มติชน, 2549 ISBN 974-323-641-4 <LI id=cite_note-3>^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, เล่ม 27, ตอน 0ง, 30 ตุลาคม พ.ศ. 2453, หน้า 1782 <LI id=cite_note-4>^ ตราราชวงศ์จักรี และพระราชลัญจกร ประจำพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ บ้านฝันดอตคอม <LI id=cite_note-5>^ สนเทศน่ารู้ : พระราชลัญจกรประจำรัชกาล, สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    2. ^ พระปิยมหาราช ทรงเป็นกวีเอก อีกพระองค์หนึ่ง ชึ่งมีผลงานพระราชนิพนธ์ ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">พระมหากษัตริย์ไทย
    (ราชวงศ์จักรี)

    (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>
    [แสดง]​

    รายพระนามกษัตริย์ที่ได้รับสมญานามว่ามหาราชของโลก</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปเอเชีย</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระเจ้าพรหมมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนเม็งรายมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าเซจงมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโนรธามังช่อพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าอลองพญาจักรพรรดิเฉียนหลงจิ๋นซีฮ่องเต้เจงกีส ข่านฮั่นอู่ตี้จักรพรรดิคังซีพระเจ้ากนิษกะพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2พระเจ้าชัยวรมันที่ 7พระเจ้าไชยเชษฐาพระเจ้าราชาราชะมหาราชอัคบาร์มหาราชพระเจ้ายู้พระเจ้ากวางแกโตมหาราชพระเจ้าแทโจมหาราชพระเจ้าจางซูมหาราชพระเจ้าซองด๊อกมหาราชจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสพระเจ้าดงเมียงยอง
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปยุโรป</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">อเล็กซานเดอร์มหาราชจักรพรรดินโปเลียนที่ 1พระเจ้าอัลเฟรดมหาราชแคทเธอรีนมหาราชินีพระเจ้าฟรีดริชมหาราชซาร์ปีเตอร์มหาราชสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชพระเจ้าอองรีมหาราชพระเจ้าไทกราเนสมหาราชพระเจ้าอีวานมหาราชวลาดิเมียร์มหาราชคอนสแตนตินมหาราชธีโอโดเซียสมหาราชจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1พระเจ้าธีโอดอริคมหาราชจักรพรรดิออตโตที่ 1
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปแอฟริกา</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">ฟาโรห์รามเสสมหาราชแอสเกียมหาราช
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ตะวันออกกลาง</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">แฮรอดมหาราชไซรัสมหาราชดาไรอัสมหาราชแอนทิโอคัสมหาราชมิทริเดทีสมหาราชซาปูร์มหาราชอับบาสมหาราชเซอร์ซีสมหาราชกาหลิบอูมัวร์สุลต่านสุลัยมานมหาราช
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" colSpan=3>
    [แสดง]​

    บุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยองค์การยูเนสโก</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระมหากษัตริย์</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=7></TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระบรมวงศานุวงศ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">บุคคลสำคัญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สุนทรภู่ · พระยาอนุมานราชธน · ปรีดี พนมยงค์ · หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · กุหลาบ สายประดิษฐ์ · พุทธทาสภิกขุ
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">รอการรับรองจากยูเนสโก</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">เอื้อ สุนทรสนาน · หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3>ดูเพิ่ม: สถานีย่อย · มรดกโลกในไทย</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable2 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>
    [แสดง]​

    พระนามทรงกรมของพระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่ ๔</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange">สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: orange" colSpan=3><CENTER>ข้อมูล</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>14 กันยายน พ.ศ. 2352</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD colSpan=2>28 กันยายน พ.ศ. 2435</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระอิสริยยศ</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระบิดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระมารดา</TD><TD colSpan=2>เจ้าจอมมารดาน้อย</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษก เมื่อ ปี พ.ศ. 2434 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา เป็นพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ 10 เดือน ก็สิ้นพระชนมเมื่อปี พ.ศ. 2435 พระชมมายุได้ 83 พรรษา
    [แก้] พระประวัติ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 18 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ และทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระองค์ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สำนักวัดมหาธาตุ ทรงแตกฉานในภาษาบาลี พระนิพนธ์ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธาน ซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลี นอกจากนี้ ยังได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็นภาษาบาลีอีกหลายเรื่อง นับว่าพระองค์ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่ง
    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระราชาคณะ โดยมีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะสามัญ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย นับว่าทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติพระองค์แรก เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกตลอดรัชกาลรวมเป็นระยะเวลา 15 ปี ในระหว่างนั้น พระองค์ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สอง รองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระมหาสังฆปรินายก คือ สมเด็จพระสังฆราช
    เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ การที่เลื่อนพระอิศริยยศครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุด เท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขึ้นครองราชย์ ก็ยังมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชเป็นระยะเวลาถึง 23 ปี จึงได้ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ในปี พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงเจริญพระชนมายุไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดในพระบรมราชตระกูลอันนี้ ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ยังดำรงอยู่ก็ดีที่จะมีพระชนมายุเทียมถึง รวมทั้ง ยังเป็นที่นับถือของคนทั่วไปทั้งฝ่ายคฤหัสถ์และฝ่ายบรรพชิต พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตามาภิเษกเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ (สมเด็จกรมพระยา ในปัจจุบัน) มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4_0-0>[1]</SUP>
    "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ บวรรังษีสุริยพันธุ์ ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุต ปฏิบัติสุทธคณนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยยะบรรพชิต สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชา ปัญญาอรรคมหาสมณุดม บรมพงษาธิบดี จักรกรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทรบดินทรสูรย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤษฐสมณศักดิธำรง มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตมมหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ ไวยัตติยญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรคุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคารินรัตน สยามาขิโลกยปฏิพัทธพุทธปริสัษยเนตร สมณคณินทราธิเบศรสกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปาดมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร"
    ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า การเรียกพระนามพระบรมราชวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลแต่เดิมนั้นเรียกตามพระอิสริยยศแห่งพระบรมราชวงศ์ ไม่ได้เรียกตามสมณศักดิ์ของพระประมุขแห่งสังฆมณฑล คือ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" หรือที่เรียกอย่างย่อว่า "สมเด็จพระสังฆราช" พระองค์จึงเปลี่ยนคำนำพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลว่า "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า" เพื่อให้ปรากฏพระนามในส่วนสมณศักดิ์ด้วย ดังนั้น จึงเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    พระองค์ทรงพระประชวรด้วยพระโรคชราและสิ้นพระชนมเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2435<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> พระชมมายุได้ 83 พรรษา 13 วัน ทรงผนวชเป็นพระภิกษุได้ 64 พรรษา
    [แก้] พระปรีชาสามารถ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ นอกจากจะเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีแล้ว ยังทรงมีพระปรีชาสามารถ ในด้านต่าง ๆ พอประมวลได้ดังนี้ คือ
    • ด้านสถาปัตยกรรม ทรง ออกแบบพระปฐมเจดีย์ องค์ที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2396
    • ด้านโบราณคดี ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทยได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่าง ๆ ในประเทศไทยไว้มาก และได้ ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ที่เป็นอักษรขอม เป็นพระองค์แรก
    • ด้านประวัติศาสตร์ ทรงนิพนธ์ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ และพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เป็นต้น
    • ด้านดาราศาสตร์ ทรงพระนิพนธ์ ตำราปักขคณนา (คำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร
    • ด้านวิทยาศาสตร์ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวัน ติดต่อกันเป็นเวลาถึง 45 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2389 ถึงปี พ.ศ. 2433 เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย เรียกบันทึกนี้ว่า จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน
    • ด้านกวี ทรงพระนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ไว้เป็นจำนวนมาก ที่เป็นภาษาไทย ทรงนิพนธ์ไว้จำนวนมาก เช่น ได้ลงพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น
    • ด้านพระศาสนา ทรงเป็นองค์ประธานชำระและแปลพระไตรปิฎก พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ทรงกำหนดพระราชบัญญัติ และประกาศคณะสงฆ์ต่าง ๆ ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย ทรงสร้างพระกริ่งที่เรียกกันว่า พระกริ่งปวเรศ ซึ่งเป็นต้นแบบของพระกริ่ง ในยุคต่อมาของไทย
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4-0>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระประวัติพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๘, ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒, หน้า ๒๒๔ <LI id=cite_note-1>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า, เล่ม ๓๘, ตอน ๐ ก ,๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๐
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๗, ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒,หน้า ๒๑๗
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
    กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    (พระองค์เจ้าวาสุกรี สุวัณณรังสี)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">[​IMG]
    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    (พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2435)</TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
    สมเด็จพระสังฆราช
    (สา ปุสฺสเทโว)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>
    [แสดง]​

    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศรี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศุข)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (สุก ญาณสังวร)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ด่อน)
    สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (นาค)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปลด กิตฺติโสภโณ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (อยู่ ญาโณทโย)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (จวน อุฏฐายี)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระญาณสังวรฯ (เจริญ สุวฑฺฒโน)
    </CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: orange" colSpan=2>
    [แสดง]​

    เจ้านายในวังหน้าและวังหลังที่ได้ทรงกรม (สมัยกรุงรัตนโกสินทร์)</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนศรีสุนทร · กรมหมื่นเสนีเทพ · กรมขุนนรานุชิต ·

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนธิเบศวร์บวร · กรมหมื่นอมรมนตรี · กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · กรมหมื่นอมเรศรัศมี · กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ · กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ · กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ · กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ · กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ · กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ · กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร · กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · กรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา · กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นนราเทเวศร์ · กรมหมื่นนเรศร์โยธี · กรมหลวงเสนีบริรักษ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: orange" colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 1167/1000000Post-expand include size: 69279/2048000 bytesTemplate argument size: 52805/2048000 bytesExpensive parser function count: 2/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:6105-0!1!0!!th!2 and timestamp 20090922082340 -->ดึงข้อมูลจาก "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ | สมเด็จพระสังฆราชเจ้า | กรมพระยา | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 1 | พระสงฆ์ที่เป็นพระราชวงศ์ | บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2352 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2435
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระกริ่งปวเรศ กริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย
    พระกริ่งปวเรศ กริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย

    [​IMG]


    พระกริ่งปวเรศเป็นของสูงค่าอมตะ เป็นพระกริ่งองค์แรกที่กำเนิดในแผ่นดินไทย โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ พระสังฆราชเจ้าแห่งวัดบวรนิเวศน์วิหาร ทรงดำริสร้างเพื่อไว้ประทานแก่เชื้อพระวงศ์ หรือผู้ที่เห็นสมควรเท่านั้น

    พระกริ่งปวเรศนั้น ทรงไว้ซึ่งพุทธศิลป์และความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์ อีกทั้งมีจำนวนน้อย เมื่อค้นคว้าสอบถามผู้รู้เก่าๆ ก็ไม่มีผู้ใดรู้จริง แม้จดหมายเหตุส่วนตัวของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ ก็มิได้ระบุบอกถึงจำนวนที่สร้าง หรือรายละเอียดพระนาม และนามของผู้ที่ได้รับพระกริ่งปวเรศนั้นไป แม้จะลือกันว่าส่วนใหญ่ตกอยู่กับเชื้อพระวงศ์ คนทั่วไปคงจะเห็นแค่รูปภาพและเรื่องราวเป็นตำนานเท่านั้น เพียงเท่านี้ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ลึกลับดำมืดพอสมควรอยู่แล้ว และพระกริ่งปวเรศองค์ที่เป็นของจริงนั้น ก็คือองค์ต้นแบบที่ประดิษฐานอยู่ในเก๋งกระเบื้องดินเผาจีนที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดบวรฯ เวลามีงานใหญ่จริงๆ ถึงจะได้ชม แถมอยู่ไกลและอยู่ในเก๋งทำให้แทบจะพิจารณาให้ละเอียดไม่ได้ แม้ภายหลังจะมีนิตยสารพระเครื่องได้รูปมาถ่ายทอดให้ชมก็นึกขอบคุณ ด้วยหาดูอยากจริงๆ

    [​IMG]

    กรมหลวงวชิรญาณวงศ์แห่งวัดบวรฯ เคยมีดำรัสถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศนี้ว่า “เท่าที่ฉันได้ยินมานั้น สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ท่านทรงสร้างขึ้นด้วยพระองค์เอง มีจำนวนน้อยมากน่าจะไม่เกิน 30 องค์ ต่อมาได้ประทานให้หลวงชำนาญเลขา(หุ่น) ผู้ใกล้ชิดพระองค์นำไปจัดสร้างขึ้นอีกจำนวนหนึ่ง แต่หลวงชำนาญเอาไปเทนั้น จะมากน้อยเท่าใดฉันไม่ได้ยินเขาเล่ากัน”
    การสร้างพระกริ่งปวเรศของสมเด็จกรมพระยาปวเรศฯนั้น น่าจะเนื่องจากว่าท่านได้รับการถวายพระกริ่งที่เรียกกันว่า “กริ่งปทุมสุริวงศ์” พร้อมตำราการสร้างพระกริ่งและตำรามงคลโลหะ ที่มีมาแต่โบราณสืบค้นได้ถึงสมัยสมเด็จพระพนรัตนวัดป่าแก้ว ทรงเห็นว่าพระกริ่งนั้นดีมีมงคล หากจะสร้างขึ้นตามตำรา แต่ดัดแปลงพุทธลักษณะที่คล้ายเทวรูปในคตินิยมแบบมหายาน ให้มีพุทธลักษณะคตินิยมแบบหินยานก็น่าจะมีเอกลักษณ์ดี

    อีกทั้งเมื่อมีการขยับพระพุทธชินสีห์คราวสร้างฐานชุกชีนั้น พบว่ามีเนื้อฐานพระพุทธชินสีห์ชำรุดจึงโปรดให้ช่างตัดแต่งให้งามดุจเดิม และเนื้อฐานพระพุทธชินสีห์นั้นเองล่ะกระมังที่เป็นแรงบันดาลใจ เมื่อทรงได้ตำราสร้างพระกริ่งและตำราโลหะมงคลมา จึงได้นำโลหะที่เหลือจากการแต่งฐานพระพุทธชินสีห์มาใช้ เพราะนานไปเศษโลหะนั้นจะไม่มีผู้รู้ค่าว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์จะถูกทิ้งเสียเปล่า
    พระองศ์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ได้ทรงดำรัสถึงเรื่องพระต้นแบบพระกริ่งปวเรศเป็นความว่า "ฉันเห็นหม้อน้ำมนต์ของวัดบวรนิเวศวิหาร ฉันได้เอาแว่นขยายส่องดู จึงแน่ใจว่าเป็นพระกริ่งใหญ่(พระกริ่งจีน) หรือที่เรียกกันว่าปทุมสุริวงศ์ อันน่าจะได้รับถวายมาจากราชวงศ์นโรดมกัมพูชา” สำหรับพระกริ่งใหญ่หรือพระกริ่งปทุมสุริวงศ์นี้ เป็นพระกริ่งของจีนโบราณสมัยหมิง ได้แพร่หลายเข้ามานานแล้ว แต่ที่พบจะมาพร้อมพระกริ่งบาเก็ง ซึ่งศิลปะสกุลช่างจีนเช่นเดียวกันแต่พบที่ปราสาทบาแคงที่ตั้งอยู่ในเทือกเขาพนมบาแคง

    ท่านอาจารย์ตรียัมปวาย ได้กล่าวถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศไว้ดังนี้ “พระกริ่งปวเรศที่คนโบราณเขานิยมกันนั้น มีอยู่เนื้อเดียว คือเนื้อนวโลหะผิวกลับดำ เมื่อขัดเนื้อในจะเป็นสีจำปาเทศ และเมื่อทิ้งไว้ถูกกับอากาศก็จะกลับดำอีกครั้งหนึ่งในเวลาไม่นาน การอุดก้นนั้นพบสองลักษณะ คืออุดด้วยทองแดง และอุดด้วยฝาบาตร มีเครื่องหมายลับไว้กันปลอมแปลงด้วยแต่เป็นกริ่งที่หายาก และมีผู้เจนจัดชนิดชี้เป็นชี้ตายได้น้อยแทบไม่มีเลย นอกจากจะมีองค์ที่เป็นองค์ครูแล้วนำเอาองค์อื่นมาเทียบเคียงเท่านั้น”

    [​IMG]

    พระกริ่งปวเรศนั้นเป็นพระกริ่งที่สร้างหล่อทีละองค์ แบบเบ้าดินเผาแบบประกบ โดยที่เบ้าดินเผานั้นมีตราประทับเป็นอักษรจีน เมื่อเทเสร็จจะต้องนำมาเกาแต่งใหม่ทั้งองค์ และทุกองค์มีการอุดก้นด้วยแผ่นทองแดงและทองฝาบาตรประสานด้วยเงินสำหรับโค๊ดลับเม็ดงานั้น ได้มีการตอกไว้จริงแต่ไม่ได้อยู่ในตำแหน่งเดียวกันทุกองค์ จะถือการตอกผิดตำแหน่งเป็นของปลอมก็มิสมควร ต้องพิจารณาให้ละเอียด

    ขอบคุณภาพจาก วิกิพีเดีย / ภาพพระกริ่ง โดยเซียนเจ๋ง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • kpvares.jpe
      kpvares.jpe
      ขนาดไฟล์:
      35.4 KB
      เปิดดู:
      4,083
    • pv2.jpe
      pv2.jpe
      ขนาดไฟล์:
      50.6 KB
      เปิดดู:
      2,372
  6. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431

    โมทนาสาธุ ... หมายเลข 5. ผมมอบเงินจองให้แล้ว รบกวน update ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ
     
  7. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    พระกริ่ง ก็คือพระปฏิมาพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้านั่นเอง เกี่ยวกับพระนามของพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า ในภาษาไทยจะใช้คำศัพท์ที่แตกต่างกันไป เช่น พระไภษัชคุรุ, พระไภษัชยคุรุ, พระไภสัชคุรุ, พระไภสัช สำหรับคำภาษาสันสกฤต (ที่อ่านแปลเป็นภาษาอังกฤษ) จะใช้คำว่า Bhaisajyaguru ส่วนในภาษาธิเบต จะเรียกว่า Sangs-ryas ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก Yakushi Nyorai และคำแปลในภาษาอังกฤษที่ใช้คำว่า MedicineBuddha

    พระพุทธเจ้าองค์นี้เป็นที่นิยมนับถือของปวงพุทธศาสนิกชนฝ่ายลัทธิมหายานยิ่งนักปรากฏพระประวัติมาในพระสูตรสันสกฤตสูตรหนึ่งคือพระพุทธไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภาราชามูลประณิธานสูตรแปลเป็นจีนในราวพุทธศตวรรษที่10 ซึ่งขอแปลโดยย่อสู่กันว่าดังนี้
    สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระศากยมุนีพุทธะเสด็จประทับ ณ กรุงเวสาลีสุขโฆสวิหาร พร้อมด้วยพระมหาสาวก8,000องค์พระโพธิสัตว์36,000องค์ และพระราชาธิบดีเสนาอำมาตย์ตลอดจนปวงเทพก็โดยสมัยนั้นแลพระมัญชุศรีผู้ธรรมราชาบุตรอาศัยพระพุทธภินิหารลุกขึ้นจากที่ประทับทำจีวรเฉลียงบ่าข้างหนึ่งลงคุกพระชาณุอัญชลีกราบทูลขึ้นว่า<O:p</O:p

    ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอพระองค์โปรดปรานพระธรรมเทศนาพระพุทธนามและมหามูลปณิธานและคุณวิเศษอันโอฬาร แห่งปวงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเพื่อยังผู้สดับพระธรรมกถานี้ให้ได้รับหิตประโยชน์บรรลุถึงสุขภูมิ

    พระบรมศาสดาทรงรับอาราธนาของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์แล้วจึงทรงแสดงพระเกียรติคุณของพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้าว่า<O:p</O:p
    ดูก่อนกุลบุตรจากที่นี้ไปทางทิศตะวันออกผ่านโลกธาตุอันมีจำนวนดุจเม็ดทรายในคงคานที10นทีรวมกัน ณ โลกธาตุหนึ่งนามว่าวิสุทธิไพฑูรย์โลกธาตุนั้นมีพระพุทธเจ้าซึ่งมีทรงนามว่าไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภาคถาคตพระองค์ถึงพร้อมด้วยพระภาคเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ตรัสรู้รู้ดีชอบแล้วด้วยพระองค์เองเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวิชาและจรณะเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งทางโลกเป็นผู้ยอดเยี่ยมไม่มีใครเปรียบ เป็นสารถีฝึกบุรุษ เป็นศาสดาแห่งเทวดาและมนุษย์เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดูก่อนมัญชุศรี ณเบื้องอดีตกาลเมื่อพระตถาคตเจ้าพระองค์นี้ยังเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่พระองค์ทรงตั้งมหาปณิธาน 12 ประการเพื่อยังความต้องการแห่งสรรพสัตว์ให้บรรลุมหาปณิธาน12ประการเป็นไฉน<O:p</O:p

    1. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ซึ่งมีวรกายอันรุ่งเรืองส่องสาดทั่วอนันตโลก บริบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักษณะ 32 และอนุพยัญชนะ80ขอให้สรรพสัตว์จึงมีวรกายดุจเดียวกับเรา
    2. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ขอให้วรกายของเรามีสีสันดุจไพฑูรย์มีรัศมีรุ่งโรจน์โชตนาการยิ่งกว่าแสงจันทร์และแสงอาทิตย์ประดับด้วยคุณาลังการอันมโหฬาร ไพศาลพันลึกส่องทางให้แก่สัตว์ที่ตกอยู่ในอบายคติให้หลุดพ้นเข้าสู่คติที่ชอบตามปรารถนา
    3. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณก็ขอให้เราได้ปัญญาโกศลอันล้ำลึกสุขุมไม่มีที่สิ้นสุดยังสรรพสัตว์ให้ได้รับโภคสมบัตินานาประการอย่าได้มีความยากจนเลย
    4. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสัตว์ใดที่เป็นมิจฉาทิฏฐิก็ขอให้เรายังเขาให้ตั้งมั่นในสัมมาทิฐิก็ขอให้เรายังเขาให้ตั้งมั่นในสัมมาทิฐิในโพธิมรรคหากมีสัตว์ใดดำเนินปฏิปทาแบบสาวกยานปัจเจกยาน ก็ขอให้เราสามารถยังเขามากำเนิดปฏิปทาแบบมหายาน
    5. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสรรพสัตว์ใดมาประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยของเราก็ขอให้เขาเหล่านั้นอย่าได้มีศีลวิบัติเลย จงบริบูรณ์ด้วยองค์แห่งศีลทั้ง3เถิด หากผู้ใดศีลวิบัติ เมื่อสดับนามแห่งเราก็ขอให้จงบริบูรณ์ดุจเดิมไม่ตกสู่ทุคตินิรยาบาย
    6. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีสรรพสัตว์มีกายอันเลวทรามมีอินทรีย์ไม่ผ่องใส โง่เขลาเบาปัญญาตาบอดหรือหูหนวกเป็นใบ้หรือหลังค่อม สารพัดพยาธิทุกข์ต่าง ๆ เมื่อได้สดับนามแห่งเราก็ขอให้เขาหลุดพ้นจากปวงทุกข์เหล่านั้น มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด อินทรีย์ผ่องใสสมบูรณ์
    7. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ หากยังมีสรรพสัตว์ปราศจากวงศาคณาญาติอันความยากจนค้นแค้นมีทุกข์มาเบียดเบียนแล้วเพียงแต่นามแห่งโสตของเขาเท่านั้น ขอสรรพความเจ็บป่วยจงปราศไปสิ้นเป็นผู้มีกายในอันผาสุกมีบ้านเรือนอาศัยพรั่งพร้อมด้วยธนสารสมบัติจนที่สุดก็จัดได้สำเร็จแก่พระโพธิญาณ
    8. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณหากมีอิสสตรีใดมีความเบื่อหน่ายต่อเพศแห่งตน ปรารถนาจะกลับเพศเป็นบุรุษไซร้มาตรว่าได้สดับนามแห่งเราก็จงสามารถเปลี่ยนเพศจากหญิงเป็นชายตามปรารถนาจนที่สุดก็จะได้สำเร็จแก่โพธิญาณ
    9. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเราจะสามารถยังสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้นจากข่ายแห่งมารและเครื่องผูกพันของเหล่ามิจฉาทิฐิให้สัตว์เหล่านั้นตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิและให้ได้บำเพ็ญโพธิสัตว์จริยาจนบรรลุพระโพธิญาณในที่สุด
    10. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณมีสัตว์เหล่าใดถูกต้องพระราชอาญาต้องคุมขังรับทัณฑกรรมในคุกตารางหรือต้องอาญาถึงประหารชีวิตตลอดจนได้รับการข่มเหงคะเนงร้ายดูหมิ่นดูแคลนเหยียดหยามอื่นๆเป็นผู้มีอันคับแค้นเผาลนแล้วมีใจกายอันวิปฏิสารอยู่ หากได้สดับนามแห่งเราได้อาศัยบารมี และมีคุณาภินิหาร ของเราขอให้สัตว์เหล่านั้นจงหลุดพ้นจากปวงทุกข์ดังกล่าว
    11. ในกาลใด ที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ มีสัตว์เหล่าใดมีความทุกข์ด้วยความหิวกระหายและประกอบอกุศลกรรม เพราะเหตุแห่งอาหารไซร้ หากได้สดับนามแห่งเรามีจิตมั่นตรึกนึกภาวนาเป็นนิตย์ เราจะได้ประทานเครื่องอุปโภคบริโภคอันปราณีตแก่เขายังให้เขาอิ่มหนำสำราญแล้วจะประทานธรรมรสแก่เขาให้เขาได้รับความสุข
    12. ในกาลใดที่เราได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณมีสัตว์เหล่าใดที่ยากจนปราศจากอาภรณ์นุ่งห่ม อันความหนาวร้อนและเหลือบยุงเบียดเบียนทั้งกลางวันกลางคืนหากได้สดับนามแห่งเราและหมั่นรำลึกถึงเราไซร้เขาจักได้สิ่งที่ปรารถนาและจักบริบูรณ์ด้วยธนสารสมบัติสรรพอาภรณ์เครื่องประดับและเครื่องบำรุงความสุขต่างๆลฯ<O:p</O:p

    ครั้นแล้วพระบรมศาสดาศากยมุนีพุทธเจ้าตรัสต่อไปว่าพระไภษัชยคุรุพุทธ นี้มีพระโพธิสัตว์ใหญ่ 2 องค์พระสุริยไวโรจนะและพระจันทรไวโรจนะเป็นพระโพธิสัตว์ผู้ช่วยของพระไภษัชยคุรุพระพุทธเจ้าเบื้องปลายแห่งพระสูตรนั้นทรงแสดงอานิสงส์ของการบูชาพระไภษัชยคุรุว่าผู้ใดก็ดีได้บูชาพระองค์ด้วยความเคารพเลื่อมใสแลไซร้ก็จักเจริญด้วย อายุวรรณะ สุขะ พละ ปราศจากภัยบีฑา ไม่ฝันร้ายศาสตราวุธทำอันตรายมิได้สัตว์ร้ายทำอันตรายมิได้ ยาพิษทำอันตรายมิได้ ฯลฯนอกจากนี้ยังทรงแสดงถึงพิธีจัดมณฑลบูชาพระไภษัชยคุรุอีกด้วยว่าต้องจัดพิธีบูชาเครื่องนั้น ๆ และทรงประธานพระคาถาบูชาพระไภษัชยคุรุด้วยในเวลาตรัสพระคาถานี้ พระบรมศาสดาทรงประทับเข้าสมาธิชื่อสรวสัตวทุกขภินทนาสมาธิปรากฏรัศมีไพโรจน์ขึ้นเหนือพระเกตุมาลาแล้วตรัสพระคาถามหาธารณีดังนี้

    นโม ภควเต ไภษชฺยคุรุ ไวฑูรฺยปรฺภาราชาย ตถาคตยารฺทเตสมฺยกสมฺพุทฺธาย โอมฺ ไภเษชฺเย สมุรฺคเตสฺวาหฺ<O:p</O:p

    ครั้นตรัสพระมหาธารณีนี้แล้ว พสุธาก็กัมปนาทหวาดไหวแสงสว่างอันโอฬารก็ปรากฏสัตว์ทั้งปวงก็หลุดพ้นจากสรรพพยาธิบรรลุสุขสันติอันประณีตแล้วพระบรมศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนมัญชุศรีถ้ามีกุลบุตรกุลธิดาใดอันพยาธิทุกข์เบียดเบียนแล้วถึงตั้งจิตให้เป็นสมาธิแล้วนำพระมหาธารณีบทนี้ ปลุกเสกอาหารหรือยาหรือน้ำดื่มครบ108 หนแล้วดื่มกินเข้าไปเถิด จักสามารถดับสรรพปวงพยาธิได้ ฯลฯพระสูตรนี้ตอนปลาย ๆ ยังมีเรื่องราวพิสดารอีกมากแต่จำต้องของดไว้เพียงเท่านี้เป็นอันว่าท่านได้ทราบถึงความศักดิ์สิทธิ์และความสำคัญของพระพุทธไภษัชยคุรุโดยสังเขปเท่านี้สำหรับพระคาถามหาธรณีนั้นท่านพระคณาจารย์สร้างพระกริ่งได้และควรนับถือว่าเป็นมนต์ประจำพระกริ่งโดยเฉพาะทีเดียว

    ที่มา : watthummuangna.com - board
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2009
  8. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    เพิ่งผ่านไปเมื่อวานครับ และไปได้ด้วยดีครับ

    เหนื่อยเหมือนกันครับ
     
  9. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 41 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 38 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>แหน่ง, psombat, มูริญโญ่ </TD></TR></TBODY></TABLE>



    หวัดดีครับ คุณสมบัติ และ พี่มูริญโญ่ ช่วงนี้เป็นจ่าฝูงแล้วนะครับ อิจฉาจริงๆ สงสัยแฟนพันธุ์แท้มีของดี อิอิ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จากห้องรับแขกของผม
    PaLungJit.com - ดูรายละเอียดส่วนตัว: sithiphong

    วันนี้ 10:07 AM
    sergent

    :cool:สวัสดีครับคุณสิทธิพงศ์ไม่ทราบว่าพอมีเมลล์ไหมครับผมอยากศึกษาเรื่องพระสมเด็จวังหน้าครับ เมลล์ผม ครับช่วยตอบด้วยนะครับ ตอบทางเมลล์ก็ได้ครับ

    ขอบคุณครับ:cool:

    ----------------------------------------------------

    ก่อนอื่น ผมแนะนำอย่างนี้นะครับ

    ให้เข้าไปอ่านกระทู้พระวังหน้าฯ ก่อน ซึ่งในกระทู้พระวังหน้า มีข้อมูลเรื่องของพระวังหน้าอยู่นิดหน่อย

    ส่วนองค์ความรู้เรื่องพระวังหน้า ผมนำลงในกระทู้พระวังหน้า ไม่ถึง 2% ขององค์ความรู้ที่ผมมีอยู่ หากต้องการที่จะศึกษาจริงๆ ต้องมีความศรัทธา , ความเพียร , ความอดทน ฯลฯ ให้มากๆ

    ต้องทำตามกติกาผมนะครับ หากต้องการมาศึกษาในทางสายนี้กับผม ซึ่งสมาชิกชมรมส่วนใหญ่ก็ทำตามกติกาที่ผมตั้งไว้ครับ

    ขอบคุณครับ

    PaLungJit.com - ดูรายละเอียดส่วนตัว: sergent
     
  11. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    (พระกริ่ง ต่อ)

    เมื่อความศักดิ์สิทธิ์อภินิหารของ พระพุทธรูปไภษัชยคุรุ ปรากฏตามที่ได้พรรณนามาพวกพุทธศาสนิกชนฝ่ายลัทธิมหายานจึงเคารพนับถือยิ่งนักมีพระพุทธปฏิมาขอพระไภษัชยคุรุบูชากันทั่วไปในวัดประเทศจีน ญี่ปุ่น ธิเบตเกาหลีและเวียดนาม ที่สุดจนในประเทศเขมรและประเทศไทยสำหรับประเทศไทยแม้จะนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายลังกาวงศ์ลัทธิสาวกยานแต่ก่อนนั้นขึ้นไปเราก็เคยรับเอาลัทธิมหายานมานับถืออยู่ระยะหนึ่งเป็นลัทธิมหายานซึ่งแพร่ขึ้นมาจากอาณาศรีวิชัยทางใต้และที่แพร่หลายมาจากเขมรไทยเพิ่งจะเปลี่ยนมานับถือพุทธศาสนาฝ่ายลังกาวงศ์ก็เมื่อยุคสุโขทัยนี้เท่านั้นอาณาจักรศรีวิชัยซึ่งตั้งแว่นแคว้นอยู่บนคาบสมุทรมลายู ตั้งแต่พ.ศ.1200 – 1700รวมเวลานานราว600ปีเป็นอาณาจักรที่เคารพนับถือพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานและนำลัทธิมหายานให้แพร่หลายในหมู่เกาะชวา มลายูตลอดขึ้นมาจนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาส่วนเขมรนั้นปรากฏว่ามีทั้งลัทธิมหายานและลัทธิพราหมณ์เจริญแข่งกันกษัตริย์ของเขมรหรือขอมในสมัยนั้นบางองค์ก็เป็นพุทธมามกะบางองค์เป็นพราหมณ์มามกะ ในราวพ.ศ.1546 – 1592กษัตริย์เขมรพระองค์หนึ่งทรงนามว่าพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 1ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามากจนถึงกับเมื่อสวรรคตแล้วมีพระนามว่าพระบรมนิวารณบทพระองค์เป็นเชื้อสายกษัตริย์จากอาณาจักรศรีวิชัย ฉะนั้นจึงไม่ต้องสงสัยว่า ลัทธิมหายานจะไม่เฟื่องฟุ้งขึ้น ในรัชสมัยของพระองค์แต่ก็ยังมีกษัตริย์อีกพระองค์คือพระเจ้าชัยวรมันที่ 7ทรงครองราชย์ระหว่างพ.ศ.1724 – 1748พระองค์ทรงเป็นมหายานพุทธมามกะโดยแท้จริงทรงพยายามจรรโลงลัทธิราชองค์สุดท้ายของเขมร เพราะเมื่อสิ้นพระรัชสมัยแล้วเขมรก็เข้าสู่ยุคเสื่อมพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พระองค์นี้ปรากฏว่าเป็นผู้สร้างเมืองใหม่ ชื่อนครชัยศรีคือปราสาทพระขรรค์สำหรับเป็นพุทธสถานประดิษฐานพระปฏิมาอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์อันเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตากรุณาที่สำคัญอย่างยิ่งองค์หนึ่งของลัทธิมหายานทรงสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระเจ้าธรณินทรวรมันพระมหาชนกแล้วสร้างพระปราสาทตามพรหม ประดิษฐานพระปฏิมาปรัชญาปารมิตาโพธิสัตว์แห่งปัญญาอุทิศแด่พระวรราชมารดามีจารึกกล่าวว่าปราสาทตาพรหมเป็นอาวาสสำหรับพระมหาเถระ18องค์และสำหรับพระภิกษุอีก1,740รูปด้วยแล้วทรงสร้างพระปราสาทบายนเป็นที่ประดิษฐานพระรูป สนองพระองค์เองนอกจากนี้ปรากฏในศิลาจารึกตาพรหมว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ 7ได้สร้างโรงพยาบาล คืออโรยศาลาเป็นท่านทั่วพระราชอาณาจักรถึง102แห่งด้วยทรงเคารพนับถือพระพุทธไภษัชยคุรุยิ่งนักจึงทรงพยายามอนุวัติตามพระพุทธจริยาของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น นอกจากนั้นกษัตริย์นักก่อสร้างพระองค์นี้ ยังได้สร้างรูปพระปฏิมาชยพุทธมหานาถพระราชทานไปประดิษฐานไว้ในเมืองอื่น ๆ23 แห่งทรงสร้างธรรมศาลา ขุดสระน้ำ สร้างถนน จากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ข้าพเจ้าปราถนาจะกล่าวว่าพระกริ่งปทุมของเขมรได้สร้างขึ้นอย่างแพร่หลายกว่าทุกยุคในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7นี้ เพื่ออุทิศบูชาแด่พระพุทธไภษัชยคุรุและได้มีการสร้างบ้างแล้วในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1ในการสร้างนั้นได้มีพิธีปลุกเสกประจุฤทธิ์เข้าไปตามกระบวนลัทธิมหายานซึ่งปรากฏในพระพุทธไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาราชามูลประณิธานสูตรนั้นพระกริ่งปทุมจึงมีฤทธานุภาพศักดิ์สิทธิ์ ภายหลังเมื่อลัทธิมหายานเสื่อมสูญคติการสร้างพระกริ่งยังคงสืบทอดกันมาและกลับมาแพร่หลายในหมู่ชาวไทย ลาวแต่นานวันเข้าก็ลืมประวัติเดิม วิธีสร้างแบบเดิมทั้งนี้เพราะพระสูตรมหายานเป็นภาษาสันกฤตเลือนไปตามลัทธิมหายานด้วยพระเกจิอาจารย์ท่านได้ดัดแปลงวิธีสร้างใหม่ตามแบบไสยเวท เช่นการลงยันต์ 108 และนะปถนัง 14 นะในแผ่นโลหะ เป็นต้นก็ให้ผลความศักดิ์สิทธิ์ไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน ถ้ามาตรว่าทำให้ถูกพิธีกรรมใหม่นี้จริงๆ ส่วนเม็ดกริ่งในองค์พระนั้นสันนิษฐานได้เป็น2 ทางคือ ทางหนึ่งเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธภาวะอันมีคุณลักษณะอนาทิเบื้องต้นไม่ปรากฏ จึงทำเป็นเม็ดกลมอีกทางหนึ่งชะรอยจะอนุวัติที่ว่าแม้เพียงได้สดับพระนามก็อาจให้ได้รับความสวัสดีได้จึงใช้ประจุเม็ดกริ่งไว้ เพราะเมื่อสร้างองค์พระทุกครั้งจะได้บุญ2 ต่อคือสร้างเท่ากับได้เจริญภาวนาถึงพระไภษัชยคุรุส่วนผู้อื่นที่ได้ยินเสียงกริ่งก็พลอยได้บุญตามไปฉะนั้นส่วนพระกริ่งเขมรพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์พระเจ้าแผ่นดินเขมรเป็นผู้สร้าง ที่ได้ยินชื่อเรียกบ่อย ๆเรื่องพระกริ่งปทุมนี้ข้าพเจ้าได้ทูลถามเจ้าประคุณสมเด็จฯว่าพระกริ่งของพระองค์ที่สร้างครั้งก่อน ๆ เลียนแบบจากพระกริ่งของประเทศใด สมเด็จฯรับสั่งว่าได้แบบจากพระกริ่งปฐมวงศ์เพราะเห็นพระกริ่งที่ท่านทรงสร้างก่อน ๆนั้นพระนั่งปางมารวิชัยพระหัตถ์ซ้าย ถือวชิราวุธประทับบนบัวคว่ำบัวหงาย 7 กลีบด้านหลังของพระเกลี้ยงไม่มีกลีบบัว และก็ไม่ได้มีเครื่องหมายอะไรพระองค์ทรงสร้างกริ่งในตัวเนื้อโลหะเป็นทองชนิดเดียวกัน สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อยังมีพระชนมายุอยู่เคยเสด็จมาคุยกับเจ้าประคุณสมเด็จฯ สมัยเป็นพระพรหมมุนีบ่อยๆ ครั้งเหมือนกันทราบว่ามาชมหลวงพ่อดำ (พระเชียงแสน) เจ้าคุณอาจารย์เล่าว่าพระบูชาที่หล่อในยุคนั้น สมเด็จกรมพระยาดำรงฯเป็นผู้แนะนำแบบพิมพ์ด้วยเหมือนกันของฉันหล่อ2 องค์เลย อนึ่ง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาเที่ยวนี้ได้ตั้งใจสืบสวนการเรื่องหนึ่ง คือเรื่องพระพุทธรูปองค์เล็ก ๆซึ่งเรียกว่าพระกริ่งเป็นของที่นับถือและขวนขวายหากันในเมืองเราแต่ก่อนกล่าวกันว่าเป็นของพระเจ้าปทุมสุริวงศ์สร้างไว้ เพราะไปจากเมืองเขมรทั้งนั้นเมื่อครั้งรัชกาลที่ 4 พระอมรโมลี (นพ) วัดบุป้างรามลงมาส่งพระมหาปานราชาคณะธรรมยุติ ในกรุงกัมพูชาองค์แรกซึ่งต่อมาได้เป็นสมเด็จสุคนธ์นั้นมาได้พระกริ่งขึ้นไปให้คุณตา (พระยาอัมภันตริกามาตย์) ท่านให้แกเราแต่ยังเป็นเด็กองค์หนึ่งเมื่อเราบวชเป็นสามเณรได้นำไปถวาวเสด็จฯ พระอุปัชฌาย์ ทอดพระเนตรท่านตรัสว่าเป็นพระกริ่งพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์นั้นมี2 อย่างสีดำอย่างหนึ่งสีเหลืององค์ย่อมมากกว่าสีดำอย่างหนึ่งแต่อย่างสีเหลืองนั้นเราไม่เคยเห็นได้เห็นของผู้อื่นก็เป็นอย่างสีดำทั้งนั้นต่อมาเมื่อเราอยู่กระทรวงมหาดไทยพระครูเมืองสุรินทร์เขามากรุงเทพฯเอาพระกริ่งมาให้อีกองค์หนึ่งก็เป็นอย่างสีดำได้เทียบเคียงกันดูกับองค์ที่คุณตาให้เห็นเหมือนกันไม่ผิดเลย จึงเข้าใจว่าพระกริ่งนั้น เดิมเห็นจะตีพิมพ์ทำทีละมาก ๆและรูปสัณฐานเห็นว่าเป็นพระพุทธรูปอย่างจีนมาได้หลักฐานเมื่อเร็วๆนี้ด้วยราชทูตประเทศหนึ่งเคยไปอยู่เมืองปักกิ่ง ได้พระกริ่งทองทางของจีนมาองค์หนึ่งขนาดเท่ากันแต่พระพักตร์มิใช่พิมพ์เดียวกับพระกริ่ง พระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ถึงกระนั้นก็เป็นหลักฐานว่าพระกริ่งเป็นของจีนคิดแบบตำราในลัทธิฝ่ายมหายาน เรียกว่าไภษัชยคุรุเป็นพระพุทธรูปปางทรงถือเครื่องยาบำบัดโรคถือบาตรน้ำมนต์หรือผลสมอ เป็นต้น สำหรับบูชาเพื่อป้องกันสรรพโรคคาพาธและอัปมงคลต่างๆ เพราะฉะนั้นพระกริ่งจึงเป็นพระสำหรับทำน้ำมนต์เรามาเที่ยวนั้นตั้งใจจะมาสืบหาหลักฐานว่าพระกริ่งนั้นหากันได้ที่ไหนในเมืองเขมรครั้นมาถึงเมืองพนมเปญพบพระเจ้าพระสงฆ์ที่เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ลองไต่ถามก็ไม่มีใครรู้เรื่องหรือเคยพบเห็นพระกริ่งมีออกญาจักรีคนเดียวเห็นบอกว่า สัก 20ปีมาแล้วได้เคยเห็นองค์หนึ่งเป็นของชาวบ้านนอกแต่ก็หาได้เอาใจใส่ไม่ครั้นมาถึงนครวัด มาได้ความจริงจากเมอร์ซิเออร์มาร์ชาลผู้จัดการรักษาโบราณสถานว่า เมื่อสัก2 – 3เดือนมาแล้วเขาขุดซ่อมเทวสถานซึ่งแปลงเป็นวัดพระพุทธศาสนาบนยอดเขามาเก็บพบพระพุทธรูปเล็ก ๆ อยู่ในหม้อใบหนึ่งหลายองค์เอามาให้เราดูเป็นพระกริ่งสุริยวงศ์ทั้งนั้น มีทั้งอย่างเนื้อดำและเนื้อเหลืองตรงกับที่สมเด็จพระอุปัชฌาย์ทรงอธิบายจึงเป็นอันได้ความแน่ว่าพระกริ่งที่ได้ไปยังประเทศเราแต่ก่อนนั้นเป็นของหาได้ในกรุงกัมพูชาแน่แต่จะนำมาจำหน่ายจากเมืองจีน หรือพวกขอมจะเอาแบบพระจีนมาหล่อขึ้นในประเทศขอมข้อนี้ไม่ทราบได้พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพตอนนี้ก็เห็นชัดว่าพระกริ่งปทุมสุริยวงศ์ใครเป็นผู้สร้างและแพร่หลายมาเมืองไทยเรามากพอควร

    ที่มา : watthummuangna.com - board<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2009
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมแก้ไขแล้วครับ

    ขอบคุณครับ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 45 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 41 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, แหน่ง+, psombat+, มูริญโญ่ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ่า สวัสดีครับทุกท่าน

    ยังมีเรื่องที่ชมรมรักษ์พระวังหน้า ต้องศึกษากันอีกมาก และ อีกเยอะมาก

    ยังมีเรื่องราวที่เรายังไม่รู้ ไม่ทราบ อีกมากมาย

    ต้องมีกำลังใจที่เข้มแข็ง ,มีศรัทธาที่เต็มเปี่ยม ,มีความมานะ อดทน ความเพียร และความพยายามอย่างเต็มที่กัน

    พระท่านเลือกผู้ที่ท่านจะไปอยู่ด้วยจริงๆ

    โมทนาสาธุครับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอชมผ่านบอร์ด

    สำหรับคุณpsombat เป็นบุคคลที่ตั้งใจศึกษาเป็นอย่างมาก ผมเชื่อว่า อีกไม่นานนี้ ตามสมาชิกรุ่นเก่าๆทันแน่นอน

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า ท่านอื่นๆ ก็ไม่ต้องน้อยใจ ต้องเร่งกันอีกนิดนะครับ

    ทุกวันนี้ ผมและหลายๆท่าน วิ่งกันไปข้างหน้า หากท่านอื่นๆ จะยังคงเดินตามอยู่ จะไม่ทันนะครับ

    ผมบอกได้ว่า ยิ่งเรียนรู้ ยิ่งค้นพบในสิ่งที่ไม่เคยพบ ไม่เคยเห็น ผมรู้สึกถึงผู้ที่ได้ค้นพบสิ่งใหม่ๆว่า ความรู้สึกเป็นอย่างไร ดีใจอย่างไร ภูมิใจอย่างไร รู้สึกได้หมดครับ

    เป็นกำลังใจให้สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าทุกๆท่านนะครับ

    .
     
  15. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    สวัสดีครับลูกพี่ ... แม้จะทดลองไปเพียง 3 วัน (ปรับสภาพร่างกาย 1 วัน) อยากบอกว่านอกจากความโดดเด่นในวัตถุประสงค์การสร้างแล้ว คิดว่าครบเครื่องโดยเฉพาะด้านโภคทรัพย์ เมตตาครับ!
     
  16. Phocharoen

    Phocharoen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +225
    คุณ สิทธิพงศ์
    ผมหาเบอร์บัญชี ที่จะส่งไม่พบ มีแต่ บัญชีส่วนตัวของคุณ ที่ลงท้ายด้วย 7 ผมขอส่งบัญชีนี้แล้วกันนะครับ อีกอย่างจะโทรฯ แจ้ง ก็ไม่พบเบอร์โทรฯของคุณอีก ต้องขอโทษด้วย
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์

    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 19.92552/ จำนวน 1,000 บาท
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 19.92552/
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม มอบเงินแล้ว 19.92552/
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน(โอนวันที่ 28 กย 52)
    7.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Natachai<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2408238", true); </SCRIPT> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    8.น้องชาsira (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    9.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->มูริญโญ่<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    10.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Phocharoen<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2438846", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    11.คุณเมตตา <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 10 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    12.เจ้าของวัดไ..... จอง 5 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    13.
    14.
    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง ....... เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน

    รวมจำนวน 26 เล่ม

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
    <!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่เป็นไรครับ

    โอนเข้าบัญชีส่วนตัวของผมก็ได้ ผมจะโอนต่อไปเองครับ

    บัญชีของการจองหนังสือปู่เล่าให้ฟัง ถ้าผมจำไม่ผิด จะส่งให้ทาง Email แล้วนะครับ

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์

    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 19.92552/ จำนวน 1,000 บาท
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 19.92552/
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม มอบเงินแล้ว 19.92552/
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน(โอนวันที่ 28 กย 52)
    7.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Natachai<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2408238", true); </SCRIPT> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    8.น้องชาsira (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    9.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->มูริญโญ่<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    10.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Phocharoen<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2438846", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 5 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    11.คุณเมตตา <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 10 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    12.เจ้าของวัดไ..... จอง 5 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    13.
    14.
    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง ....... เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน

    รวมจำนวน 33 เล่ม

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
    <!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผม และคุณเพชร เคยย้ำมาโดยตลอดว่า ขอให้เข้าไปอ่านเรื่องของพระวังหน้า ในกระทู้พระวังหน้าฯ เนื่องจากเป็นเป็นความรู้ที่ผมได้นำมาลงให้ได้อ่านกัน

    เพียงแต่องค์ความรู้ที่ผมรับรู้ รับทราบมา ผมนำมาลงในกระทู้นี้ไม่ถึง 5% ขององค์ความรู้ที่ผมได้เรียนรู้มา แต่องค์ความรู้ที่ผมเรียนรู้มาทั้งหมด ก็ยังไม่ถึง 1% ขององค์ความรู้ท่านอาจารย์ประถม และพี่ใหญ่

    จึงอยากจะบอกว่า ขอให้เข้าไปอ่านในกระทู้พระวังหน้าฯนี้ก่อนนะครับ หากคำถามใดที่ผมเคยลงให้ทราบในกระทู้พระวังหน้าฯ ผมจะไม่ตอบ และจะแจ้งให้ทราบว่า ผมได้เคยลงในกระทู้พระวังหน้าฯนี้แล้ว ให้ลองไปหาอ่านกันดูครับ

    ส่วนเรื่องของ pm ก็ไม่ต้อง pm เข้ามาถามผมนะครับ ขอให้เข้ามาถามในกระทู้พระวังหน้าฯนี้ได้เลย ผมจะตอบให้ในกระทู้พระวังหน้าฯ แต่หากท่านใดที่ pm เข้ามาถาม ผมจะนำคำถามที่ท่านถาม มาตอบในกระทู้พระวังหน้าฯ และผมจะไม่ปิดชื่อท่านผู้ถามครับ

    อีกเรื่องก็คือ การศึกษาพระวังหน้า ผมและเพื่อนๆอีกหลายๆท่าน ตามหาพระวังหน้ามาเป็นเวลานับสิบกว่าปี จึงได้พบท่านผู้รู้จริง แต่กว่าจะได้พบท่านผู้รู้จริง ผมเสียเงิน เสียเวลา ทุ่มแรงกาย แรงใจ ในการค้นหาว่า พระวังหน้าเป็นอย่างไร หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดรเป็นใคร มาจากไหน มาทำอะไร มาเพื่ออะไร

    ดังนั้น ท่านที่จะสมัครชมรมรักษ์พระวังหน้า จึงต้องมีความศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยม มีความพยายาม ,ความเพียร ,ความอดทน และอีกหลายๆเรื่องก่อน เพราะหากว่าไม่มีสิ่งเหล่านี้ ท่านก็เรียนรู้ไม่ได้แน่

    ถึงแม้จะสมัครกับท่านประธานชมรม หรือรองประธานชมรม ซึ่งต้องนำเรื่องนี้เข้าที่ประชุมชมรม ผมก็จะเป็นผู้ที่คัดค้านการสมัครสมาชิกของท่าน

    ความรู้เรื่องของพระวังหน้า มีให้ท่านได้เลือกที่จะศึกษาอยู่มากมาย มีตำราที่มีผู้ที่เขียนออกมามาก ก็แล้วแต่ท่านว่า จะศึกษาในตำราไหน
    แต่โดยส่วนตัวผม ผมยังเชื่อในตำราที่ท่านอาจารย์ประถมเขียน ส่วนตำราเล่มอื่นๆนั้น เป็นเพียงส่วนประกอบในบางเรื่องเท่านั้น

    ผมเองนั้น นอกจากมีครูบาอาจารย์ที่รู้จริงในเรื่องของ "รูป(เนื้อหาทรงพิมพ์)" แล้ว ผมยังมีครูบาอาจารย์ที่รู้จริงในเรื่องของ "นาม(พลังอิทธิคุณขององค์ผู้อธิษฐานจิต)" และผมเองยังมีหลักฐานในบางเรื่องที่สามารถชี้ชัดลงไปได้ว่า นี่ก็เป็นหลักฐานเรื่องหนึ่งในเรื่องของพระวังหน้า หลักฐานเหล่านี้ก็ได้ผ่านการตรวจสอบ ทั้ง "รูป" และ "นาม" เรียบร้อยแล้ว

    การศึกษาทั้ง "รูป(เนื้อหาทรงพิมพ์)" และ "นาม(พลังอิทธิคุณขององค์ผู้อธิษฐานจิต)" เป็นอย่างไร ผมเคยอธิบายไว้ในกระทู้พระวังหน้าฯนี้แล้วเช่นกัน

    ไม่อย่างนั้นผมคงไม่สามารถที่จะจัดอันดับความสำคัญของพระวังหน้าได้ หากไม่ได้ครูบาอาจารย์ที่รู้จริง บอกถึงเรื่องของ "รูป(เนื้อหาทรงพิมพ์)" และ "นาม(พลังอิทธิคุณขององค์ผู้อธิษฐานจิต)" ครับ


    [​IMG]
    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
     

แชร์หน้านี้

Loading...