พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>สร้าง 7 พฤติกรรมดี สร้างเด็กมีสุขในโลกทุนนิยม
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>17 กันยายน 2552 17:49 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=230 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=230>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ในโลกทุนนิยมนี้ ไม่เพียงแต่ผู้ใหญ่ที่ถูกปั่นให้หลงไปตามกระแส เด็ก ๆ อีกจำนวนมากก็ยังตกอยู่ในภาวะ "ไร้สุข" ไม่พอใจในสิ่งที่ตนเองเป็น หรือมีอยู่ การเปรียบเทียบตัวเองกับเพื่อน ๆ ในเรื่องวัตถุที่ครอบครองมีสูง ซึ่งการจะปลูกฝังให้เด็ก ๆ ก้าวไปอย่างถูกต้องนั้น คนเป็นพ่อแม่หลีกหนีความรับผิดชอบนี้ไม่ได้ค่ะ เพราะเด็ก ๆ หลายคน เมื่อเผชิญหน้ากับการเปรียบเทียบสิ่งที่ตัวเองมี - ไม่มี ก็อาจนำไปสู่ความน้อยเนื้อต่ำใจ อิจฉา จนกลายเป็นพฤติกรรมแกล้งเพื่อน ทำร้ายเพื่อน เพื่อกลบความรู้สึกด้อยค่าในตัวเองได้ในที่สุด

    วันนี้ ทีมงานขอนำเสนอลักษณะนิสัยดี ๆ 7 ประการที่พ่อแม่สามารถทำเป็นตัวอย่างให้ลูกเห็น และช่วยให้เด็กที่เรียนรู้ในสิ่งเหล่านี้สามารถอยู่รอดได้อย่างมีความสุขในโลกแห่งทุนนิยมมาฝากกันค่ะ

    1. พอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่

    ข้อนี้ พ่อแม่เป็นตัวอย่างที่ดีที่เด็กสามารถดูเป็นตัวอย่างได้ เช่น ถ้าทัศนคติของพ่อแม่ต่อรถคันเก่งของบ้านเป็นไปในลักษณะที่ว่า รถคันนี้ยังวิ่งได้ดีอยู่เลย ไม่ซื้อใหม่ก็ไม่เป็นหนี้ เด็ก ๆ ก็จะซึมซับความรู้สึก "พอเพียง" เหล่านั้นเอาไว้ และวันหนึ่งเด็ก ๆ หลายคนก็จะหยิบมันออกมาใช้บ้างกับสิ่งรอบตัวของเขา

    ขอยกตัวอย่างเหตุการณ์หนึ่งที่ผู้เขียนเคยพบเด็กนักเรียนหญิงตัวเล็ก ๆ แต่กลับไม่ร้องไห้งอแงอยากได้ของเล่นเหมือนเด็กคนอื่น เธอบอกแม่ของเธอว่า ไม่ต้องซื้อของเล่นชิ้นนี้ให้หนูหรอก เพราะหนูยังไม่อยากได้ ของเล่นที่บ้านก็ยังมีอยู่เลย ซึ่งคำตอบนี้ทำเอาคนรอบข้างอดแจกยิ้มให้กับแม่ของเด็กไม่ได้จริง ๆ ค่ะ

    2. มีความมุมานะ

    เด็กที่ไม่มีความพยายาม ไม่กระตือรือร้นกับการงานใด ๆ โอกาสที่จะกลายเป็นเด็กเฉื่อยก็มีสูง แต่เด็กที่มีพ่อแม่เป็นตัวอย่างที่ดีเรื่องความมุมานะ มองหาเป้าหมายของชีวิต เดินตามความฝันเพื่อให้ได้มาในสิ่งที่ต้องการ กลับเป็นเด็กที่สดใส เต็มไปด้วยชีวิตชีวา และมีความฝัน ซึ่งการกระตุ้นให้เกิดความมุมานะ อาจต้องอาศัยทัศนคติในเชิงบวกของพ่อแม่เป็นตัวช่วย โดยอาจสอนในเรื่องของการวางแผน บริหารสิ่งต่าง ๆ ทำงานอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน

    3. ไม่คบคนเพียงเปลือกนอก

    ในขณะที่โลกของผู้ใหญ่ เทคนิคทางการตลาดที่อาศัยชั้นเชิงและเล่ห์เหลี่ยมแพรวพราว กำลังล่อหลอกให้หลายคนต้องการซื้อโทรศัพท์มือถือบางยี่ห้อ เพื่อจะได้แสดงว่าเป็นคน "ประเภทเดียวกัน" แต่เชื่อว่า คุณพ่อคุณแม่ที่เห็นถึงอันตรายของโลกวัตถุนิยมจะไม่ต้องการให้ลูกเป็นไปในทิศทางนั้น หรือยอมรับได้กับการที่เห็นลูกมีเพื่อนคบเพียงเพราะมีตุ๊กตาตาโต ราคาแพงเอาไว้ประดับข้างกาย โดยไม่สนใจว่าเพื่อนของลูกจะมีพฤติกรรมอย่างไร

    เด็กที่คบเพื่อนโดยไม่ดูเพียงเปลือกนอก มีโอกาสได้พบเพื่อนแท้ที่จริงใจมากกว่าในขณะที่เด็กกลุ่มที่ไม่มองคนจากเปลือกนอก จะสามารถมองหาความงามจากจิตใจ เลือกคบเพื่อนที่ดี ตัดสินสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรอบคอบ และไม่ถูกชักชวนไปในทางไม่ดี

    4. หาความสุขได้ง่าย ๆ จากสิ่งรอบตัว

    หลายครอบครัวมองเห็นความสุขอยู่ใกล้แค่ปลายนิ้ว เพียงแค่ได้ดูพระอาทิตย์ตกดินด้วยกัน หรือแม้แต่การได้อยู่ร่วมกันพร้อมหน้าพ่อแม่ลูก หัวเราะด้วยกัน เล่นด้วยกัน เข้าใจกัน เพียงเท่านี้ก็เพียงพอแล้ว และเมื่อคนเรามีความสุขกับสิ่งเหล่านี้ได้ สิ่งของนอกกายก็ไม่จำเป็น และไม่ต้องเรียกร้องหาอีกต่อไป จุดสำคัญอยู่ที่ว่าคุณพ่อคุณแม่ได้ฝึกให้เขาเห็นถึง "ความสุข" เหล่านี้แล้วหรือยังค่ะ

    5. เติบโตเป็นคนที่เงินซื้อไม่ได้ มีศักดิ์ศรีในตัวเอง

    ข้อนี้สำคัญมาก เพราะในปัจจุบันเราได้เห็นผู้ใหญ่หลายคนที่ถูกเงินซื้อทั้งร่างกาย ความคิด จิตวิญญาณ ชื่อเสียงวงศ์ตระกูล หน้าที่การงาน ตลอดจนศักดิ์ศรีที่ควรจะมี คงไม่แปลกนักหากจะบอกว่า ในอดีตของคนเหล่านี้มีความน้อยเนื้อต่ำใจอยู่ไม่ใช่น้อย และมีความต้องการจะได้มาซึ่งทรัพย์สินเงินทองที่สูงกว่าคนธรรมดาทั่วไป จึงทำให้ผลในบั้นปลายสะท้อนออกมาเช่นนี้

    6. ไม่เสียใจ หรือผิดหวังรุนแรงกับชีวิต

    จากข้อที่ผ่านมา เด็กได้ค้นพบแล้วว่า ในโลกใบนี้มีอีกหลายสิ่งที่เขามีความสามารถ นอกเหนือจากการแค่ครอบครองสิ่งของ ดังนั้น เขาจึงไม่เปราะบางมากพอที่จะถูกทำลายลงได้ง่าย ๆ เพียงเพราะความผิดหวังที่ผ่านเข้ามากระทบ

    7. รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

    ในวันที่เด็กมองว่า "วัตถุ" ไม่สำคัญไปกว่าจิตใจ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ก็เป็นสิ่งที่เด็กน่ารักสามารถทำให้กับคนรอบข้างของเขาได้ค่ะ

    หากท่านผู้อ่านเห็นว่ามีลักษณะนิสัยอื่น ๆ ที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ค่ะ ทีมงานขอน้อมรับทุกความคิดเห็นด้วยความขอบคุณค่ะ

    ขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก Yahoo Health
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอนำมาฝากครับ
    catt3


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"ฉู่ฉี่กุ้งแม่น้ำ" รสไทยสไตล์ขลุกขลิก /กุ๊กเล็ก
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>17 กันยายน 2552 16:09 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> โดย: กุ๊กเล็ก

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> "ฉู่ฉี่" เป็นอาหารไทยดั้งเดิมประเภทหนึ่ง มีน้ำแกงข้นขลุกขลิก และหากินได้ไม่บ่อยนัก จะทำเป็นฉู่ฉี่ปลา ฉู่ฉี่กุ้ง ก็ถือว่า รสเด็ดไม่แพ้กัน โดยเฉพาะกับ "ฉู่ฉี่กุ้งแม่น้ำ" ถือเป็นเมนูเด็ดที่มื้อนี้ "กุ๊กเล็ก" เกิดปิ๊งไอเดีย จึงไปเสาะหาวัตถุดิบมาเข้าครัวทำฉู่ฉี่กุ้งแม่น้ำ กินให้หายอยาก

    เครื่องปรุงพริกแกงฉู่ฉี่

    พริกแห้งเอาเม็ดออก แช่น้ำ 6-8 เม็ด
    หอมแดง 5-10 หัว
    กระเทียม 5-10 กลีบ
    ข่าซอย 7 แว่น
    ตะไคร้ซอย 2 ต้น
    กะปิ 2 ช้อนโต๊ะ
    เกลือ 1 ช้อนชา


    ส่วนผสม

    กุ้งแม่น้ำ 3-4 ตัว(ตามขนาด)
    กะทิ 1 ถ้วย
    หัวกะทิ สำหรับโรยหน้า
    น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ
    น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ
    น้ำตาลปี๊บ 1/2 ช้อนโต๊ะ
    ใบมะกรูดหั่นฝอย 1 ช้อนโต๊ะ
    พริกชี้ฟ้าแดง 1/2 ช้อนโต๊ะ
    พริกชี้ฟ้าเขียว 1/2 ช้อนโต๊ะ
    ใบโหระพา 1/2 ช้อนโต๊ะ


    วิธีทำ

    ลำดับแรกคือนำเครื่องปรุงพริกแกงฉู่ฉี่ทั้งหมด มาโขลกรวมกับจนละเอียด จากนั้นจึงหันมาตั้งกระทะใส่น้ำมัน รอไฟปานกลาง ทอดกุ้งแม่น้ำให้เหลืองอร่าม แล้วพักวางในจาน

    แล้วมาต่อด้วยการ ผัดพริกแกงกับน้ำมันพืชคลุกเคล้ากันจนพอมีกลิ่นหอม เทกะทิลงไปเคี่ยวจนแตกมัน ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลปี๊บ เมื่อได้ที่แล้วนำพริกแกงที่ผัดได้ มาราดลงบนตัวกุ้ง ก่อนโรยหน้าด้วยหัวกะทิ พริกชี้ฟ้าเขียวและแดงซอย ใบมะกรูดซอย ใบโหระพา ก็เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการทำฉู่ฉี่กุ้งแม่น้ำ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์
    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณnongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.
    6.
    7.
    8.
    9.
    10.
    11.
    12.
    13.
    14.
    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.

    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2009
  4. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ระหว่างนี้ยังอยู่ที่ กท. ครับ กลับอาทิตย์เช้า
     
  5. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ผมขอจอง 2 เล่ม พรุ่งนี้มอบเงินให้ครับ ขอบคุณครับ
     
  6. ลุงจิ๋ว

    ลุงจิ๋ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2008
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +990
    ขอจอง 1 เล่มครับ วันที่ 28 ก.ย. 52 โอนครับ...ขอบคุณครับ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์
    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณnongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน(พรุ่งนี้มอบเงินให้)
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน(โอนวันที่ 28 กย 52)
    7.
    8.
    9.
    10.
    11.
    12.
    13.
    14.
    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.

    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าท่านใดต้องการชมพระกริ่งสมเด็จกรมพระยาปวเรศบ้างครับ[​IMG] ผมจะส่งรูปให้ชมทาง Email ครับ

    [​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]
    หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ

    [​IMG]

    พระครูวิมลคุณากร หลวงปู่ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า

    [​IMG]

    พระครูธรรมานุกูล (ภู จนฺทเกสโร)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    พระกริ่งสมเด็จกรมพระยาปวเรศ ผมจะส่งรูปให้ชมทาง Email แล้วนะครับ ผมส่งให้คุณnongnooo และคุณpsombat ครับ

    [​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]
    หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ

    [​IMG]

    พระครูวิมลคุณากร หลวงปู่ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า

    [​IMG]

    พระครูธรรมานุกูล (ภู จนฺทเกสโร)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    3.8 KB, ดาวน์โหลด 119 ครั้ง
    15-09-2009 07:06 PM
     
  11. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า...เปิดประเด็นให้ท่านเลขาหน่อยครับจากวิกิพีเดียครับ เงินสเตอร์ริงครับคร่าวๆ เค้ามักเรียกกันว่าเงิน925 เป็นโลหะผสมระหว่าเงิน 92.5% กับ ทองแดง 7.5% ครับ ค้นพบมาตั้งแต่ ประมาณ ศตวรรษที่13แล้วครับ
    Sterling silver

    From Wikipedia, the free encyclopedia


    Jump to: navigation, search
    <!-- start content --><TABLE class="metadata plainlinks ambox ambox-style"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]
    </TD><TD class=mbox-text>This article includes a list of references, related reading or external links, but its sources remain unclear because it lacks inline citations. Please improve this article by introducing more precise citations where appropriate. <SMALL>(June 2009)</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>Sterling silver is an alloy of silver containing 92.5% by weight of silver and 7.5% by weight of other metals, usually copper. The sterling silver standard has a minimum millesimal fineness of 925.
    [​IMG] [​IMG]
    Pair of sterling silver forks


    Fine silver (99.9% pure) is generally too soft for producing large functional objects; therefore, the silver is usually alloyed with copper to give it strength, while at the same time preserving the ductility and beauty of the precious metal. Other metals can replace the copper, usually with the intent to improve various properties of the basic sterling alloy such as reducing casting porosity, eliminating firescale, and increasing resistance to tarnish. These replacement metals include germanium, zinc and platinum, as well as a variety of other additives, including silicon and boron. A number of alloys, such as Argentium sterling silver have appeared in recent years, formulated to lessen firescale or to inhibit tarnish, and this has sparked heavy competition among the various manufacturers, who are rushing to make claims of having the best formulation. However, no one alloy has emerged to replace copper as the industry standard, and alloy development is a very active area.
    <TABLE class=toc id=toc summary=Contents><TBODY><TR><TD>Contents

    [hide]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "show"; var tocHideText = "hide"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [edit] Origin of the alloy metal

    Although the origin of the word "sterling" is controversial, there is general agreement that the sterling alloy originated in continental Europe, and was being used for commerce as early as the 12th century in the area that is now northern Germany.

    [edit] Origin of the word "sterling", used to refer to the silver alloy

    The word "sterling", used in reference to the 925 grade of silver, emerged in England by the 13th century. The terms "sterling" and "pound sterling" acquired their meaning in more than a century, and from convergent sources. There are three possible origins for the word "sterling"; two originate from 12th and 13th century coinage, and one is generally discounted. The word could have derived from the Old English word "stiere", meaning "strong, firm, immovable".

    [edit] Starling theory, discounted

    Although marks of birds have been used in some coins of Edward the Confessor, sterling is not likely to have been derived from starling, as the word for starling at the time was spelled stær.
    Challenge to discount: the 'ling' suffix was often used in old english as a mark of quality in connection with / following on from the prefix. This would imply that, dropping the 'a' of 'æ' in 'stær' (method sometimes used to distinguish between meanings or articles of words, or to create words for new things that have a relation to existing things) and adding the suffix 'ling' would create 'sterling' (poss. orig. 'stærling' - conjecture) meaning 'a thing of quality relating to the stær'.

    [edit] Mint mark theory

    The 1955 edition of the Oxford English Dictionary states that the early Middle English name sterling was presumably descriptive of small stars that were visible on early Norman pennies. (Old English: steorling.)

    [edit] "Easterling" theory

    An alternative explanation put forth by Walter de Pinchebek circa 1300 is that sterling silver may have been known first as "Easterling Silver". The term "Easterling Silver" is believed to have been used to refer to the grade of silver that had originally been used as the local currency in an area of Germany, known as "The Easterling".
    This "Easterling" area consisted of five towns in northern Germany that banded together in the 12th century under the name Hanseatic League. The Hanseatic League proceeded to engage in considerable commerce with England. In payment for English cattle and grain, the League used their local currency. This currency was in the form of 92.5% silver coins. England soon learned that these coins, which they referred to as "the coins of the Easterlings", were of a reliably high quality and hardness.
    King Henry II set about to adopt the alloy as the standard for English currency. He recruited metal refiners from The Easterling and put them to work making silver coins for England. The silver these refiners produced came into usage as currency by 1158 in the form of what are now known as "Tealby Pennies", and was eventually adopted as a standard alloy throughout England. The original name "Easterling Silver" later became known as simply "sterling silver".
    The original English silver penny was 22½ troy grains of fine silver (as pure as can readily be made). 22½ troy grains is equivalent to 30 so-called tower grains or one tower pennyweight. When Henry II reformed the coinage, he based the new coinage on the then international standard of the troy pound rather than the pre-conquest English standard of the tower pound. A troy pennyweight is 24 troy grains. To maintain the same amount of silver (and thus the same value) in a coin that weighed more required less silver. It required that the alloy be only 92½% pure.
    Though coin weights and silver purity varied considerably (reaching a low point before the reign of Elizabeth I, who reinstated sterling silver coinage for the first time since the early 14th century), the pound sterling was used as currency in England from the 12th century until the middle of the 20th century. Specifically this was in the silver coins of the British Empire: Britain, British colonies, and some former British colonies. This sterling coin silver is not to be confused with American "coin silver".
    Sterling silver, no longer used in circulating currency, is still used for flatware, jewellery and plate, and is a grade of silver respected for both relatively high purity and sufficient hardness to form durable objects in daily use.

    [edit] A century of dining regalia: the silver craze of 1840 to 1940

    [​IMG] [​IMG]
    19th-century Tiffany & Co. Pitcher. Circa 1871. Pitcher has paneled sides, and repousse design with shells, scrolls and flowers. Top edge is repousse arrowhead leaf design.


    From about 1840 to somewhere around 1940 in the United States and Europe, sterling silver flatware became de rigueur when setting a proper table. In fact, there was a marked increase in the number of silver companies that emerged during that period.
    The height of the silver craze was during the 50-year period from 1870 to 1920. Flatware lines during this period sometimes included up to 100 different types of pieces. In conjunction with this, the dinner went from three courses to sometimes ten or more. There was a soup course, a salad course, a fruit course, a cheese course, an antipasto course, a fish course, the main course and a pastry or dessert course.
    Individual eating implements often included forks (dinner fork, place fork, salad fork, pastry fork, shrimp or cocktail fork), spoons (teaspoon, coffee spoon, demitasse spoon, bouillon spoon, gumbo soup spoon, iced tea spoon) and knives (dinner knife, place knife, butter spreader, fruit knife, cheese knife). This was especially true during the Victorian time period, when etiquette dictated that nothing should be touched with one's fingers.
    Serving pieces were often elaborately decorated and pierced and embellished with ivory, and could include any or all of the following: carving knife and fork, salad knife and fork, cold meat fork, punch ladle, soup ladle, gravy ladle, casserole serving spoon, berry spoon, lasagna server, macaroni server, asparagus server, cucumber server, tomato server, olive spoon, cheese scoop, fish knife and fork, pastry server, petit four server, cake knife, bon bon spoon, tiny salt spoon, sugar sifter or caster and crumb remover with brush.
    Flatware sets were often accompanied by tea services, hot water pots, chocolate pots, trays and salvers, goblets, demitasse cups and saucers, liqueur cups, bouillon cups, egg cups, sterling plates, napkin rings, water and wine pitchers and coasters, candelabra and even elaborate centerpieces.
    In fact, the craze with sterling even extended to business (sterling page clips, mechanical pencils, letter openers, calling card boxes, cigarette cases), to the boudoir (sterling dresser trays, mirrors, hair and suit brushes, pill bottles, manicure sets, shoehorns, perfume bottles, powder bottles, hair clips) and even to children (cups, flatware, rattles, christening sets).
    A number of factors converged to make sterling fall out of favor around the time of World War II. The cost of labor rose (sterling pieces were all still mostly hand-made, with only the basics being done by machine). Only the wealthy could afford the large number of servants required for fancy dining with ten courses. And changes in aesthetics resulted in people desiring simpler dinnerware that was easier to clean.

    [edit] Hallmarks

    Over the years, most countries in the world have developed their own systems of hallmarking silver. The purpose of hallmark application is manifold:
    • To indicate the purity of the silver alloy used in the manufacture or hand-crafting of the piece.
    • To identify the silversmith or company that made the piece.
    • To note the date and/or location of the manufacture.
    [edit] Miscellaneous

    In addition to the uses of sterling silver mentioned above, there are some little known uses of sterling:
    • Medical instruments: Evidence of silver and/or silver-alloy surgical and medical instruments has been found in civilisations as early as Ur, Hellenistic-era Egypt and Rome, and their use continued until largely replaced in Western countries in the mid to late 20th century by cheaper, disposable plastic items. Its natural malleability is an obvious physical advantage, but it also exhibits medically-specific utility, including the fact that it is naturally aseptic, and, in respect of modern medical practices, it is resistant to antiseptics, heat sterilisation and body fluids.
    • Musical instruments: Due to sterling silver having a special sound character, some brasswind instrument manufacturers use 92.5% sterling silver as the material for making their instruments, including the flute and saxophones. For example, some leading saxophone manufactuers such as Selmer and Yanagisawa have crafted some of their saxophones from sterling silver, which they believe will make the instruments more resonant and colorful in timbre.
    [edit] Tarnish and corrosion

    As the purity of the silver decreases, the problem of corrosion or tarnishing increases.
    Chemically, silver is not very reactive — it does not react with oxygen or water at ordinary temperatures, so does not easily form a silver oxide. However, other metals in the alloy, usually copper, may react with oxygen in the air.
    The black silver sulfide (Ag<SUB>2</SUB>S) is among the most insoluble salts in aqueous solution, a property that is exploited for separating silver ions from other positive ions.
    Sodium chloride (NaCl) or common table salt is known to corrode silver-copper alloy, typically seen in silver salt shakers where corrosion appears around the holes in the top.
    <TABLE class="metadata plainlinks mbox-small" style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #f9f9f9"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>[​IMG]</TD><TD class=mbox-text>The Wikibook Do-It-Yourself has a page on the topic of Polishing silver
    </TD></TR></TBODY></TABLE>Several products have been developed for the purpose of polishing silver that serve to remove sulfur from the metal without damaging or warping it. Because harsh polishing and buffing can permanently damage and devalue a piece of antique silver, valuable items are typically hand-polished to preserve the unique patinas of older pieces. Techniques such as wheel polishing, which are typically performed by professional jewelers or silver repair companies, are reserved for extreme tarnish or corrosion. See also Tarnish, Removal.

    [edit] References

    • All About Antique Silver with International Hallmarks, 2nd printing (2007), by Diana Sanders Cinamon, AAA Publishing, San Bernardino, CA.
    • Origins: A Short Etymological Dictionary of Modern English, by lexicographer Eric Partridge.
    • The Oxford English Dictionary, by John Simpson and Edmund Weiner.
    • Silver in America, 1840–1940: A Century of Splendor, third edition (1997), by Charles L. Venable; Harry N. Abrams, Inc., New York, NY.
    • Tiffany Silver Flatware, 1845–1905: When Dining Was an Art, by William P. Hood, Jr.; 1999; published by the Antique Collectors Club Ltd., Suffolk, England.
    • The Encyclopedia of American Silver Manufacturers, revised fourth edition (1998), by Dorothy T. Rainwater and Judy Redfield; Schiffer Publishing Ltd., Atglen, PA.
    • The Book of Old Silver, English – American – Foreign, With All Available Hallmarks Including Sheffield Plate Marks, by Seymour B. Wyler; 1937; Crown Publishers, Inc., New York, NY.
    • International Hallmarks on Silver Collected by Tardy, 5th English Language reprint (2000); original publication date unknown, date of first softcover publication 1985; author unknown; publisher unknown.
    [edit] External links

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: gold" colSpan=2>[hide]
    v d e
    Jewellery</TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Forms</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Anklet · Belt buckle · Bracelet · Brooch · Chatelaine · Crown · Cufflink · Earring · Necklace · Ring · Tiara · Tie bar · Watch (pocket)
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Making</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">People
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Bench jeweler · Goldsmith · Jewelry designer · Lapidary · Watchmaker
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Processes
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Casting (centrifugal, lost-wax, vacuum) · Enameling · Engraving · Filigree · Metal clay · Plating · Polishing · Repoussé and chasing · Soldering · Stonesetting · Wire wrapping
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Tools
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Draw plate · File · Hammer · Mandrel · Pliers
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Materials</TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">
    <TABLE class="nowraplinks navbox-subgroup" style="WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metals
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Gold · Palladium · Platinum · Rhodium · Silver
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Precious metal alloys
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Colored gold · Crown gold · Electrum · Platinum sterling · Sterling silver · Britannia silver · Tumbaga
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Base metals/alloys
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Brass · Bronze · Copper · Pewter · Stainless steel · Titanium
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Mineral Gemstones
    </TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Aventurine · Agate · Alexandrite · Amethyst · Aquamarine · Carnelian · Citrine · Diamond · Emerald · Garnet · Jade · Jasper · Malachite · Lapis lazuli · Moonstone · Onyx · Opal · Peridot · Quartz · Ruby · Sapphire · Sodalite · Sunstone · Tanzanite · Tiger's Eye · Topaz · Tourmaline
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="PADDING-RIGHT: 0em; PADDING-LEFT: 0em; BACKGROUND: #fdf6b0">Organic Gemstones
    </TD><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Amber · Copal · Coral · Jet · Pearl · Abalone
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TD class=navbox-group style="BACKGROUND: #fff288">Terms</TD><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">Carat (mass) · Carat (purity) · Finding · Millesimal fineness
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับพระกริ่งปวเรศนั้น มี 2 รุ่น คือรุ่นที่หลวงปู่องค์อภิญญาใหญ่ อธิษฐานจิต กับ รุ่นที่หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ อธิษฐานจิตเดี่ยว

    พี่ใหญ่บอกมาว่า ดีมากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก และ บอกว่า......

    ส่วนเจ้าของวัดไ......... บอกว่า ..........

    ส่วนจะบอกอย่างไร ไว้ไปพบกันในวันประชุมชมรมรักษ์พระวังหน้า หรือ วันงานใหญ่ปลายปีนี้ แต่หากท่านใดใจร้อน อยากทราบก่อน โทร.มาสอบถามผมได้ครับ

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เหอๆๆๆๆ ผมไปเห็นมาแล้วครับที่วัดไ.... ซึ่งเจ้าของวัดไ...... การันตีว่า เป็นเงินสเตอร์ริง

    แต่อย่างไรก็ตาม สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลำ หุหุหุ

     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นาก

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->นาก
    ?

    [​IMG]
    นากใหญ่ธรรมดา (Lutra lutra)
    การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์[แสดง]
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>อาณาจักร</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Animalia</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>ไฟลัม</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Chordata</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>ชั้น</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Mammalia</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>อันดับ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Carnivora</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>วงศ์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Mustelidae</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=80 bgColor=#f3f3f4>วงศ์ย่อย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>Lutrinae</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>

    ข้อมูลทั่วไป[แสดง]
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY></TBODY></TABLE>


    Amblonyx



    Aonyx


    Enhydra


    Lontra


    Lutra


    Lutrogale



    Pteronura






    <DL><DD>สำหรับความหมายอื่น ดูที่ นาก (แก้ความกำกวม)

    </DD></DL>
    นาก เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ใหญ่ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับวีเซลหรือเพียงพอน แต่นากจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Lutrinae มีทั้งหมด 6 สกุล (ดูในตางราง)
    เป็นสัตว์บกที่สามารถว่ายน้ำและหากินในน้ำได้อย่างคล่องแคล่วมาก มีรูปร่างโดยรวมหัวสั้นและกว้าง หูเล็ก นิ้วเท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดคล้ายตีนเป็ด ขนลําตัวสีนํ้าตาลอมเทา มี 2 ชั้น ชั้นในละเอียด ชั้นนอกหยาบ ขาหลังใหญ่และแข็งแรงกว่า ขาหน้า ใช้ว่ายนํ้าร่วมกับหาง มีฟันแหลมและแข็งแรง มีหนวดยาวใช้เป็นอวัยวะจับการเคลื่อนไหวของสิ่งที่อยู่ใต้น้ำและใช้เป็นประสาทสัมผัสเมื่อเวลาอยู่ในน้ำ ไล่จับปลาและสัตว์นํ้าเล็ก ๆ เป็นอาหาร ในบางชนิดอาจกินสัตว์จำพวกอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ด้วย ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ขุดรูอยู่ริมตลิ่งใช้เป็นรังสำหรับอาศัยและเลี้ยงดูลูกอ่อน
    นากจึงเป็นสัตว์ที่มีที่อยู่ในธรรมชาติใกล้กับแหล่งน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ พบได้ทั่วโลก โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ นากยักษ์ (Pteronura brasiliensis) พบในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ ชนิดที่เล็กที่สุด คือ นากเล็กเล็บสั้น (Aonyx cinerea) บางชนิดพบในทะเล เช่น นากทะเล (Enhydra lutris) ที่สามารถนอนหงายท้องบนผิวน้ำทะเลและเอาหินทุบเปลือกหอยกินเป็นอาหารได้ด้วย สำหรับนากชนิดที่หายากที่สุดในโลก คือ นากจมูกขน (Lutra sumatrana) ที่พบในภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด คือ นากใหญ่ธรรมดา หรือ นากยุโรป (Lutra lutra), นากใหญ่ขนเรียบ (Lutrogale perspicillata), นากเล็กเล็บสั้น และนากจมูกขน
    นากมีความสำคัญต่อมนุษย์ คือ ในอดีตมีการล่าเพื่อเอาหนังและขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์ โดยเฉพาะในทวีปยุโรปมีการล่าอย่างหนัก ทำให้นากหลายชนิดเกือบสูญพันธุ์ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1975 ทางกองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wide Fund for Nature) ได้เรียกร้องให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ยกเลิกการค้าหนังนาก ซึ่งก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้นากได้รับความคุ้มครอง แต่กระนั้นในบางพื้นที่ก็ยังคงมีการลักลอบกันอยู่
    นอกจากนี้แล้ว นากยังเป็นสัตว์ที่สามารถเลี้ยงให้เชื่องและนำมาแสดงโชว์ได้ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่นเดียวกับ โลมา หรือ แมวน้ำ
    อ้างอิง

    นาก - วิกิพีเดีย
     
  15. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    รบกวน ท่านเลขาอนุเคราะห์ส่งรูปมาให้ดูก่อนนะครับ
    วันประชุมค่อยดูของจริง (จะเริ่มนับวันแวครับ)

    ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 13 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 11 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>nongnooo, dragonlord </TD></TR></TBODY></TABLE>
    หวาดดีน้องก๊อนครับ หุ หุ
     
  18. dragonlord

    dragonlord เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    541
    ค่าพลัง:
    +1,541
    สวัสดีตอนดึกคะ

     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

แชร์หน้านี้

Loading...