พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อันนี้ท่าจะจริง ใจเป็นประธาน อย่างน้อยผมพบเจอมา ๒ เรื่องที่เนื้อความของการใช้งานมีผลมากเช่น กรณีที่บทสวดพระคาถาชินบัญชร ฉบับที่เผยแพร่ที่วัดระฆัง ขึ้นต้นว่า"ชะยาสะนากะตา.." แต่หลักฐานของที่บ้านธรรมโชติที่อ้างอิงหลักฐานมากมาย ใช้"ชิยาสะรากะตา.." แต่ผลที่สุดให้ความเห็นว่า อยู่ที่ใจ ...

    กรณีที่ ๒ ในการรเรียนศาสตร์แห่งพลังในระดับสูงนั้นมีช่วงหนึ่งที่เป็นการเขียนสัญญลักษณ์(symbol) เพื่อการส่งทางไกล คล้ายกับลักษณะการเขียนยันต์โบราณ ซึ่งสมัยโบราณจนเวลาปัจจุบันนี้ ลักษณะการถ่ายทอดการเขียน symbol นั้นมีข้อห้ามการเขียนลงในกระดาษ หรือวัสดุใดๆ เพราะถือว่าเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ จึงต้องใช้วิธีวาดภาพกลางอากาศให้ดู และจดจำนำไปเขียน และบริกรรมคาถากำกับอักขระแต่ละตัว จวบจนเวลานี้ผ่านมาร่วม ๓,๐๐๐ ปี รายละเอียดการเขียนของศิษย์แต่ละรุ่นไม่เหมือนกันทีเดียว แตกต่างออกไปมากกว่า ๑๐ แบบ แต่ปรากฎว่า ได้ผลการใช้ที่เหมือนกัน...

    ในกรณีนี้ จะอย่างไรก็ตามที ก็น่าจะลองพยายามสรุปให้ใกล้เคียงความจริงที่สุด และมีหลักฐานอ้างอิง และควรต้องระบุที่มาในแผ่นสแตนเลสนั้น เพื่อคนรุ่นหลังสามารถค้นคว้าข้อมูลได้ต่อเนื่อง
     
  2. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    เหอๆ..มาแล้วครับมารายงานตัวช้าหน่อยรถไฟสายใต้เที่ยวนี้คนตรึมครับ พอรู้ว่าจะมากระทู้พระวังหน้าก็ขอตามมาด้วยแยะเลย เฮ้อเหนื่อย ขอตัว ราตรีสวัสดิ์เลยนะ
    โมทนาบุญกับทุกท่านด้วยครับ
    [​IMG]
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]

    วันนี้ผมมีโอกาสได้รื้อค้นหนังสือเก่าที่บ้าน ผมได้พบข้อมูลของพระสมเด็จบัณฑูร กรุวังหน้าอยุธยา ซึ่งได้เคยบันทึกในหนังสือปู่. เล่าให้ฟัง ฉบับสมบูรณ์ แต่หัวข้อนี้ได้บันทึกไว้เป็นหัวข้อหนึ่งในหนังสือชื่อพุทธานุสรณ์ พระเครื่อง และพระบูชา ของเทพชู ทับทอง หัวข้อนี้ชื่อว่า พระโคนสมอ เพื่อนๆที่ได้อ่านบทความนี้ ขอให้ copy ไว้แล้วแทรกไว้ในหนังสือปู่. เล่าให้ฟังในหน้าที่ ๔๑-๔๖ เพื่อประกอบความรู้ความเข้าใจยิ่งขึ้น ให้รู้ว่า กรุนี้มีจริงตามหลักฐานอ้างอิง ดังนั้นผู้ใดที่คิด พูด ทำ ปรามาสพระกรุวังหน้า อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ก็ให้เป็นไปตามกรรม หลวงปู่ฯอาจจะยอมยกโทษให้ เทพเทวาอาจจะไม่ถือสา แต่บริวารให้เทพเทวาอาจจะไม่ยอมยกโทษให้ เวลานั้นก็คงได้ยินข่าวคราวกัน..

    พระเครื่องโคนสมอ
    เป็นพระเครื่องที่มีอยู่ทั่วๆไปทุกวัด เป็นศิลปสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่สร้างขึ้นภายหลังพ.ศ.๑๙๕๐ เป็นต้นมา จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    ลักษณะ เป็นพระทรงเครื่อง อยู่ในเรือนแก้ว ทำเป็นปางต่างๆ ๙ ปางประจำวันเกิด

    ขนาด มีทั้งขนาดเล็ก และใหญ่ขนาดศอก

    เนื้อ มีทั้งทำด้วยชิน และกระเบื้อง เนื้อกระเบื้องบางองค์ลงรักปิดทองเหลืองอร่าม

    การพบ
    พบครั้งแรกเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เจ้าพนักงานอัญเชิญพระพุทธรูปโบราณทางเหนือมาประดิษฐานที่วัดพระเชตุพนฯ และต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์สถานสำหรับพระนครขึ้นที่พระราชฐานพระราชวังบวรฯนั้น เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์แม่กองซ่อมแซมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือที่เรียกเป็นคำสามัญว่า"วังหน้า" ได้พบพระชินอาบปรอทเป็นจำนวนถึง ๑๓ ปิ๊บอยู่บนเพดานท้องพระโรงพระราชวัง(พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย)จึงให้ขนลงมากองไว้ที่โคนต้นสมอพิเภก ภายในบริเวณพระราชวังบวรฯ ภายหลังพระชินดังกล่าวได้นำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อคราวฉลองพระนครครบรอบ ๑๕๐ ปี ตั้งแต่นั้นมาพระดังกล่าวก็มีชื่อว่า"พระโคนสมอ" เพราะเหตุนั้น

    ครั้งหลังสุดที่กรมศิลปากรขุดพบพระโคนสมอ ก็คือที่วัดเชิงท่า จังหวัดนนทบุรี เมื่อพ.ศ. ๒๕๐๖ และที่วัดบวรสถานสุทราวาศ(เขียนตามแบบในหนังสือ)(วัดพระแก้ววังหน้า) เมื่อต้นปีพ.ศ.๒๕๐๗

    ปรากฎว่าที่วัดเชิงท่า กรมศิลปากรขุดได้พระเครื่องโคนสมอเป็นจำนวนมาก ถึงกับได้นำออกให้ประชาชนเช่าร่วมกับพระเครื่องโคนสมอวังหน้า ซึ่งมีอยู่เดิมในราคาองค์ละ ๓๐ บาท

    ส่วนที่วัดบวรสถานสุทราวาศขุดได้พระเครื่องโคนสมอ เมื่อคราวซ่อมแซมพระอุโบสถ ปรากฎว่า อยู่ในกรุที่ชุกชีกลางพระอุโบสถ แต่ความสวยงามสู้พระเครื่องโคนสมอวัดเชิงท่าไม่ได้

    สำหรับพระโคนสมอวังหน้านี้ กล่าวกันว่าสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสีหนาท ในรัชกาลที่ ๑ ได้ทรงนำมาจากวัดร้างในกรุงศรีอยุธยาเมื่อคราวพระองค์เสด็จไปซ่อมแซมวัดสุวรรณดาราม ชานกรุงศรีอยุธยาเมื่อต้นรัตนโกสินทร์นี่เอง

    พุทธคุณ ทางคงกระพัน

    ***ค้นไปค้นมาก็พบข้อมูลของพระกรุวัดเชิงท่า จ.นนทบุรีที่มีอายุใกล้เคียงกับกรุโคนสมอวังหน้าอยุธยา แต่เป็นอยุธยาตอนต้น หากนับถึงเวลานี้ก็มีอายุมากกว่า ๔๐๐ ปีมาแล้ว เอาไว้มีเวลาจะไปขยายความส่วนนี้ในกระทู้พระกรุวัดเชิงท่าที่น้อยคนจะทราบรายละเอียดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010051.JPG
      P1010051.JPG
      ขนาดไฟล์:
      84.1 KB
      เปิดดู:
      59
    • P1010052.JPG
      P1010052.JPG
      ขนาดไฟล์:
      95.6 KB
      เปิดดู:
      73
    • P1010053.JPG
      P1010053.JPG
      ขนาดไฟล์:
      98.8 KB
      เปิดดู:
      68
    • P1010054.JPG
      P1010054.JPG
      ขนาดไฟล์:
      97.3 KB
      เปิดดู:
      62
    • P1010055.JPG
      P1010055.JPG
      ขนาดไฟล์:
      101.5 KB
      เปิดดู:
      63
    • P1010056.JPG
      P1010056.JPG
      ขนาดไฟล์:
      99 KB
      เปิดดู:
      75
    • P1010057.JPG
      P1010057.JPG
      ขนาดไฟล์:
      107.7 KB
      เปิดดู:
      56
    • P1010058.JPG
      P1010058.JPG
      ขนาดไฟล์:
      83.8 KB
      เปิดดู:
      58
    • P1010059.JPG
      P1010059.JPG
      ขนาดไฟล์:
      97.2 KB
      เปิดดู:
      52
    • P1010060.JPG
      P1010060.JPG
      ขนาดไฟล์:
      97.1 KB
      เปิดดู:
      60
    • P1010061.JPG
      P1010061.JPG
      ขนาดไฟล์:
      73.7 KB
      เปิดดู:
      66
    • P1010062.JPG
      P1010062.JPG
      ขนาดไฟล์:
      95.8 KB
      เปิดดู:
      62
    • P1010063.JPG
      P1010063.JPG
      ขนาดไฟล์:
      118.1 KB
      เปิดดู:
      62
    • P1010064.JPG
      P1010064.JPG
      ขนาดไฟล์:
      119.2 KB
      เปิดดู:
      61
    • P1010065.JPG
      P1010065.JPG
      ขนาดไฟล์:
      121.4 KB
      เปิดดู:
      59
  4. narin96

    narin96 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    113
    ค่าพลัง:
    +28
    ขอบคุณครับ คุณเพชร
     
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    แรกเห็นอาจจะไม่น่าประทับใจดูธรรมดา ดูแปลกๆ เก๊หรือเปล่า? ทำนองนี้ หากเข้าใจที่มาของพระกรุนี้จะรู้สึกประทับใจ พวกเราเป็นกลุ่มที่ค่อนข้างจะได้เปรียบกลุ่มอื่นเขา ข้อมูลต่างๆก็มีครบ ผู้สอบทางนามก็มีมากมาย หากได้อ่านข้อมูลในหนังสือปู่. เล่าให้ฟังแล้ว และข้อมูลสนับสนุนจากทางอาจารย์เขียน ยิ้มศิริ แห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร และคุณเทพชู ทับทองแบบนี้แล้วเกิดความศรัทธา และสนใจพระกรุนี้ ก็ลองสอบถามทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งกับคุณหนุ่มดูว่าจะได้พระกรุนี้ได้อย่างไร ยังไงคุณหนุ่มก็คงจะใจดีมอบให้อย่างแน่นอน ขอเพียงมีความตั้งใจ และศรัทธาเป็นทุนรอน

    พระชุดนี้น่าส่งไปให้ทหารทางภาคใต้ไว้คุ้มกันตัวนะครับ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  6. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    สวัสดีครับ คุณเพชร นี่นอนดึกจริงๆนะครับ เข้ามาเจอตอนดึกๆประจำเลย
     
  7. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    รบกวนขอความเห็นเรื่อง กัตตะวานะ กับ กัตวานะ และ หิตตะวานะ กับ หิตวานะ และ ปูเรตะวา กับ ปูเรตวา และ สักยานัง กับ สักกะยานัง ครับ

    คือในความคิดผมเห็นว่าบทที่เราพิมพ์นั้น ไม่ได้พิมพ์แบบบาลี แต่พิมพ์แบบไทยอ่านออกเสียง ดังนั้นหากพิมพ์ กัตวานะ อาจจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจว่า กัด-วา-นะ หรือเปล่าครับ ผมคิดเผื่อกรณีอนาคตสมมติว่าบทสวดนี้หายสาบสูญไปแล้วมีผู้ค้นเจอ เพราะในบทที่เราพิมพ์นั้น ข้างบนตรงไหนที่ควรอ่านว่า อะ ก็จะมีสระอะ อยู่ด้วย
    แต่ส่วนนี้ตัดออก จะทำให้ผู้อ่านตีความว่าไม่มีเสียงอะ หรือเปล่าครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    คุณหมอถามได้ตรงใจจริงๆ เพราะตรวจปรูฟไปก็มีความรู้สึกตะหงิดๆกับตรงนี้อยู่เหมือนกัน หากคุณหมอ และผมเป็นเหมือนกัน ผมก็เดาเอาว่า เพื่อนๆอีกหลายท่านก็มีความรู้สึกไม่ต่างกัน จึงเป็นที่มาของความต่างแม้จะเป็นบทสวดเดียวกันก็ตาม จึงมีความเห็นว่า เราไม่ต้องไปแสดงความหวังดีกับผู้คนในอนาคตให้มาก เขียนเป็นบาลีเดิมๆดีกว่า ส่วนจะไปอ่านกันยังไง ในอนาคตต้องให้ผู้รู้ช่วยไขบาลีนี้

    ไม่เช่นนั้นจะมัวแต่ลังเลว่า จะเป็นตัวสะกด "ท" หรือ "ธ" ดี หรือจะมีตัวสระ"ะ" แทรกดีหรือไม่ หากคิดไปในอนาคต หากเราเขียนให้สามารถอ่านง่ายแบบที่คุณหมอสงสัยนี่ คนในอนาคตอาจจะขำคนในอดีตว่า ภาษาไม่แตกฉาน หรือไม่เข้าใจก็เป็นได้ แบบนี้คล้ายเกมพรายกระซิบ กระซิบต่อๆกันไป สิบคน ยี่สิบคน ร้อยคน พันคน เพี้ยนแน่นอนครับ..ดังนั้นยึดหลักที่ถูกต้องดีกว่า อย่างพระคาถาชินบัญชรนี่ก็หลายตำรา เพียงอายุไม่ถึง ๒๐๐ ปีเท่านั้นนับจากสมเด็จโตท่าน ก็เพี้ยนกันไปมาระหว่างผู้สวดพระคาถาชินบัญชร...
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรามีทองนพคุณ(บางสะพาน)แล้ว เราจะไปหาทองเหลืองอีกหรือ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมเรียนคุณเพชรอย่างนี้นะครับ

    หลวงปู่ท่านไม่ได้ว่าอะไรครับ เพราะว่าหลวงปู่ท่านมีพรหมวิหาร 4
    แต่ลูกศิษย์ของหลวงปู่ บางองค์ บางท่านนี่ บอกได้ว่า ดุมาก ดุจนน่ากลัว
    และเทพเทวา บางองค์ท่านก็ดุมาก ดุจนน่ากลัวเช่นกัน

    เมื่อถึงเวลา เทพเทวาที่ท่านมีหน้าที่นี้โดยตรง และองค์พยามัจจุราชเจ้า ทำหน้าที่นี้เองครับ
    เรื่องเหล่านี้ไม่ยาก พิสูจน์เอง ด้วยตัวเอง แล้วจะรู้เองว่า จริงหรือไม่ตามที่ผมบอกไปครับ

    พระชุดนี้ คุณnongnooo ไปแจกมาเยอะแล้ว ผู้ที่ได้รับแจกไปดีใจกันทั้งนั้น
    เคยมีผู้ที่ใส่พระชุดนี้ ทำงานเกี่ยวกับช่างไฟ มีอยู่ครั้งนึง ลืมนำคัตเอาท์ลง แต่ปรากฎว่า ตอนทำงานจับสายไฟเปลือย จับทั้งสองเส้น ไม่ได้จับเส้นเดียว แต่ก็ไม่เป็นไร ทำงานจนเสร็จ เมื่อทำงานเสร็จแล้วก็จะไปยกคัตเอาท์ขึ้น แต่เมื่อเห็นก็ตกใจ คัตเอาท์ไม่ได้สับลงมา
    ไม่
    เคยมีผู้ที่ได้ไป ชีวิตไม่เคยถูกหวยเลย ได้ไปครั้งแรก ไปซื้อหวย ถูกครับ จะบอกว่า ไม่ใช่แต่เพียงแคล้วคลาด คงกระพันเท่านั้น บางองค์มีเรื่องโชคลาภให้อีก แต่เป็นเพราะอะไร ชาววังหน้าที่ติดตามอ่าน ย่อมทราบดีครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    นั่งรถไฟไปลงกระทู้พระวังหน้าเมื่อคืนนี้ แล้วต่อรถบรรทุกมานี่...เช้าพอดี
    [​IMG] <!-- / message --><!-- sig -->
    __________________
    [​IMG]


    โมทนาสาธุในทุกบุญด้วยครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    โอ้โฮ! คุณตั้งจิตอยู่ไหนหว่า...ยู๊ฮู...สงสัยอยู่ในถุงใบไหนใบหนึ่งแหง...อิ...อิ...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สงสัยถุงสีฟ้า ด้านล่างสุดมั้งครับ

    http://palungjit.org/showthread.php?p=1876573&posted=1#post1876573
     
  12. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    สังเกตุดู หล่อสุดอยู่ไหน นั่นละครับ......ไม่ใช่ผม คิคิ
     
  13. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    มีมาให้ คุณหมอ ...ยามว่าง หลังกาแฟ นะ


    หลักการเขียนคำในภาษาไทย<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    การเขียนคำหรือการสะกดคำในภาษาไทยมีหลักเกณฑ์ที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจหลายหลักเกณฑณ์ ดังนี้

    <o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    • การเขียนคำที่ออกเสียง อะ<o:p></o:p>
    …….<o:p></o:p>

    1.7. คำในภาษาบาลีสันสกฤตที่พยางค์ท้ายออกเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ที่พยางค์ท้ายด้วย เช่น

    <o:p></o:p>
    </PRE>
    ชาตะ ชีวะ ธุระ

    <o:p></o:p>
    </PRE>
    เถระ พละ ภาระ

    <o:p></o:p>
    </PRE>
    มรณะ ลักษณะ ศิลปะ

    <o:p></o:p>
    </PRE>
    สรณะ สาธารณะ อมตะ

    <o:p></o:p>
    </PRE>
    อาชีวะ อิสระ

    <o:p></o:p>
    </PRE>จากhttp://www.tcteach.com/malai/thai18.htm
    <o:p> </o:p>
    และ
    หลักการเขียนตัวอักษรภาษาบาลี<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    หลักการเขียนตัวอักษรในที่นี้ก็คือ การเขียนตัวอักษรให้ถูกต้องตามระเบียบของภาษาบาลีนั่นเอง เรียกสั้นๆ ว่า เขียนให้ถูกหลักไวยากรณ์ของภาษาบาลี มีการสังเกตเกี่ยวกับการเขียนตัวอักษรบาลีดังนี้
    <o:p> </o:p>
    การเขียนสระ <o:p></o:p>
    การเขียนสระในภาษาบาลี ส่วนมากจะมีการลดรูปไม่ค่อยมีรูปสระให้เห็น โดยเฉพาะรูปวิสรรชนีย์ ในภาษาบาลี แต่เวลาอ่านก็ให้ออกเสียงสระนั้นด้วย เช่น จ ป กตฺ ภตฺ ตตฺ อ่านว่า จะ ปะ กัต ภัต ตัต เป็นต้น ส่วนสระรูปอื่นมี อิ อี อุ อู เอ โอ นั้นยังคงรูปให้เห็นอยู่ เช่น สี กิ ลุ รู เฉ โส เป็นต้น<o:p></o:p>
    หลักการใช้สระบางตัวของภาษาบาลี<o:p></o:p>
    เราได้รู้มาแล้วว่าสระในภาษาบาลีมี ทั้งหมด ๘ ตัว จัดเป็นคู่ได้ ๓ คู่ คือ อ อา เรียกว่า อ วัณโณ อิ อี เรียก อิ วัณโณ อุ อู เรียก อุ วัณโณ เอ โอ เรียกว่า อัฑฒสระ เพราะประกอบด้วยเสียงสระ ๒ เสียงเป็นเสียเดียวกัน ในสระทั้ง ๘ ตัวนั้นมีบางตัวที่มีลักษณะการใช้ผสมพยัญชนะแล้วจะไม่มีรูปให้เห็น เช่น สระ ะ และ
    ซึ่งมีลักษณะให้สังเกตดังนี้
    สระ อะ ถ้าใช้นำหน้าพยัญชนะจะมีรูปตัว อ ให้เห็น เช่น อกริตฺวา อโหสิ อกาสิ อหํ เป็นต้น
    สระ อะ ถ้าอยู่ข้างหลังของพยัญชนะจะไม่มีรูปให้เห็น เช่น นร สีห กุมาร อาจริย เป็นต้น
    พินทุ ใช้เป็นตัวสะกดในภาษาบาลี เช่น จินฺเตตฺวา อินฺทฺรีย สินฺนา พฺราหมณ เป็นต้น
    พินทุใช้แทนไม้หันอากาศในภาษาบาลี เช่น สกฺกตฺวา คจฺฉนฺติ อคฺคมาสิ วตฺต วฏฺฏ เป็นต้น
    สระ อิ อี ถ้าอยู่โดดๆ ในภาษาบาลีจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปเป็น เอ อย สี เป็น เส สย เช่น เสติ สยติ, จิ เป็น เจ จย, กี เป็น เก กย, นี เป็น เน นย เป็นต้น
    อิ อี ถ้ามีตัวสะกดในภาษาบาลีจะคงรูป เช่น จินฺต สินฺธุ วิทฺธา อิจฺจ เป็นต้น
    อิ อี ถ้าตามหลังสระหรือพยัญชนะจะคงรูป เช่น เสฏฺฐี มุนิ อคฺคิ ปฐพี อธิ ปฏิ เป็นต้น
    อิ อี บางครั้งก็คงรูปอยู่อย่างเดิม เช่น วิ สิ นิ ปิ ทิวา เป็นต้น
    สระ อุ อู ถ้าอยู่โดดๆ ในภาษาบาลีจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปเป็น โอ อว เช่น ภุช เป็น โภช, ภู เป็น ภว, มุห เป็น โมห, หุ เป็น โห เป็นต้น
    อุ อู ถ้ามีตัวสะกดในภาษาบาลีจะคงรูป เช่น อุคฺคจฺฉิ อุปฺปถ สุนฺทร เป็นต้น
    อุ อู ถ้าตามหลังสระหรือพยัญชนะจะคงรูป เช่น อนุ อภิภู สยมฺภู ครุ วิญฺญู เป็นต้น
    อุ อู บางครั้งก็คงรูปอยู่อย่างเดิม เช่น มุนิ สุกรํ ทุจริตํ เป็นต้น
    เอ โอ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เลย คงรูปอยู่อย่างเดิม
    นิคคหิต ถ้าอยู่หลังพยัญชนะจะออกเสียง  และ ง ตามหลัง อหํ อะ-หัง, อกาสึอะ-กา-สิง เป็นต้น
    บางครั้งท่านก็ให้แปลง ํ นิคคหิต เป็นพยัญชนะวรรคทั้งห้า คือ ง ญ ณ น ม เช่น สํฆ เป็น สงฺฆ, สํจร เป็น สญฺจร, กึนุ เป็น กินฺนุ, จิรํปวาสึ เป็น จิรมฺปวาสึ, สํฐิติ เป็น สณฺฐิติ เป็นต้น
    บางครั้งก็ยังคงรูปอยู่เหมือนเดิม เอวํส, อวํสิโร เป็นต้น <o:p></o:p>
    จากตัวอย่างที่ยกมานี้เพื่อให้ผู้ใคร่ศึกษาภาษาบาลีได้เข้าใจเกี่ยวกับสระบางตัวเท่านั้น เพื่อจะได้เป็นประโยชน์แก่ท่านเมื่อไปพบกับรูปศัพท์ของภาษาบาลีบางตัว และความหมายของมัน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าสระในภาษาบาลีทุกตัวจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงตัวเองก่อนจึงจะนำไปใช้ได้ ฉะนั้น เมื่อเราพิจารณาดูจะรู้ว่าสระ คือ เอ โอ จะเกิดได้ ๒ เสียง คือ อ กับ อิ เป็น เอ, อ กับ อุ เป็น โอ ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้น
    <o:p> </o:p>
    การเขียนตัวสะกดหรือพยัญชนะสังโยค<o:p></o:p>
    การเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีกับภาษาไทยนี้ไม่เหมือนกัน เพราะการเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีจะต้องเขียนได้เฉพาะพยัญชนะที่อยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้น จะเอาพยัญชนะในวรรคอื่นมาเขียนเป็นตัวสะกดเหมือนภาษาไทยไม่ได้ เนื่องจากว่าภาษาบาลีนั้นท่านจัดพยัญชนะไว้เป็นหมวดเป็นหมู่ ไม่เหมือนภาษาไทย ฉะนั้นแล้วผู้ศึกษาพึงกำหนดรู้ให้แม่นยำเสียก่อนว่าพยัญชนะแต่ละตัวอยู่ในวรรคใด เพื่อให้ง่ายแก่การเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีได้อย่างถูก ซึ่งจะได้อธิบายต่อไป
    การกำหนดตัวอักษรในการเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีนั้นต้องกำหนดที่ตัวหลังเท่านั้น ไม่ใช้ไปกำหนดที่ตัวหน้า เพราะตัวหน้าเป็นอักษรนำ ซึ่งกล่าวขึ้นก่อน ส่วนตัวหลังนั้นคือตัวที่ทำหน้าที่ในการสะกดของตัวหน้า หรือตัวที่สองของพยัญชนะ ซึ่งทำหน้าที่ในการออกเสียงให้เป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ แล้วแต่ว่าพยัญชนะนั้นจะมีเสียงสูง หรือเสียงต่ำเท่านั้น ดังนั้นการเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีมีลักษณะดังนี้
    พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัชนะที่ ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตนได้ เช่น ปกฺก ภิกฺขุ ปจฺจ คจฺฉ
    วฏฺฏ ติฏฺฐ วตฺต อตฺถ อปฺป ปุปฺผ
    พยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๓ และที่ ๔ ในวรรคของตนได้ เช่น ภคฺค ยคฺฆ ชคฺฆ วชฺช
    มชฺฌ อฑฺฒ ฉฑฺฑ ขุทฺทก พุทฺธ ตพฺพ อารพฺภ
    พยัญชนะที่ ๕ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๕ และทุกตัวในวรรคของตนได้ เช่น สงฺข จงฺก องฺค สงฺฆ
    สิญฺจ ปุญฺฉ วลญฺช กญฺญา อุชฺฌ รุณฺฏ คณฺฐ ปณฺฑิต ปุณฺณ ทนฺต ปนฺถ นนฺท รุนฺธ ปนฺน ธมฺม ขิมฺป สมฺผ อพฺพ ฉมฺภ
    ย คือ เอยฺย เทยฺย วิญฺเญยฺย เสยฺย
    ล คือ ปุลฺลิงค์ สลฺลกฺขณา กลฺล ปลฺล
    ส คือ อสฺส ตสฺส คมสฺส
    ฬ คือ รุฬฺห
    จะเห็นได้ว่าการเขียนพยัญชนะตัวสะกดของภาษาบาลีก็จะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้น จะอยู่นอกวรรคของตนนั้นจไม่มีเลย เช่นคำว่า สัตถา ต้องเขียนตัวสะกดในวรรคเดียวกันคือ คำว่า ถ เป็นคำที่ทำหน้าที่ตามหลังพยัญชนะ คือ ส และเป็นพยัญชนะที่ ๒ ใน ต วรรคด้วย ฉะนั้นแล้วพยัญชนะที่จะทำหน้าที่ในการสะกดคำว่า ถา ก็คือ ต ซึ่งอยู่ในวรรคเดียวกันและเป็นตัวพยัญชนะที่ ๑ ตามหลักการเขียนตัวสะกดในไวยากรณ์ของภาษาบาลีดังนี้ชื่อว่าเขียนถูก
    ถ้าเขียนว่า สัทถา อย่างนี้ถือว่าผิด เพราะเขียนซ้อนพยัญชนะผิดตัวกัน ถึงจะเป็นพยัญชนะในวรรคเดียวกันก็จริงอยู่ แต่หลักการเขียนตัวสะกดของภาษาบาลีท่านไม่ได้กล่าวไว้ว่า พยัญชนะที่ ๓ คือ ท ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๒ คือ ถ ในวรรคของตนได้ ซ้อนได้เฉพาะตนเอง และ ธ เท่านั้น จะซ้อนตัวอื่นนอกจากนี้ไม่ได้เลย เพราะเป็นหลักตายตัวของไวยากรณ์ของบาลี ส่วนพยัญชนะทำหน้าที่ออกเสียงก่อนนั้นจะอยู่ในวรรคใดก็ได้ เหมือนภาษาไทย<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    1. จาก [DOC] <o:p></o:p>
    บทที่ ๒ บาลีไวยากรณ์<o:p></o:p>
    รูปแบบไฟล์: Microsoft Word - แสดงเป็นแบบ HTML
    การกำหนดตัวอักษรในการเขียนตัวสะกดในภาษาบาลีนั้นต้องกำหนดที่ตัวหลังเท่านั้น ... ใน ต วรรคด้วย ฉะนั้นแล้วพยัญชนะที่จะทำหน้าที่ในการสะกดคำว่า ถา ก็คือ ต ...
    g6s16.debthai.net/home/includes/editor/assets/Pari3.doc - หน้าที่คล้ายกัน<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  14. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อันนี้ ก็ หลังอาหารเย็น.....

    <TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>ความคิดเห็นที่ 6 : (ภิกษุ)
    ๑. การออกเสียงภาษาบาลีให้ถูกต้องชัดเจนนั้น ท่านจะเข้มงวดเป็นพิเศษใน
    การสวด (ที่เรียกว่า สวดกรรมวาจา) สังฆกรรมต่างๆ เช่น การบวช เป็นต้น
    เพราะถือเป็นเรื่องสำคัญ หากสวดผิดท่านถือว่าเป็น กรรมวาจาวิบัติ ซึ่งเป็น
    ความบกพร่องอย่างหนึ่งในการทำสังฆกรรม

    ส่วนในเรื่องของการสวดมนต์ทำวัตรโดยทั่วไป ผู้ที่ไม่มีความรู้เรื่องการออก
    เสียงหรือแม้แต่มีความรู้แต่ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้องตามวิธี (เนื่องด้วยความเคยชินกับการออกเสียงแบบผิดๆหรือเนื่อง ด้วยอักษรบาลีตัวนั้นๆ ออก
    เสียงยากก็แล้วแต่) แล้วสวดผิดหรือสวดไม่ถูกต้องนั้น ถือเป็นการพูดหรือสวด
    ไม่ชัด เหมือนกับการที่เราออกเสียงภาษาต่างประเทศไม่ชัดเจนเท่ากับเจ้าของภาษา

    แต่หากใกล้เคียงหรือคล้าย เขาก็สามารถฟังเข้าใจว่าที่เราพูดนั้นต้องการสื่ออะไร หรือหมายถึงคำใด ก็ถือว่าใช้ได้ การออกเสียงภาษาต่างประเทศของผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาโดยทั่วๆไปนั้นก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะสามารถออกเสียงให้เหมือนกับเจ้าของภาษาได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ คงทำได้ดีที่สุดในระดับที่เรียกว่า คล้ายหรือใกล้เคียง
    เท่านั้น

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้ว ภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาตาย ที่ได้รับการสืบทอดมาเป็นเวลานาน หลักภาษาและความหมายอาจจะรักษาได้สมบูรณ์ครบถ้วน แต่ใน
    ส่วนของการออกเสียงที่จะให้ถูกต้องชัดเจนเหมือนเดิมนั้นเป็นเรื่องที่ยากแม้ว่า
    จะมีระเบียบกฎเกณฑ์ให้ออกอักษรแต่ละตัวไว้อย่างชัดเจน ก็ใช่ว่าจะรักษาความชัดเจนเหมือนเดิมไว้ได้

    อย่างดีที่สุดก็คงได้เพียงใกล้เคียงเท่านั้น เพราะฉะนั้น พุทธศาสนิกชน ชาวไทย พม่า เขมร ศรีลังกา หรือชาวยุโรป เวลาที่ออกเสียงภาษาบาลีก็จะออกเสียงด้วย
    สำเนียงที่อาศัยอักษรในภาษาของตน จึงออกเสียงบาลีเป็นสำเนียงเฉพาะตน
    แต่ด้วยมีกฎเกณฑ์เสียงเป็นมาตรฐานจึงทำให้ส่วนใหญ่จะออกเสียงได้คล้ายกัน หรือพอฟังออกได้ว่าออกเสียงคำใด

    ในปัจจุบันเราไม่มีผู้ที่เป็นเจ้าของภาษามาออกเสียงให้เราฟังแล้วจึงไม่อาจ
    ทราบได้ว่าใครออกเสียงได้ชัดเจน หรือ เหมือนสำเนียงมคธดั้งเดิมมากที่สุด

    แต่ก็พออนุโลมได้ว่า ผู้ที่จะสามารถออกเสียงภาษาบาลีได้ชัดเจนใกล้เคียงสำเนียงดั้งเดิมมากที่สุดในปัจจุบัน น่าจะเป็นชาวศรีลังกา และชาวอินเดีย
    ด้วยเหตุผลในแง่ของเชื้อสายที่ใกล้ชิดกับเจ้าของภาษาเดิม และในแง่ของภา
    ษาที่เขายังใช้พูดกันอยู่ซึ่งมีส่วนคล้ายกับภาษาบาลี

    พุทธศาสนิกชนชาวไทยออกเสียงภาษาบาลีโดยอาศัยการเทียบเคียงเสียงกับอักษรภาษาไทย จึงเป็นการออกเสียงภาษาบาลีแบบสำเนียงไทย ซึ่งอยู่ในระดับ
    ที่ถือได้ว่าคล้าย แต่ไม่ถึงกับชัด ถึงจะปรากฏว่าผิดแต่ก็ไม่ถึงกับเสียหาย

    แต่ถ้าสนใจที่จะ ออกเสียงให้ถูกต้องตามหลักก็จะทำให้มีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้นแสดงให้เห็นว่าเราเป็นชาวพุทธที่ให้ความใส่ใจต่อการศึกษาพระศาสนาไม่ละเลยแม้ใจจุดเล็กๆน้อยๆ การใส่ใจที่จะสวดภาษาบาลีให้ถูกต้องตามอักษรวิธี ย่อมเป็นสิ่งบ่งบอกถึงความศรัทธาในพระศาสนาของพุทธศาสนิกได้เช่นกัน

    ในขณะเดียวกัน การตั้งใจสวดให้ถูกต้อง ก็จะก่อให้เกิดการสำรวมจิตให้เป็นสมาธิ
    การรู้ว่าตนสวดได้ถูกต้องตามวิธี ก็จะทำให้สวดได้ด้วยความมั่นใจเป็นเครื่องน้อมนำให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาและความปราโมทย์ยินดีในการสวดออกเสียงภาษาบาลียิ่งๆขึ้นไปได้

    การออกเสียงภาษาบาลีแม้จะมีกฏเกณฑ์และวิธีที่ท่านแสดงไว้ชัดเจน
    แต่เนื่องด้วย ภาษาบาลีเป็นภาษาตายไม่ได้นำมาใช้เป็นภาษาสนทนากันอีกแล้ว(ยกเว้นบางประเทศ เช่น พม่า และ ศรีลังกา ซึ่งพระสงฆ์และผู้รู้บาลียังคงใช้เป็นภาษาสนทนากันอยู่บางโอกาส) ทำให้เราไม่คุ้นหูกับสำเนียง การออกเสียงที่ถูกต้อง และอักษรบางตัวออกเสียงยาก หรือ ถ้าจะออกให้ถูกต้องก็ฟังขัดๆ หู

    ทำให้เราออกเสียงกันตามความเคยชินโดยอาศัยฐานเสียงของอักษรภาษาไทย
    ซึ่งใกล้เคียงกันกับเสียงอักษรภาษาบาลีเป็นตัวเทียบแล้วเลียนเสียงตามนั้น จึงทำให้ติดความเคยชินการเลียนเสียงอักษรภาษาไทย เหตุผลเหล่านี้ ทำให้การออกเสียงภาษาบาลีไม่ชัดเจนหรือไม่ถูกต้องตามหลักในบางตัว

    ๒. ศัพท์ ติ ที่เห็นท้ายบทสรรเสริญ พุทธคุณ ธรรมคุณ และสังฆคุณนั้น อยู่ใน
    รูปของศัพท์สนธิ มาจากศัพท์ว่า อิติ อิติศัพท์ในที่นี้อยู่ท้ายบทสวดเพื่อให้
    ทราบว่าบทสวดนั้นๆ ได้จบเนื้อความลงแล้ว แปลว่า ดังนี้แล, ฉะนี้แล หรือ
    ด้วยประการฉะนี้
    นอกจากนี้ อิติ ศัพท์ในภาษาบาลียังมีความหมายอย่างอื่นได้อีก
    แล้วแต่ตำแหน่งของ อิติศัพท์ ที่ปรากฏในประโยคและหน้าที่ตามหลักภาษา

    ๓. ภาษาบาลีเป็นภาษาที่มีประธาน กิริยา กรรม โดยมีรูปประโยคพื้นฐานตามโครงสร้าง
    ประธาน + กรรม + กิริยา
    เช่น เอโก ปุริโส อาหารํ ภุญฺชติ ชายคนหนึ่งกำลังทานอาหาร

    มีวลี (ในภาษาบาลี เรียกว่า พากยางค์)ซึ่งเป็นที่เข้าใจความหมายได้แต่ไม่ถึงกับเป็นรูปประโยคที่สมบูรณ์เช่น
    ปิโย ปุตฺโต บุตรผู้เป็นที่รัก สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่กระทำบาปทั้งปวง

    แต่ละประโยคสิ้นสุดที่กิริยาแท้ตัวหนึ่งๆ แต่บางประโยคที่มีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกันโดยมีคำสันธานเข้ามาเชื่อมก็อาจจะมีกิริยาแท้หลายตัวได้

    ตัวอย่างประโยคที่ปรากฏในคาถาธรรมบทที่อ้างถึง มีการเรียงตามกฏเกณฑ์ข้อบังคับตามฉันทลักษณะจึงไม่ปรากฏเห็นเป็นรูปประโยคที่ชัดเจน เป็นส่วนๆไป คือ จะเห็นว่า คำที่ทำหน้าที่กิริยาจะอยู่หน้าประธานก็มี

    จากตัวอย่างที่ยกมานั้น สามารถแยกออกเป็นรูปประโยคพื้นฐานได้ ๒ ส่วน ทั้งสองส่วนนี้จัดเป็นประโยคที่มีเนื้อความคาบเกี่ยวกัน เรียกว่าสังกรประโยค คือ

    1. ยสฺส กาเยน วาจาย มนสา นตฺถิ ทุกฺกตํ
    ประธาน คือ ทุกฺกตํ
    กิริยาแท้ คือ นตฺถิ
    ส่วนขยายกิริยา คือ ยสฺส
    ส่วนขยายประธาน คือ กาเยน วาจาย มนสา
    ในประโยคนี้ไม่มีส่วนที่ ทำหน้าที่เป็นกรรมของกิริยา

    2. สุสํวุตํ ตีหิ ฐาเนหิ ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ
    ประธานคือ อหํ (สนธิอยู่ในคำว่า ตมหํ)
    กิริยาแท้ คือ พฺรูมิ
    กรรมของกิริยาในประโยคนี้คือ คำว่า ตํ (สนธิอยู่ในคำว่า ตมหํ)
    สุสํวุตํ ตีหิ ฐาเนหิ ทั้งสามคำนี้เป็นคำขยายกรรมอีกที


    ทั้งนี้เป็นการอธิบายโดยคร่าวๆ พอเป็นพื้นฐาน เพื่อไม่ให้เป็นที่เข้าใจยากมากนัก
    *********
    ลองรอฟังความคิดเห็นจากผู้รู้ภาษาบาลีท่านอื่น เพื่อจะได้ความเข้าใจที่
    ชัดเจนหรือละเอียดเพิ่มขึ้น
    เจริญพร


    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ภิกษุ [ 22 พ.ย. 2544 / 07:26:29 น. ] [SIZE=-1]
    [ IP Address : 202.133.160.202 ]
    [/SIZE] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากhttp://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/003724.htm
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    555555ท่านปาทานเล่นเปิดไต๋อย่างนี้เดี๋ยวผมก็โดนรุมหรอกครับ หุ หุ
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ใครเขาจะไปรุมสกรัมคุณน้องนู๋ มีแต่จะโมทนาสาธุกันเท่านั้น ผมอยากบอกหลายๆท่านว่า อย่าเห็นเป็นของโหล อย่าเห็นเป็นของถูก เพราะท่านจะเข้าใจไปอย่างไร อิทธิคุณก็ไม่ได้ด้อยตามสายตา หรือตามราคาเลย

    ...ว่าแต่คุณน้องนู๋มีเผื่อผมซักองค์ไม๊ค้าบ...อิ...อิ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เอ้ ถ้าผมจำไม่ผิด คุณnongnooo ได้จากผมไปนี่ก็ น่าจะเป็นร้อยองค์แล้วมั้งครับ ใช่หรือเปล่าครับน้องหมอ(ก็เหมือนกัน) คิก คิก คิก

    .
     
  18. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    ขอบพระคุณพี่ๆทุกท่านครับ พอดีผมอ่านแล้วเกิดตะหงิดๆอย่างที่คุณเพชรบอกน่ะครับ เพราะถ้าหากเราเขียนบาลีไปเลย
    ผมก็คงจะไม่รู้สึกอะไรน่ะครับ ก็จะเป็นอย่างที่คุณตั้งจิตนำมาลงไว้ เพียงแต่ของที่เราตรวจกันนั้นเป็นลูกผสม ผมเลยมึนๆงงๆเล็กน้อย แต่ที่แน่ๆผสมไปยิ่งกว่านั้นคือ
    ในบทสวดฉบับแก้ไขล่าสุด ยังมีที่ข้างบนพิมพ์ กัตตะวานะ (เข้าใจว่าลืมแก้) อ่านต่อๆมาเป็นตัวแก้แล้ว กัตวานะ ยังมีอยู่ทั้ง 2 แบบ ผมเลยนำมาสอบถามเพื่อจะได้แก้ไขให้เหมือนกันตามข้อตกลงที่พี่ๆเห็นพ้องกันครับ
     
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    น้องท่านหนึ่งชอบหลวงพ่อเงินจัง เสาะหาไปทั่ว ผมบอกว่าให้น้องเขาหาที่สุดยอดเพียงองค์เดียวก็พอ ไม่ต้องไปหาอีกแล้ว...

    หลวงพ่อเงิน เนื้อทองแปด
     
  20. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    ง่ะ งานเข้า ไปตรวจคนไข้ต่อดีกว่า หุหุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...