พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 24 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 20 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, :::เพชร:::+, nuttapont, พี เสาวภา </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ว่ายังไงครับคุณเพชร

    อย่าลืม หากว่าจะนำพระบรมสารีริกธาตุไปถวายที่วัดไหน บอกด้วยนะครับ จะได้ขอแบ่งมาบ้าง และผมจะนำพระบรมสารีริกธาตุไปร่วมถวายด้วยครับ

    .
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    รูปพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม

    [​IMG]

    [​IMG]

    พระเสโทธาตุ
    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ ส่วนหน้าอก (เช่น ปอด ,หัวใจ ฯลฯ)
    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ ไม่ทราบส่วนไหน
    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้า
    -----------------------------

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุพระอรหันต์
    -----------------------------
    [​IMG]

    รูปสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
    -----------------------------

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    หลวงปู่ทวด (เหยียบน้ำทะเลจืด) วัดช้างไห้

    [​IMG]

    "นโม โพธิสัตว์โต อคันติมายะ อิติภะคะวา"

    รูปนี้เป็นรูป "พระธาตุหลวงปู่ทวด (เหยียบน้ำทะเลจืด) วัดช้างไห้" ซึ่งผมได้ถวายพระอาจารย์นิล เพื่ออัญเชิญบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ ครับ

    ----------------------------------------------

    ผมอัญเชิญรูปพระธาตุหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ มาให้ทุกๆท่านได้กราบสักการะพระบารมีกันอีกครั้งครับ และขอสงวนลิขสิทธิ์ครับ

    กราบ กราบ กราบ กราบ กราบ
    sithiphong

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong
     
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    *****

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม (ส่วนบริเวณหน้าอก เช่น ปอด ,หัวใจ เป็นต้น)

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    อะหัง วันทามิ อะธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม. <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอน้อบน้อมนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสพแต่ความสุขสวัสดีตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อะเนกะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะเนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะ ภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปาโมเจกะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยัง ยัง ตัง ตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิยหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเต ปาณเปตัง พุทธัง ธัมมัง สะระณังคะตา สะมิมะหันตา ภินนะมุตตา จะมัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ชุททะกา สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุสีเสเม ปัตตันตุ ฯ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p


    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ (ประดิษฐานในองค์พระปฐมเจดีย์)<O:p</O:p


    วันทามิ พุทธัง ปะฐะมัง จะ เจติยัง ตัตถะ ปะติฏฐัง ปะระมัง จะ ธาตุกัง ธัมมัง วะรันตัง ภะวะโต จะ สาสะนัง สังฆัง วิสุทธัง อุชุกัง จะ โสภะณัง อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
    <O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพุทธเจ้า องค์พระปฐมเจดีย์ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์นั้น<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระธรรมอันประเสริฐสุด ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระสงฆ์ผู้งดงาม ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง ผู้ประพฤติตรงต่อคำสอน ข้าพเจ้านมัสการอยู่ซึ่งพระรัตนตรัย และองค์พระปฐมเจดีย์ อันเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใด ซึ่งควรนมัสการโดยส่วนเดียวเช่นนี้ ได้รับแล้วซึ่งกุศลผลบุญอันไพบูลย์ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย และผลบุญนั้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    คำไหว้พระธาตุรวม หลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ จ.ลำปาง<O:p</O:p


    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    วันทามิ เจติยัง สัพพัฏฐาเนสุ ปติฏฐิตา สรีระธาตุง มหาโพธิง พุทธะรูปัง สกลัง สทา นาคะโลเก เทวะโลเก ตาวะติงเส พรัหมะโลเก ชัมพูทีเป ลังกาทีเป <O:p></O:p>
    สรีระธาตุโย เกสาธาตุโย อรหันตา ธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏิ จตุราสี ติสะหัสสะ ธัมมักขันธา ปาทะเจติยัง นะระเทเวหิ ปูชิตา อหังวันทามิ ธาตุโย อหังวันทามิ ทูระโต อหังวันทามิ สัพพะโส

    ---------------------------------------------

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ องค์พระปัจเจกพุทธเจ้า

    คาถาบูชาพระปัจเจกพุทธเจ้า

    สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มะเหสะโย ทูเรปิ วิเนยเย ทิสสะวา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต สันทิฏฐิกะผะเล กัตตะวา สะทา สันติง กะโรนตุ โน

    พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งปวง ทรงปรีชาญาณในนิโรธสมาบัติและฌาณสมาบัติ
    ทรงปราศจากความกำหนัดยินดี หมดความรังเกียจ ทรงคุณอันหาประมาณมิได้ ทรงแสวงหาคุณอันประเสริฐ ทรงมีมหาทานบารมีเป็นเลิศ
    พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ เห็นหมู่เวไนยสัตว์แม้ในที่ใกล้ไกล ก็ทรงพระเมตตาเสด็จไปช่วยเหลือสัตว์เหล่านั้น ให้ได้รับประโยชน์โดยพลัน โปรดประทานความสงบร่มเย็นทั้งทางโลกและทางธรรม แก่พวกข้าพระองค์ในกาลทุกเมื่อเถิด.

    ---------------------------------------------------------

    คาถาพระปัจเจกโพธิ ของหลวงพ่อปานวัดบางนมโค

    คาถาเรียกทรัพย์

    พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม"


    ผมแนะนำให้หากล่องที่จะใส่เงินทำบุญ โดยระบุแต่ละกล่องว่า กล่องนั้นๆเรามีความประสงค์ที่จะทำบุญอะไร ทำมากทำน้อยก็เหมือนกัน ทำวันละบาทก็ได้ พอถึงสิ้นเดือนเราก็นำเงินที่อยู่ในกล่องไปทำบุญ

    โดยเราอธิษฐานว่า เงินบริสุทธิ์ของเรามีความประสงค์ที่จะทำบุญอะไร เมื่อทำบุญโดยใส่เงินในกล่องแล้วก็สวดมนต์บูชาองค์พระปัจเจกพุทธเจ้าและคาถาเรียกทรัพย์ ทำทุกๆวัน พี่ใหญ่บอกมาเพียงให้สวดคาถาเรียกทรัพย์ แต่ผมแนะนำเพิ่มสำหรับท่านที่ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้าไปแล้วครับ


    เมื่อทำบุญในทุกๆวันแล้ว ควรกรวดน้ำด้วยนะครับ

    [​IMG]


    [​IMG]
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การบูชาพระธาตุ

    พระบรมสารีริกธาตุ นั้นถือว่าเป็นปูชนียวัตถุที่ทรงด้วยคุณค่า ทั้งทางด้านประวิติศาสตร์ และศาสนา ทั้งยังเป็นสิ่งที่สูงค่า ควรแก่การเคารพบูชาอย่างสูงสุด หากท่านผู้ใดมี หรือเก็บรักษาไว้ ขอให้ท่านจงเก็บรักษาและบูชาด้วยความเคารพ เนื่องจากพระบรมสารีริกธาตุนั้นหาได้ยาก และยังเป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดในไตรภพที่มนุษย์และเทวดาพึงสักการะ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    การจะบูชาพระบรมสารีริกธาตุนั้นก่อนอื่นต้องชำระล้างร่างกาย ทำจิตใจ ให้สะอาดผ่องใส จัดหาดอกมะลิใส่ภาชนะบูชา ตั้งสักการะ ณ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ แล้วจุดธูปและเทียน ตั้งใจให้เป็นสมาธิ กราบ 3 ครั้ง แล้วจึงตั้งนะโม 3 จบ กล่าวคำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    คำกล่าวบูชาพระบรมสารีริกธาตุ มีอยู่มากมายทั้งภาษาบาลี และภาษาไทย แต่ที่พบเห็นกันอยู่โดยทั่วไป และกระทำได้โดยง่ายนั้นคือ

    คำกล่าวพรรณนาพระบรมสารีริกธาตุ


    " อะหัง วันทามิ ทูระโต

    อะหัง วันทามิ ธาตุโย
    อะหัง วันทามิ สัพพะโส "


    * คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ก็สามารถนำมาใช้กล่าวบูชาได้เช่นกัน *


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    การบูชาพระธาตุนั้น นอกเหนือจากการบูชาด้วย " อามิสบูชา " เช่น การบูชาด้วยดอกไม้ ธูปเทียน และ เครื่องหอมต่างๆแล้ว การบูชาด้วยการ " ปฏิบัติบูชา " ซึ่งเป็นวิธีที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เป็นอีกวิธีการหนึ่ง ที่นิยมปฏิบัติควบคู่ไปด้วย ในการบูชาซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุทั้งหลาย โดยทั่วไปนิยมปฏิบัติตามแนวอริยมรรค 8 ประการ สรุปโดยย่อได้แก่

    1. การบูชาด้วยศีล ซึ่งศีลเป็นพื้นฐานและเป็นที่ตั้งมั่นแห่งการทำความดี เป็นเกราะป้องกันความชั่วทั้งปวง ไม่ทำให้จิตใจเศร้าหมอง ทำให้เกิดความพร้อมต่อการปฏิบัติสมาธิ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ)

    2. การบูชาด้วยสมาธิ ซึ่งการสวดมนต์ภาวนา นั่งสมาธิ ดูลมหายใจเข้า-ออก เป็นการฝึกความเข้มแข็งของจิต ให้มีกำลังในการพิจารณาหลักธรรมต่างๆได้ตามความเป็นจริง (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ)

    3. การบูชาด้วยปัญญา คือการใช้ปัญญาพิจารณาหลักความเป็นจริง ตามหลักไตรลักษณ์ (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)



    <TABLE borderColor=#666666 cellSpacing=1 cellPadding=10 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f2f2f2>นอกจากนี้ การบูชาพระธาตุยังได้ประโยชน์ ในด้านเป็นอนุสติอีกด้วย ดังนี้คือ

    พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า (พระบรมสารีริกธาตุ)
    ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม (ธรรมที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ (พระสงฆ์สาวกธาตุ)
    สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน (ศีลที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา (เทวดารักษาพระธาตุ)
    อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน (แดนพระนิพพานที่พระอริยเจ้าได้ก้าวล่วง)
    มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน (แม้พระอริยเจ้าก็ต้องตาย)
    กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด (เมื่อตายแล้วก็เหลือเพียงกระดูก)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <HR width="35%" noShade>
    วิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ


    สำหรับบ้านที่มีพระบรมสารีริกธาตุไว้บูชาอยู่แล้วคงจะทราบดี เป็นที่น่าแปลกคือ พระบรมสารีริกธาตุนั้น สามารถเพิ่ม หรือลดจำนวนได้เอง โดยสามารถเสด็จไปไหนมาไหนเองก็ได้ แม้ว่าจะเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิทดีสักเท่าใดก็ตาม โดยเชื่อกันว่าหากไม่ดูแลรักษาเอาใจใส่ ประดิษฐานไว้ในที่ไม่สมควร หรือขาดการถวายความเคารพแล้ว พระบรมสารีริกธาตุอาจเสด็จหายจากสถานที่นั้นๆก็เป็นได้ โดยทางตรงกันข้าม หากได้รับการปฏิบัติบูชาดี ผู้สักการบูชา มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ อยู่ในศีลธรรม พระบรมสารีริกธาตุก็อาจเพิ่มจำนวนได้เช่นกัน


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีอัญเชิญโดยทั่วๆไปมีดังนี้

    1. จัดที่บูชาให้สะอาด
    2. ตั้งพานมะลิบูชา (ถ้ามี)
    3. นำน้ำสะอาดใส่ขันสัมฤทธิ์ตั้งไว้หน้าที่บูชา (ตามวิธีโบราณ)
    4. ชำระล้างร่างกายให้สะอาด
    5. ทำจิตใจให้ปลอดโปร่ง มีสมาธิ
    6. สมาทานศีล
    7. ระลึกถึงพระพุทธคุณ (ตั้งนะโม 3 จบ แล้วสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ อิติปิโสฯ)
    8. สวดคาถาอัญเชิญพระธาตุ ดังนี้


    " อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต "


    <CENTER>หรือ </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>" อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ " </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    * การเสด็จมาอาจมีด้วยกันหลายวิธี เช่น เสด็จมาเอง มีผู้มอบให้ แบ่งองค์ ฯลฯ

    <CENTER></CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา
    http://www2.se-ed.net/buddha-relics/page6.htm

    ผู้โพส malila
    http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2163

    -----------------------------------------

    บทกล่าวอัญเชิญและบูชาพระธาตุ แบบต่างๆ

    --------------------------------------------------------------------------------
    บทบูชาพระธาตุ บทสวดเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ/หรือ พระธาตุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายบท มีทั้งบทบาลี บทภาษาไทย หรือ ทั้งบาลีและแปลควบคู่กันไป แต่ละที่ก็แตกต่างกัน เท่าที่พอจะรวบรวมและพิมพ์ได้มีดังนี้ คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง) อิติปิ โส ภะคะวา, นะมามิหัง ตัง ภะคะวันตัง, ปะระมะสารีริกธาตุยา สัทธิง, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สุตถา เทวะ มะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวาติ.

    บทสวดบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง
    พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ
    คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์
    สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง
    เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น
    อะหังวันทามิธาตุโย
    ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย
    อะหังวันทามิสัพพะโส
    ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง
    อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา
    ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ

    วันทาหลวง(ย่อ)
    วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธา-ตุ มหาโพธิง
    พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก เทวะโลเกพรัหมะโลเก ชัมพูทีเปลังกาทีเป
    สะรีระธา-ตุ โย เกสา ธา-ตุ โย อะระหันตะ ธา-ตุ โย เจติยัง คันธะกุฏิง
    จะตุราสี ติสสะหัสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหัง วันทามิ สัพพะโสฯ

    คำบูชาพระธาตุในจักรวาลทั้งหลาย
    จัตตาฬิส สะมาทันตา เกสา โลมา นะขา ปีจะ
    เทวา หะรันติ เอเตกัง จักกะวาฬะ กัง ปะรัมปะรา
    ปูชิตา นะระเทเวหิ อะหัง วันทามิ ธา-ตุ โยฯ
    คำบูชาพระธาตุแบบไม่จำเพาะเจาะจง
    อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    ถ้าประสงค์จะบูชาพระธาตุแบบเจาะจงให้นำฉายาของท่านวางหน้าคำว่า"ธาตุโย"เช่น

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อะหัง วันทามิ สารีริกะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุพระสิวลี
    อะหัง วันทามิ สิวลีธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    อะหัง วันทามิ ภูริทัตตะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบยาว
    อะเน กะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะ เนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปะโมเจถะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยังยัง ตังตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิมหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิ มะหันตา ภินนะมุคคา จะมัชฌิมา ภินนะฑัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเส เม ปะตันตุฯ

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปตราบเท่าชีวิต ข้าฯขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ขออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุที่สถิตอยู่ทั่วทุกหนแห่ง ขนาดใหญ่เท่าเมล็ดถั่วหัก แก้วมุกดา ขนาดกลางเท่าเมล็ดข้าวสารหัก และขนาดเล็กเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด จงเสด็จตกลงเบื้องบนประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้าของข้าฯในที่ทุกสถาน เทอญฯ

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบย่อ
    นับตั้งแต่นี้ จนสิ้นชีวิต พลีชีพอุทิศ พระรัตนตรัย ขอพระบรมธาตุ สถิตทั่งไกล คุ้มครองผองภัย สู่เศียรข้าฯเทอญฯ
    อารัมภกถา คัมภีร์ถูปวงศ์ - ตำนานว่าด้วยการสร้างพระเจดีย์ (แต่งโดย พระวาจิสสรเถระ ภิกษุชาวลังกา)
    ยัสมิง สยิงสุ ชินธาตุวรา สมันตา ฉัพพัณณรังสิวิสเรหิ สมุชชะลันตา ตัสสะ โลกะหิตะ เหตุ ชินนัสสะ ถูปัง ตัง ถูปะมัพภุตตะมัง สิรสา นมิตตะวา
    พระบรมธาตุอันประเสริฐ ทั้งหลายของพระพุทธเจ้ารุ่งเรืองอยู่โดยรอบด้วยถ่องแถวแห่งพระรัศมี 6 ประการประดิษฐานอยู่ ณ พระสถูปเจดีย์องค์ใด ข้าพเจ้าขอน้อมบูชา พระสถูปอันบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเป็นเหตุให้เกิดประโยชน์แก่โลก อันน่าอัศจรรย์ยิ่งนั้น ด้วยเศียรเกล้า

    คำไหว้พระจุฬามณีเจดีย์
    นะโม 3 จบ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯ จะไหว้พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ

    นะโม ข้าฯจะไหว้พระธรรมเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯจะไหว้พระสังฆเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้วพระจุฬามณี เจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโนติ

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    ปูชิตา นะระเทเวหิ, สัพพัฏฐาเน ปะติฎฐิตา,
    สิระสา อาทะเรเนวะ, อะหัง วันทามิ ธาตุโย,
    โย โทโส โมหะจิตเตนะ, วัตถุตตะเย กะโต มะยา,
    โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สัพพะปาปัง วินัสสะตุ,
    ธาตุโย วันทะมาเนนะ*, ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
    สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสาฯ
    (* ถ้าผู้สวดเป็นหญิง เปลี่ยนคำว่า วันทะมาเนนะ เป็น วันทะมานายะ)

    ..........ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้านมัสการ พระบรมสารีริกธาตุ แห่งองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานในที่ทุกสถาน ด้วยเศียรเกล้า
    ..........แม้บาปทั้งปวง ที่เคยล่วงเกินด้วยใหลหลง ข้าพระองค์ขอขมาโทษ ได้ทรงโปรดงดโทษนั้น ให้มีอันวินาศสิ้นสูญไป
    ..........ด้วยเดชะกุศลผลบุญ ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้น้อมเกล้านมัสการพระบรมสารีริกธาตุในกาลครั้งนี้ แม้สรรพอันตรายทั้งปวง จงอย่างได้บังเกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ.

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง)
    อะหัง วันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย
    ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.
    ข้าพเจ้าขอนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสบแต่ความสุขสวัสดี ตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ

    คำไหว้พระธาตุ
    ยาปาตุภูตา อะตุลา
    นุภาวาจีรัง ปะติฏฐา
    สัมภะกัปปะ ปุเรเทเวนะ
    ตุตตา อุตตะราภีทับยานะมานิ
    หันตัง วะระชินะธาตุง

    คำนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ .
    .........อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอยอกรบวรวันทนา ประนมนิ้วหัตถาขึ้นเหนือเศียร ต่างรัตนประทีปธูปเทียนแก้วเจ็ดประการ แลโกสุมสุมามาลย์ประทุมชาติอันโชติช่วงช่อชั้นวิจิตร แจ่มจำรัสสุนทโรภาส ด้วยเมื่อองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถศาสดาจารย์ญาณสัพพัญญูบรมครูเจ้า เสด็จเข้าสู่พระปรินิพพาน พระองค์ทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้ สิริพระบรมธาตุทั้งหลายน้อยใหญ่ตวงได้สิบหกทะนานทอง พระรากขวัญทั้งสองพระเขี้ยวแก้วสี่ กับพระศรีอุณหิศหนึ่ง นับรวมกันได้ครบเป็นเจ็ดองค์ นี้แลคงตามสภาวะเดิม อันจะแหลกลาญด้วยเพลิงสังหารนั้นหามิได้ แต่พระอัฐิน้อยใหญ่ทั้งหลายนั้นไซร้พลันเพลิงไหม้สังหารละเอียดลง ยังคงแต่พระบรมสารีริกธาตุสามสถาน ใหญ่น้อยปานกลางมีประมาณต่างกันพระบรมธาตุขนาดใหญ่นั้น มีประมาณเท่าเมล็ดถั่วหักตักตวงได้ห้าทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานประมาณแม้นเหมือนหนึ่งพรรณทองอุไร พระบรมธาตุขนาดกลางนั้นไซร้ มีประมาณเท่าเมล็ดข้าวสารหัก ตักตวงได้ห้าทะนานทรงพระบวรสัณฐานประมาณเหมือนพรรณแววแก้วผลึกอันเลื่อนลอย พระบรมธาตุขนาดน้อยประมาณแม้นเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาดตวงได้หกทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานดังพรรณ สีดอกบุปผชาติพิกุลอดุลย์ใสสี พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ หมู่มนุษย์และเทวะนิกรอมรอินทร์พรหมภิรมย์ พากันเชิญเสด็จไปประดิษฐานรักษาไว้ พระบรมธาตุองค์ใหญ่ คือ พระรากขวัญซ้าย สถิตอยู่ชั้นพรหมา พระรากขวัญเบื้องขวากับพระนลาตะอุณหิศ เสด็จสถิตอยู่เมืองอนุราชสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องบน อยู่ดาวดึงษาสวรรค์ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องล่างนั้น สถิตอยู่เกาะแก้วลังกาสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องบนอยู่เมืองคันธาระวิไสย พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องล่างนั้นไซร้ สถิตอยู่เมืองนาคสถาน แต่พระบรมสารีริกธาตุทั้งสิบหกทะนานนั้น ประดิษฐานไว้ในแผ่นพื้นภูมิภาคแห่งพระนครทั้งแปด คือ เมืองราชคฤหบุรี เมืองเวสาลีสวัสดิ์ เมืองกบิลพัสดุ์มหานคร เมืองอัลปะกะบุรีรมย์ แลบ้านพราหมณ์นิคมเขต เมืองเทวะทะหะประเทศ เมืองปาวายะบุรินทร์ และเมืองโกสินรายน์ พระเกศา โลมา นะขา ทันตา ทั้งหลาย เรี่ยรายประดิษฐานอยู่ทุกทิศทั่วทั้งจักรวาล ฝ่ายพระพุทธบริขารคือ บาตรแลจีวรท่อนผ้าสันถัตรัดประคดใน สมุกเหล็กไฟกล่องเข็มผ้ากรองน้ำธะมะการก วัสสิกะสาฏก ผ้าชุบสรง หนังนิสิทน์มีดโกนตลกบาตรเครื่องลาด แท่นพระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาทธาตุบริขารทั้งหลายนี้ องค์ขัติยาธิบดีพราหมณ์มหาศาลผู้เลื่อมใสกมลมาล ประกอบไปด้วยศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ได้อัญเชิญพระบรมธาตุบริขารสิบหกสิ่งนี้ไปประดิษฐานไว้ทั้งสิบเมือง ต่างกระทำสักการบูชารุ่งเรืองเห็นปรากฏ
    ..........‘กายนทนธนํ’ พระพุทธรัดประคด อยู่ ณ เมืองเทวะทะหะราฐ ‘ปตฺโต’ บาตร อยู่เมืองอนุราธสิงหฬทวีปลังกา ‘อุทกสาฏกํ’ ผ้าชุบสรงสถิตอยู่ ณ เมืองปัญจาละนคร ‘จิวร’ ผ้าจีวร อยู่เมืองพันทะวิไสย ‘หรนี’ สมุกเหล็กไฟ อยู่เมืองตักสิลา ‘วาสีสูจิฆร’ มีดโกนแลกล่องเข็ม ประดิษฐานอยู่เมืองอินระปัตมะไหสวรรค์ ‘จมมํ’ หนังนิสิทน์สันถัต สถิตอยู่เมืองคันธาระราฐ’ ถวิกา’ ตลกบาตร แลเครื่องลาดที่พระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาททั้งคู่ อยู่บ้านอุสิระคาม ยังพระธาตุบริขารอื่นอีกหกสิ่ง คือพระอังคาร ถ่านเถ้าเสาเชิงตะกอนนั้นสถิตอยู่ ณ เมืองโมรียะประเทศ จุฬามุนีบรมเกษธาตุ ประดิษฐานอยู่ดาวดึงษาสวรรค์ ‘กาสายะวัตถัง’ ผ้าทรง นั้นอยู่ ณ ชั้นพรหมา ‘สุวณฺณโฑณ’ ทะนานทอง ที่ตวงพระบรมสารีริกธาตุ สถิตอยู่นครโกสินรายน์รัตนมไหสวรรค์ พระบรมธาตุทั้งยี่สิบสองประการนั้นทรงพระคุณเป็นอันยิ่ง พระองค์ทรงอนุญาตประทานไว้ทุกสิ่งด้วยพระมหากรุณา หวังพระทัยเพื่อจะให้เป็นที่สักการบูชาเกิดผลานิสงส์อันเป็นสวัสดิมงคลแก่ฝูงเทพามนุษย์ กว่าจะยุติสิ้นสุดพระพุทธศาสนา
    ..........ครั้นกาลล่วงนานมาในห้าพันปี พระบรมธาตุทั้งหลายนี้เสด็จไปสู่ลังกาเกาะ เพื่อที่จะทรงสงเคราะห์ชาวสิงหฬ ให้เกิดสวัสดิมงคลด้วยกระทำสักการบูชาพระคุณ เมื่อถึงกาลพระพุทธศาสนาใกล้จะสิ้นสูญครบจำนวนถ้วนห้าพันปี พระบรมธาตุทั้งหลายนี้จะเสด็จไปสู่ที่พระเจดีย์ฐานดำรงอยู่โดยจำเนียรกาลบ่มิได้คลาด ครั้นถึงพระพุทธศักราชล่วงได้สี่พันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าพรรษาเศษ สังขยาเดือนล่วงได้สิบเอ็ดเดือนกับยี่สิบสองวัน วันพฤหัสบดีเดือนหกขึ้นเก้าค่ำ คิมหันตฤดูปีชวดนักษัตรอัฐศก เวลารุ่งอรุโณทัย พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ไซร้ จะเสด็จไปสู่สถานที่สันนิบาตมิทันนาน ทรงทำยมกปาฏิหาริย์ด้วยพุทธฤทธิ์อันพิเศษ บังเกิดเป็นพุทธนิเวศน์ แลพระพุทธวรกายสูงได้สิบแปดศอก เปล่งพระรัศมีออกสิบหกประการ มีพระบวรสัณฐานวิจิตรจำรัสศรีสุนทโรภาส ทรงพระสิริวิลาศอันเพริศแพร้ว ดวงพระพักตร์ผุดผ่องแผ้ว ดังสีสุวรรณทองแท่งธรรมชาติ พระรูปองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ เสด็จขึ้นสถิตนั่งเหนือรัตนบัลลังก์อาสน์ทรงพระสมาธิมั่นในควงต้นไม้พระศรีมหาโพธิ์ ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์ โปรดสัตว์คนธรรพ์เทวะนิกรอมรฤษีสิทธิ์พิทยาธรกินนรนาคราช ทั้งหมู่อสุระเดียรดาษนั่งแน่นเหนือพื้นแผ่นพสุธา สตฺตาห ทรงตรัสพระธรรมเทศนาโปรดสัตว์อีกเจ็ดวัน ในครั้งนั้นได้สี่อสงไขยสองล้านสามแสนหกสิบเจ็ดพันโกฏิแล้ว พระเตโชธาตุก็พวยพุ่งรุ่งโรจน์โชตนาการ สังหารพระบวรพุทธสริรธาตุให้สิ้นสุดในวันพุธเดือนหกขึ้นสิบ(ห้า)ค่ำ ปีชวดนักษัตรอัฐศก พระพุทธศาสนาก็บรรจบครบจำนวนถ้วนห้าพันพรรษา
    ..........อหํ วนฺทามิ ธาตุโย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระบรมสารีริกธาตุทั้งหลาย ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น, อหํ วนฺทามิ สพฺพโส ข้าพเจ้า ขอนมัสการองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ด้วยประการทั้งปวง

    บทนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ

    อิติปิโส ภะคะวา มือข้าพเจ้าสิบนิ้ว
    ยกเหนือหว่างคิ้ว ต่างธูปเทียนทอง
    วงภักตร์โสภา ต่างมาลากรอง
    ดวงเนตรทั้งสอง ต่างประทีบถวาย

    ผมเผ้าเกล้าเกศ
    ต่างประทุมเมศ บัวทองพรรณราย
    วาจาเพราะผ่อง ต่างละอองจันทร์ฉาย
    ดวงจิตขอถวาย ต่างรสสุคนธา

    พระบรมธาตุ
    พระโลกนาถ อรหันตสัมมา
    ทั้งสามขนาด โอภาสโสภา
    ทั้งหมดคณนา สิบหกทะนาน

    พระธาตุขนาดใหญ่
    สีทองอุไร ทรงพรรณสัณฐาน
    เท่าเมล็ดถั่วหัก ตวงตักประมาณ
    ได้ห้าทะนาน ทองคำพอดี

    พระธาตุขนาดกลาง
    ทรงสีสรรพางค์ แก้วผลึกมณี
    เท่าเมล็ดข้าวสารหัก ประจักษ์รัศมี
    ประมาณมวลมี อยู่ห้าทะนาน

    ขนาดน้อยพระธาตุ
    เท่าเมล็ดผักกาด โอภาสสัณฐาน
    สีดอกพิกุล มนุญญะการ
    มีอยู่ประมาณ หกทะนานพอดี

    พระธาตุน้อยใหญ่
    สถิตอยู่ใน องค์พระเจดีย์
    ทั่วโลกธาตุ โอภาสรัศมี
    ข้าฯขออัญชลี เคารพบูชา

    พระธาตุพิเศษ
    เจ็ดองค์ทรงเดช ทรงคุณเหลือตรา
    อินทร์พรหมยมยักษ์ เทพพิทักษ์รักษา
    ข้าฯขอบูชา วันทาอาจิณ

    หนึ่งพระรากขวัญ
    เบื้องขวาสำคัญ อยู่ชั้นพรหมินทร์
    มวลพรหมโสฬส ประณตนิจสิน
    บูชาอาจิณ พร้อมด้วยกายใจ

    สองพระรากขวัญ
    เบื้องซ้ายสำคัญ นั้นอยู่เมืองไกล
    สามพระอุณหิส สถิตร่วมใน
    เจดีย์อุไร อนุราธะบุรี

    สี่พระเขี้ยวแก้ว
    ขวาบนพราวแพรว โอภาสรัศมี
    อยู่ดาวดึงส์สวรรค์ มหันตะเจดีย์
    พระจุฬามณี ทวยเทพสักการ

    ห้าพระเขี้ยวแก้ว
    ขวาล่างพราวแพรว โอภาสไพศาล
    สถิตเกาะแก้ว ลังกาโอฬาร
    เป็นที่สักการ ของประชากร

    หกพระเขี้ยวแก้ว
    ซ้ายบนพราวแพรว เพริดพริ้งบวร
    สถิตคันธาระ วินัยนคร
    ชุมชนนิกร นมัสการ

    เจ็ดพระเขี้ยวแก้ว
    ซ้ายล่างพราวแพรว รัศมีโอฬาร
    สถิต ณ พิภพ เมืองนาคสถาน
    ทุกเวลากาล นาคน้อมบูชา

    พระธาตุสรรเพชร
    เจ็ดองค์พิเศษ นิเทศพรรณนา
    ทรงคุณสูงสุด มนุษย์เทวา
    พากันบูชา เคารพนิรันดร์
    ด้วยเดชบูชา ธาตุพระสัมมา
    สัมพุทธภควันต์ ขอให้สิ้นทุกข์
    อยู่เป็นสุขสันต์ นิราศภัยอันตราย บีฑา
    แม้นเกิดชาติใด ขอให้อยู่ใน พระศาสนา
    รักธรรมดำเนิน จำเริญเมตตา
    ศีลทานภาวนา กำจัด โลโภ
    พ้นจากอาสวะ โทโส โมหะ

    ตามพระพุทโธ
    อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส

    ผู้โพส Being<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_6936", true); </SCRIPT> <!-- / message --><!-- sig --><!-- / message -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE class=tborder id=post1442095 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 20-08-2008, 11:56 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #20347 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>:::เพชร:::<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1442095", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 10:33 AM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 43
    ข้อความ: 4,782
    ได้ให้อนุโมทนา: 7,000
    ได้รับอนุโมทนา 51,550 ครั้ง ใน 4,911 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 3341 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1442095 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->" อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต "

    พระคาถาอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุบทนี้เป็นของโบราณ รุ่นพี่ที่ปัจจุบันนี้อยู่ในจังหวัดจันทบุรี ได้สวดพระคาถาอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุบทนี้ที่หออัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุที่วัดป่าทะเมนชัย จ.บุรีรัมย์เมื่อประมาณปีพ.ศ.๒๕๓๕ เกิดแสงสว่างว๊าบตรงเหนือศีรษะ พระบรมสารีริกธาตุสัณฐานข้างล่างนี้ก็ตกลงบนศีรษะจำนวนหนึ่ง...
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://palungjit.org/showthread.php?t=22445&page=1018
    หน้า 1018
     
  8. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    มิได้ครับคุณตา ช่วงนี้เข้ากระทู้มารีบๆอ่าน แซวๆๆคนนนั้นคนนี้ แล้วก็ออก หลายครั้งไม่ได้เข้าไปในชมรมพอบ่อยครั้งเข้าก็ลืมไปเลยว่ามีชมรมนึกขึ้นได้ก็จะปิดคอมพ์แล้ว บางทีก็เข้าไปแปะรูปกะล๊อกก๊อกแก๊กไว้ไม่ได้พูดอะไรเพราะหมดแรงแล้ว ช่วงนี้ต้องช่วย ผบ.เลี้ยงลูกและทำงานบ้านเยอะขึ้นครับ;aa54
     
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ม่ายอยู่ในแคทตาล้อกครับ เอ่อ ถ้าอยากดูครบซีรี่ส์จาไปขอยืมลุงข้างบ้านให้นะคับ แต่เห็นว่าช่วงนี้แกไม่สนใจใดๆครับ ส่องอยู่สองสามอย่างครับ หนึ่ง บุ....สอง เนื้อ....และสาม ปิดตาพันล้านครับ หุ หุ หุ
     
  10. มูริญโญ่

    มูริญโญ่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +583
    <TABLE class=tborder id=post1445119 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>

    nanodent<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1445119", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 09:49 AM
    วันที่สมัคร: Jun 2008
    ข้อความ: 169
    ได้ให้อนุโมทนา: 215
    ได้รับอนุโมทนา 863 ครั้ง ใน 153 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 19 [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1445119 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ข้อความโดย nanodent<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1445119", true); </SCRIPT>

    เพื่อนสมาชิกที่pmมาถามผมเรื่องพระติดตะกรุดฝังเหล็กไหลว่าตามท่านได้ที่ไหน...ก็ตามที่ๆผมแนะแหละครับ...เมื่อวานผมไปได้มาอีกองค์แต่เป็นหน้าครุฑและฝังตะกรุดลูกเล็ก(ตามรูป)ส่วนด้านหลังก็เหมือนกันคือรูปรัชกาลที่ 5 ตามช้าองค์สวยๆก็จะถูกเลือกไปก่อนนะครับ...และยังได้เบญจรงค์มา 3 ใบราคาเบาๆ..มีผู้เมตตาแนะนำวิธีดูให้...และยังได้สมเด็จมาอีกจำนวนหนึ่งแซมเปิ้ลให้ดู 2 องค์...เบญจรงค์ลายนกยูงที่ได้มามีแตกลายงา...มีผู้เมตตาบอกกล่าวผมมา..ผมมีอะไรผมก็บอกกล่าวต่อไปไม่ได้มีเจตนาอื่นใด...เจตนาบริสุทธิ์คือการบอกต่อ(ปราถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข)แต่จะแท้หรือจำลองก็ถือเป็นโชคลาภวาสนาของแต่ละบุคคล...
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอบคุณนะครับที่ลงข้อมูลเยอะแยะเลยครับ
    ผมว่าได้ประโยชน์ทุกอย่างแหละครับ
    ทุกสิ่งอยู่ที่เจตนาครับผมเห็นด้วยกับคุณ
    nanodent<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1445119", true); </SCRIPT> ครับอย่างน้อยก็จะได้
    ความรู้อีกเยอะ ....... ขอบคุณนะครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สำหรับพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นและนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวง ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หลังปี พ.ศ.2428-2451) เป็นพระพิมพ์ที่ไม่ธรรมดาเช่นกัน เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิต มีมากมายเช่น หลวงปู่สมเด็จกรมพระยาปวเรส ,หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ,หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ,หลวงปู่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เป็นต้น ซึ่งเมื่อเทียบกับในยุคปัจจุบันแล้ว นับได้ว่าหาเทียบได้ยาก

    อีกทั้งประธานฝ่ายฆาราวาส เป็นถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ท่านจัดทำและสร้างพระราชพิธีหลวงในปี พ.ศ.2451 อย่างยิ่งใหญ่ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองที่พระราชบิดา(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ครองราชย์ครบ 40 ปี และเฉลิมฉลองพระบรมรูปทรงม้าด้วย

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สำหรับสมาชิกชาววังหน้า หรือผู้ที่ศรัทธาในองค์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ที่ได้มีวาสนาและบารมีครอบครองพระวังหน้านั้น ยังมีวาสนาและบารมีได้มีพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม และพระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้า ไว้กับตนเองเพื่อสักการะบูชา

    มนุษย์หรือคน แข่งอะไรก็แข่งได้ แต่แข่งเรื่องบุญ ,วาสนา และบารมี แข่งกันไม่ได้ พระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม และพระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้า เป็นสิ่งที่เป็นมงคลสูงที่สุด ไม่ว่าจะเป็นคนหรือมนุษย์ ,เทพเทวาทุกชั้นฟ้า ,องค์พยามัจจุราชเจ้า ,เทพเทวาทุกๆพระองค์ ,พระอรหันต์ทุกๆพระองค์ ,พระอริยสงฆ์ทุกๆพระองค์ ฯลฯ ต้องบูชาและสักการะพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม และพระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้า เสมอ

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.navy.mi.th/navic/document/871009a.html

    ศรัทธา
    พลเรือโท จเร ศิลา


    ผมได้มีโอกาสอ่านโอวาทที่เป็นคติธรรม คำสั่งสอนของท่านพระธมฺมวิตกฺโก วัดเทพศิริน ทราวาส (ท่านเจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิต หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม "เจ้าคุณนร ฯ") พบว่า โอวาทของท่านค่อนข้างจะแปลก คือมักจะมีภาษาอังกฤษสอดแทรกอยู่ให้เห็นเป็นประจำ เป็นต้นว่า คำว่า "ไม่สบายใจ" อย่าใช้ และ อย่าให้มีขึ้นในใจต่อไป "Let it go, and get it out" ก่อนมันจะเกิด ต้อง Let it out ปล่อยให้มันผ่านไป อย่ารับเอาความไม่สบายใจไว้ นอกจากนี้ยังมี สันติวรบท โอวาทของท่านในหัวข้อ สันติสุข ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษเสียเป็นส่วน ใหญ่ มีใจความว่า พระพุทธเจ้าสอนว่า "นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ" "สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี" It needs a Peaceful Mind to support a Peaceful Body, and it needs a Peaceful Body to support a Peaceful Mind, and it needs Both Peaceful Body and Mind to attain all success that which you wish. ในบรรดาคำ สั่งสอนของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิตที่ได้มีการบันทึกไว้ คติธรรมที่รู้จักกันดีและมัก จะมีผู้นำไปกล่าวอ้างอิงเป็นการกล่าวเตือนสติแก่บุคคลต่าง ๆ อยู่บ่อยครั้งก็คือ บทที่เกี่ยวกับ "มีลาภ - เสื่อมลาภ มียศ - เสื่อมยศ ฯลฯ" ซึ่งได้นำมาประกอบไว้ตามภาพ ที่ปรากฏ และอาจกล่าวได้ว่าคติธรรมบทนี้เป็น "not of an age, but for all time" คือมีความทันสมัยนำมาใช้ได้ทุกเวลา เป็นอกาลิโก คือ ไม่มีกาลเวลา ตราบที่มนุษย์ยังมีกิเลส ยังมีความเสื่อมอีกประการหนึ่งซึ่งบุคคล หรือหมู่คณะบุคคล ไม่ปรารถนาจะให้บังเกิดแก่ตน หากบังเกิดขึ้นจะด้วยเพราะสาเหตุใด ๆ ก็ตามความสุขที่มีอยู่ก็จะเลือนหายไป กลายเป็น ทุกข์เข้าแทนที่ ความเสื่อมที่ว่านี้ก็คือ "เสื่อมศรัทธา" ถามว่า ศรัทธา แปลว่า อะไร ศรัทธา คือ ความเชื่อ ความเลื่อมใส "โกวเล้ง" นักเขียนนิยายกำลังภายในที่เลื่องชื่อฝีมือฉกาจ ให้ความสำคัญสำหรับศรัทธาความเชื่อมั่นไว้ในเรื่อง "เกาะมหาภัย" ความตอนหนึ่งว่า "เก็งเก้า" ผู้ร้ายถาม "เล็กเซี่ยวหงส์" เก็งเก้า : "ฟังว่า ท่านสามารถพิชิตศัตรูเข้มแข็ง ทำลายคดีครึกโครมมากมายนับไม่ถ้วน เรากลับต้องการทราบ ท่านอาศัยสิ่งใด" เล็กเซี่ยวหงส์ : "ความจริงไม่มีใด เพียงอาศัยคำว่า ความเชื่อมั่น เท่านั้น" เก็งเก้า : "ความเชื่อมั่น เล็กเซี่ยวหงส์ : "เชื่อมั่นว่า ธรรมะต้องชนะอธรรม" เก็งเก้า : "ความเชื่อมั่นสามารถรับ ประทานต่างข้าวได้หรือไม่ " เล็กเซี่ยวหงส์ : "ไม่สามารถ แต่คนหากปราศจากความศรัทธา เชื่อมั่นมีอันใดผิดแผกจากศพเดินได้" อะไรจะขนาดนั้น ท่านเล็กเซี่ยวหงส์ นี่เป็นศรัทธา เชื่อมั่น ในนิยาย แต่ในชีวิตจริงมาดูซิว่า ศรัทธาเป็นอย่างไร และเกิดขึ้นได้อย่างไรศรัทธา ที่แปลว่าความเชื่อความเลื่อมใส เป็นเพียงความหมายที่กำหนด ไว้ในพจนานุกรมแต่ในความ เป็นจริงเป็นยิ่งกว่า เพราะศรัทธาที่จะกล่าวต่อไปนี้ เกิดจากหลายสิ่งหลายอย่างผสมผสาน เข้าด้วยกัน จนทำให้เกิดศรัทธา เป็นต้นว่า

    บุคคลที่จะได้รับความศรัทธา จะประกอบด้วย
    . มีคุณธรรม มีคุณงามความดี หรือ ตั้งตนดี จนเป็นที่เคารพนับถือ หรือ เชื่อถือ
    . มีผลงานอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมจนเป็นที่ยอมรับ
    ๓. มีบารมีที่สะสมมาทำให้เชื่อมั่นว่า จะสามารถให้ความคุ้มครองป้องกันภัย ขจัดปัดเป่าภัย อันตรายใด ๆ หรือให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลใด ๆ แก่ผู้ร้องขอได้ หากขาดคุณสมบัติ ข้อหนึ่งข้อใด หรือไม่สามารถรักษาคุณสมบัติข้อหนึ่งข้อใดเอาไว้ จะทำให้ความศรัทธาลดลง หรือเสื่อมศรัทธาลงในเบื้องสุด ศรัทธาในที่นี้ หรือที่จะกล่าวต่อไปนี้ จึงเป็นทั้งที่มี "ความ เคารพนับถือ และ ความเชื่อมั่น" เรียกรวม ๆ กันว่า ศรัทธา ศรัทธามีข้อดี คือทำให้จิตใจมีพลังคนมีศรัทธาเชื่ออะไรก็มีกำลังในเรื่องนั้น ยกตัวอย่าง ถ้าญาติโยม ไม่มีศรัทธาวัดไหน โยมก็ไม่มีกำลังไปวัดนั้น ยิ่งมีศรัทธาแรงเท่าไร ก็ยิ่งมีกำลังไปเท่านั้น แม้วัดนั้นจะห่างไกลเท่าใดจะ ๑๐๐ กิโลเมตร หรือ ๕๐๐ กิโลเมตร ถ้ามีศรัทธา แรงก็ไปได้ทั้งนั้น แต่ถ้าโยมหมดศรัทธาเมื่อใด แม้แต่วัดที่อยู่ข้างบ้านก็ไม่ไป ถ้าไม่มีศรัทธา ก็หมดแรงทันที ศรัทธาทำให้มีกำลัง ดังนั้นจึงสำคัญมาก

    พอพูดถึงวัดและศรัทธาทีไรทำให้นึกถึงพระและแน่นอนว่าคงจะไม่พ้น หลวงพ่อคูณแห่งวัด บ้านไร่เคยมีผู้ไปสัมภาษณ์ หรือ สอบถามหลวงพ่อคูณด้วยเรื่องต่าง ๆ แล้วนำมาแพร่ภาพ ทางโทรทัศน์มีอยู่เรื่องหนึ่งซึ่งน่าสนใจมีชาวบ้านต้องการขายที่ดิน และเพื่อให้มั่นใจว่า สามารถขายที่ดินของตนที่มีอยู่ได้อย่างแน่นอน จึงนำโฉนดที่ดินแปลงที่ต้องการขายมาให้ หลวงพ่อคูณเหยียบเมื่อมีคำถามว่า "ถ้าที่ดินที่หลวงพ่อเหยียบโฉนดให้ ขายไม่ได้ หลวงพ่อจะ ทำอย่างไร" หลวงพ่อคูณตอบด้วยใบหน้ายิ้ม ๆ ว่า "มันเอามาให้กูเหยียบ กูก็เหยียบ ถึงกูไม่เหยียบให้ มันก็หาทางขายจนได้ เชื่อกูเถอะ"

    เรื่องของความศรัทธานับว่าเป็นเรื่องที่แปลก ที่ว่าแปลกเพราะว่า ตามปกติโฉนดที่ดินของ ใครก็ตาม เจ้าของโฉนดถือว่าเป็นของมีราคา จะเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี เป็นของรัก ของหวง ของต้องห้ามจะให้ดูเฉพาะผู้ที่ไว้วางใจเท่านั้น จะหยิบจะฉวยแต่ละครั้งต้องใช้ความ ระมัดระวัง อย่างยิ่ง เนื่องจากโฉนดที่ดินเป็นหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่มีความมั่นคง สูงสุด และเป็นที่ยอมรับของสถาบันการเงิน ในการใช้เป็นหลักประกันในการให้กู้ยืม เจ้าของ ที่ดินคนนี้แม้จะมีการบอกกล่าวให้รอเอาไว้เพื่อเอาไปแปลงสินทรัพย์เป็นทุน ก็สู้เอาไปให้ หลวงพ่อคูณเหยียบเพื่อแปลงเป็นเงินไม่ได้เพราะมั่นใจด้วยแรงศรัทธาว่า ถ้าเอาไปให้หลวง พ่อคูณเหยียบแล้ว สามารถจะขายที่ดินแปลงนี้ได้โดยง่าย ก็เลยนำโฉนดที่ดินไปนิมนต์ให้ท่าน เหยียบ ถ้าพูดแบบชาวบ้าน ต้องบอกว่าไปอ้อนวอนหลวงพ่อคูณเหยียบให้ในทำนอง "หลวงพ่อ ช่วยด้วยช่วยเหยียบโฉนดให้ผมที" พอท่านเหยียบให้ ดีใจจนพูดไม่ถูก แบบที่ภาษาลาว เขาบอกว่า "ฮู้สึกสะอื้นใจ" ทำไมถึงต้อง "สะอื้นใจ" มาได้อย่างไรกับคำนี้

    สมัยที่ยังรับราชการประมาณปี ๒๕๓๗ ผมได้มีโอกาสไปประชุมร่วมกับฝ่าย ลาวที่ เวียงจันทน์ในหัวข้อเรื่อง "การพัฒนาการเดินเรือในแม่น้ำโขง" ปรากฏว่าวันเปิดประชุม ประธาน เป็นฝ่ายลาว เขากล่าวเปิดประชุมดังนี้
    "ข้าพเจ้าฮู้สึกสะอื้นใจ ที่ได้มาเปิดประซุมในมื้อนี้..." คำว่า "สะอื้นใจ" ในที่นี้ไม่ได้หมายถึง ประชุมไปร้องไห้ไปสะอึกสะอื้นไป น้ำตาไหลพราก ๆ ไม่ใช่ "สะอื้นใจ" ในภาษาลาว หมายถึง
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.navy.mi.th/navic/document/871009a.html


    ศรัทธา
    พลเรือโท จเร ศิลา

    "หลวงปู่" ผู้มีบุญคุณแก่กองทัพเรือ ในการริเริ่มและดำเนินการสร้างรากฐาน ต่าง ๆ ไว้อเนก อนันต์ประการ เป็นต้นว่า ที่โรงเรียนนายเรือ (มีหอประชุมที่ปรากฏชื่อเป็นอนุสรณ์แก่
    ท่าน ว่า "หอประชุม ภูติอนันต์") สนามกีฬาภูติอนันต์ที่บางนา อ่างเก็บน้ำภูติอนันต์ที่หุบเขา
    พล ูตาหลวง สัตหีบ ที่ดินจัดสรร ได้แก่ ที่ดินวัดตากล่ำ วัดครุฑ แขวงดอกไม้ ซอยแบริ่ง ตำบล ท้ายบ้าน จังหวัดสมุทรปราการ และถนนเพชรเกษม กิโลเมตรที่ ๒๑ ทำให้ข้าราชการ กองทัพเรือจำนวนมากได้มีที่อยู่อาศัย และได้ประโยชน์จากที่ดินต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ "หลวงปู่" ยังมีดำริในการจัดสร้างสนามบินกองทัพเรือ ท่านได้ไปตรวจดูสถานท ี่บริเวณ บ้านอู่ตะเภาตำบลพลา จังหวัดระยอง ซึ่งปัจจุบันนี้รู้จักกันในนาม สนามบินอู่ตะเภา และพิจารณาเห็นว่าเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับสร้างสนามบิน ได้มอบหมายให้กรม อุทกศาสตร์ สำรวจรังวัดและจัดทำแผนที่ที่ดินบริเวณที่จะสร้างสนามบินตอนนั้นหรือใน ระยะเวลานั้น ผมเพิ่งสำเร็จการศึกษาเป็นว่าที่เรือตรีใหม่เอี่ยมชนิดแกะกล่องได้มีโอกาส ไปปฏิบัติงานในพื้นที่นี้ งานแรกที่ทำ คือ การสำรวจ กรุยแนว วางแนวขอบเขต ทางวิ่งขึ้น - ลง ของเครื่องบินหรือรันเวย์ตามที่กำหนดไว้ในแผนที่ร่วมกับนายทหารรุ่นพี่ คือ เรือเอก สุนัย สนธิไทย (ย้ายไปกรมเจ้าท่า เคยดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมเจ้าท่า) งานที่ทำลำดับต่อมา คือ การสำรวจพืชผลและนับพืชผลของชาวไร่ เพื่อจ่ายค่าชดเชยต่อไป จำได้ว่าเวลานั้นมะพร้าว ตั้งสะโพกกองทัพเรือ กำหนดราคาค่าชดเชยไว้ต้นละ ๔๐ บาทถ้วน ที่จำได้แม่นเพราะ กองทัพเรือแบ่งประเภทของพืชผลค่อนข้างจะโรแมนติกเอามาก ๆ มีทั้งมะพร้าวใหญ่ - เล็ก และมะพร้าว ตั้งสะโพก คือ มองไปคล้ายสะโพกหญิงสาว ว่าอย่างนั้น การนับพืชผลอยู่เป็น เวลานาน ทำให้มีความชำนาญในการดูพืชผลพอสมควร เช่น วันหนึ่ง มีการนัดเจ้าของ ไร่ให้ไปนับพืชผลที่ไร่แปลงหนึ่งซึ่งเคยผ่านไปหลายครั้ง จำได้ว่าต้นกล้วยที่ไร่แปลง นี้มีอยู่ไม่ กี่กอแต่วันที่ไปนับมีกอกล้วยอยู่เกือบเต็มพื้นที่ ชักสงสัยก็เลยให้ทหารลอง ผลักต้นกล้วยดู ปรากฏว่าต้นกล้วยเอนไปมาทำท่าจะล้ม สอบถามแล้วเจ้าของไร่ยอมรับว่า เพิ่งเอามาลงก่อน วันที่จะมานับพืชผลเพียง ๒ - ๓ วัน เจ้าของไร่ขอร้องให้นับลงในรายการพืชผลด้วย แต่ผมไม่ยอมเพราะถือว่ากอกล้วยมหัศจรรย์ทั้งหลายเหล่านี้เป็นรายการตบตา ไม่ได้ปลูกมา แต่เริ่มแรก เรื่องแปลก ๆ แบบนี้ก็มีด้วย ซึ่งเปรียบไปคล้ายนิยายชีวิตหนึ่งซึ่งมีอยู่หลายอย่าง ระหว่างการสำรวจเพื่อก่อสร้างสนามบินที่อู่ตะเภา ต่อมาสนามบินของกองทัพเรือที่ อู่ตะเภา ได้ขยายผลจนกลายเป็นฐานบินขนาดใหญ่ของเครื่องบินทิ้งระเบิด บี - ๕๒ อันลือลั่นของ กองกำลังสหรัฐ ฯ ในช่วงของสงครามเวียดนามเมื่อประมาณ ๔๐ ปี ที่แล้ว ในระยะนั้น ผู้ที่ผ่านไปมาสนามบินอู่ตะเภา คงจะเคยเห็นเครื่องบิน บี - ๕๒ ที่จอดเรียงรายอยู่เป็นตับ แต่ละเครื่องสีดำทะมึนปลายปีกทั้งสองข้างลู่ลง คงจะเป็นเพราะรับน้ำหนักอันมากมายของ ลูกระเบิดที่ติดไว้ใต้ปีกมองไกล ๆ คล้ายนกแร้งที่มีอายุมาก... ก็แร้งแก่นั่นแหละ จะอะไร เสียอีก ดูน่า สะพรึงกลัวแต่ถึงอย่างไรก็ตาม "ไม่มี งานเลี้ยงใดที่ไม่เลิกรา" เมื่อสงคราม เวียดนามสงบลง และมีการถอนทหารอเมริกันออกจากประเทศไทยในปี ๒๕๑๘ ชื่อเสียง ของสนามบินอู่ตะเภา ก็แทบจะเลือนหายไปจากความทรงจำของผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง
    ในด้านการปกครองบังคับบัญชา ท่านเป็นผู้เมตตากรุณาต่อผู้ใต้บังคับบัญชา กล่าวได้ว่า "หลวงปู่" มีเมตตากรุณาสูง
    เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็นสุข
    กรุณา คือ ความสงสาร ต้องการจะช่วยบุคคลอื่น หรือสัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์ พี่ออด นายทหารรุ่นพี่ที่ผมนับถือ เคยเล่าให้ฟังว่า
    พี่ออดซึ่งลาออกจากราชการทหารไปเข้าทำงานที่บริษัทแห่งหนึ่งที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อกลับมา บ้าน ที่กรุงเทพ ฯ เพื่อเยี่ยมคุณพ่อคุณแม่ เลยถือโอกาสเข้าไปแวะทักทายเพื่อน ๆ นายทหารที่ห้องบิลเลียด อาคารราชนาวีสโมสร ในตอนเย็นหลังเลิกงานเป็นเวลาเดียวกันกับที่ หลวงปู่" ซึ่งเป็น เจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือในสมัยนั้น กำลังเล่นบิลเลียดอยู่ หลวงปู่Ž เหลือบไปเห็นพี่ออดเข้า ท่านก็เลยเรียกให้ไปช่วยทำหน้าที่ เป็น Marker หรือคนนับแต้ม ให้ท่าน ระหว่างนั้นท่านก็ถามไปเรื่อย ๆ ทำนอง
    ถาม "สารทุกข์สุขดิบ" คือ ถามความทุกข์ ความสุขของชีวิตอะไรประมาณนั้น
    หลวงปู่ : "เป็นไง สบายดี...?"
    พี่ออด :
    "สบายดีครับ"
    หลวงปู่ :
    "พ่อแม่เป็นยังไงบ้าง"
    พี่ออด :
    "คุณพ่อสบายดีครับ แต่คุณแม่ไม่ค่อยสบาย"
    หลวงปู่ : "อ้าว...เป็นอะไร"
    พี่ออด : "เป็นไข้ครับ ไข้หวัดใหญ่ แต่อาการดีขึ้นแล้ว"
    หลวงปู่ : "อ้อ...เหรอ...'แล้วท่านก็ไม่ได้พูดอะไรต่อ


    หลังจบบิลเลียดเกมนั้น พี่ออดขออนุญาตกลับไปบ้าน ขณะนั่งพักผ่อนมีเด็กรับใช้มารายงาน ว่ามีผู้มาขอพบ พี่ออดออกไปปรากฏว่า เป็น "หลวงปู่" กำลังยืนอยู่และมองไปรอบ ๆ บริเวณบ้าน พอเห็นพี่ออด ท่านก็พูดขึ้นว่า "เห็นบอกว่าแม่ไม่สบาย เลยมาเยี่ยม อายุมากแล้ว เป็นห่วง"

    พี่ออดพูดอะไรไม่ออกอยู่พักใหญ่เพราะในระหว่างที่เป็น Marker ให้ท่านก็คิดว่าท่านซัก ถาม แบบผู้ใหญ่ทักทายเด็ก ในคำถามที่ดู "เรื่อยเปื่อย" หรือว่า ถามไป เรื่อย ๆ นั้น ไม่มีวี่แววเลยว่าท่านจะใส่ใจอะไรที่ลึกซึ้งไปกว่านั้นการที่ท่านมาเยี่ยมคุณแม่จนถึงที่บ้าน เป็น เรื่องที่ไม่คาดฝัน และเหนือความคาดหมายทำให้พี่ออดซาบซึ้งและประทับใจอย่างยิ่ง และประจักษ์แก่ใจในขณะนั้น โดยไม่มีข้อสงสัย หรือมีอะไรค้างคา อยู่ในใจอีกต่อไปว่า แท้จริงแล้ว "หลวงปู่" เป็นผู้ "รักลูกน้อง" และเป็นห่วงใยในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับลูกน้องของท่าน แม้แต่นายทหาร ที่ลาออกจากราชการไปแล้ว เช่น พี่ออด ก็ยังได้รับความเมตตาจากท่าน

    เรื่องที่พี่ออดเล่า สามารถนำมาขยายความได้ว่า ความรักและความเป็นห่วงลูกน้องของ "หลวงปู่" ดูได้หรือวัดได้จากความพยายามที่ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชา "อยู่ดี กินดี" ด้วยการริเริ่มและก่อสร้างตามโครงการต่าง ๆ เช่น การจัดหาแหล่งน้ำและสร้างอ่างเก็บน้ำ การจัดสรรที่ดินเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยแสดงให้เห็นเด่นชัดถึงจิตวิญญาณ (Spiritual) ที่รักลูก น้อง และ มองการณ์ไกลของ "หลวงปู่" ผู้บังคับบัญชาที่สมบูรณ์แบบ

    ต่อมาเมื่อ "หลวงปู่" เกษียณอายุราชการแล้ว มีอยู่วันหนึ่ง พี่ออดต้องไปรอคิวขอใช้ ้โทรศัพท์ทางไกล เนื่องจากมีผู้ไปใช้บริการกันมากที่สำนักงานขององค์การโทรศัพท์จังหวัด ภูเก็ต พี่ออดโทรศัพท์เข้ากรุงเทพ ฯ ด้วยคำพูดดังต่อไปนี้

    คุณพ่อครับ ผมอยากจะขอร้องคุณพ่อเป็นกรณีพิเศษสักอย่าง คือเลือกตั้งในวันอาทิตย์หน้า ขอความกรุณาคุณพ่อ คุณแม่ช่วยกาให้ พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ ด้วย ไปให้ได้นะครับ ผมขอร้องขอบพระคุณคุณพ่อคุณแม่มาก"

    พี่ออดเป็นคนสุภาพอ่อนน้อมเสมอแม้แต่การพูดจากับนายทหารรุ่นน้องๆ ผลการเลือกตั้ง ในครั้งนั้นปรากฏว่า พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ ซึ่งสังกัดพรรคการเมืองที่มีชื่อเสียง พรรคหนึ่ง ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และแน่นอนว่า ในจำนวนนี้มีอยู่ ๒ คะแนน ที่ได้รับจากความเคารพศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยมหัวใจ ที่พี่ออดมีให้กับ "หลวงปู่"

    ภายในบริเวณสวนสุขภาพ สนามกีฬาภูติอนันต์ กองทัพเรือ ที่บางนา มีอนุสาวรีย์ของ หลวงปู่" ยืนอยู่บนแท่นประดิษฐาน แต่งเครื่องแบบทหารสวมหมวก ขณะที่เดินไปใกล ้อนุสาวรีย์ โดยตาจ้องมองไปที่รูปปั้นของ "หลวงปู่" มีอยู่จุดหนึ่งซึ่งมองเห็น ได้ชัดเจนว่า รูปปั้นของ "หลวงปู่" ท่านมองสบตาอยู่ด้วยรู้สึกแปลกใจผมก็เลยหยุด ณ จุดนั้น แล้วทดลอง ด้วยการเดินก้าวไปข้างหน้าและถอยหลัง พอเปลี่ยนจุดผ่านพ้นจากจุดนั้นไปก็ไม่มีการมอง สบตา อีก ผมก็เลยนับก้าวจากจุดที่มองสบตาเดินไปข้างหน้าจนถึงแท่นประดิษฐาน นับได้ ๙ ก้าว เพื่อให้แน่ใจก็เลยเดินถอยหลังมา ๙ ก้าว แล้วหยุด เมื่อขยับและปรับตำแหน่งอีกเล็กน้อย ก็เห็นรูปปั้น "หลวงปู่" จ้องมอง สบตามาแน่วนิ่งเหมือนเดิม ทำให้นึกถึงสมัยที่ "หลวงป"่Ž เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ท่านได้มาร่วมงานในวันคล้ายวันสถาปนา กรมอุทกศาสตร์ มีนาวาเอก ประพัฒน์ (พลเรือเอก ประพัฒน์ จันทวิรัช อดีต ผู้บัญชาการทหารเรือ) เป็นนายธง คอยชงเครื่องดื่มมาให้ท่านงานจัดให้มีขึ้นที่สนามหญ้าหน้ากรมอุทกศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มี บริเวณแคบ ๆ ทำให้มีโอกาสได้ยืนอยู่ไม่ห่างจาก "หลวงปู่" มากนัก ได้ยินท่านพูดถึงเรื่อง นกเขาชวาซึ่งเป็นเรื่องที่ท็อปฮิตติดอันดับในสมัยนั้น มีนายทหารหลายท่านที่เลี้ยงนกเขา ผมจ้องมองหน้าเวลาท่านพูดคุย เพียงแต่ไม่ได้สบตารู้สึกได้ว่าดวงตาของ "หลวงป"่ดูมี ลักษณะคล้ายรูปปั้นที่อนุสาวรีย์ เพิ่งได้มีโอกาสจ้องมองสบตาท่านอย่างเต็มที่หลังจาก เวลาผ่านมา ๔๐ ปี ณ อนุสาวรีย์ "หลวงปู่" นี้เอง มองสบตาสักพักชักรู้สึกแปลก ๆ ผมก็เลยเดินเข้าไปใกล้อนุสาวรีย์ ยกมือไหว้พร้อมกับขออนุญาตนำเรื่องของท่านมาบันทึกไว้ ณ ที่นี้ ให้เป็นที่รับทราบของผู้คนทั่วไป หวังให้ผู้สนใจได้โปรด รับทราบโดยทั่วกัน ทุกท่าน ทุกคน มีข้อความในป้ายที่แท่นประดิษฐานอนุสาวรีย์ของ "หลวงปู่"ดังนี้

    พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ เพื่อเป็นอนุสรณ์ คุณงามความดี ที่ พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ ได้เกื้อกูลสนับสนุนกิจการด้านต่าง ๆ ของกองทัพเรือ ข้อความบรรทัดล่างลงมาเป็นประวัติย่อและผลงานของท่าน พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หรือ "หลวงปู่" ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๖ สิริอายุ ๖๘ ปี ๘ เดือน

    รูปํ ชีรติ มจฺจานํ
    นาม โคตฺตํ น ชีรติ

    รูป คือ ร่างกายของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ย่อมย่อยยับไป
    ส่วนชื่อและโคตร (คือวงศ์สกุล) หาย่อยยับไปไม่
    นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์
    สถิตทั่วแต่ชั่วดี ประดับไว้ในโลกา
    จะมีอะไรยิ่งไปกว่า ได้มีอนุสาวรีย์ ประดับอยู่คู่แผ่นดิน ให้ชนชั้นหลังได้เคารพกราบไห
    ว้
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธรรมะสอนใจ
    พระภิกษุพระยานรรัตนราชมานิต
    http://www.icafezone.net/forums/-t425/index.html

    ผู้โพส ฅนเร่รอน


    คนเราเมื่อมีลาภก็มีเสื่อมลาภ เมื่อมียศก็มีเสื่อมยศ เมื่อมีสุขก็มีทุกข์ เมื่อมีสรรเสริญก็มีนินทา เป็นของคู่กันมาเช่นนี้ จะไปถืออะไรกับปากมนุษย์ ถึงจะดีแสนดีมันก็ติ ถึงจะชั่วแสนชั่วมันก็ชม นับประสาอะไร พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐเลิศยิ่งกว่ามนุษย์และเทวดายังมีมารผจญ ยังมีคนนินทาติเตียน ปุถุชนอย่างเราจะรอดพ้นจากโลกะธรรมดังกล่าวแล้วไม่ได้ ต้องคิดเสียว่าเขาจะติก็ช่าง ชมก็ช่าง เราไม่ได้ทำอะไรให้เขาเดือดเนื้อร้อนใจ ก่อนที่เราจะทำอะไรเราคิดแล้วว่า ไม่เดือดร้อนแก่ตัวเราและคนอื่นเราจึงทำ เขาจะนินทาว่าใส่ร้ายอย่างไร ก็ช่างเขา บุญเราทำ กรรมเราไม่สร้าง พยายามสงบกาย สงบวาจา สงบใจ จะต้องไปกังวน กลัวใครติเตียนทำไม ไม่เห็นมีประโยชน์ เปลืองความคิดเปล่า ๆ
     
  16. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    พระบุทองคำพิมพ์พิเศษ

    ขอแจมมั่งนาค้าบ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    เอาเบญจรงค์อีกใบใลงให้ดู...เวลาเดินสนามพระอย่ามองข้ามของสวยๆนะครับ...เราอาจคิดว่าราคาแพงแท้จริงมีราคาถูกกว่าพระบางรุ่นเสียอีก...ผมเคยปล่อยพระสมเด็จเกศไชโยโดยดูไม่เป็นไปที่กำแพงวัดวันเข้าพรรษา(ไปเวียนเทียน)..พอซื้อตำรามาอ่านแทบเข่าอ่อนทั้งเนื้อและพิมพ์เข้าตำราเปี๊ยบเลย...แต่อย่างว่าและครับเข้าพระไตรลักษณ์เป๊ะเลย...คิดได้อย่างนี้ก็ต้องพยายามใหม่...มีบทเรียนก็นำมาฝากครับเผื่อวันหน้าเจอแบบนี้จะได้รู้หนทาง...เมื่อวานเจอลุงคนหนึ่งแกมาจากเชียงใหม่แกบอกว่าลงมากรุงเทพฯทีไรมาเช่าพระไปทุกที...นับจนขณะนี้แกบอกแกเช่าพระสมเด็จวังต่างๆรวมๆก็พันกว่าองค์...แกเชื้อชวนผมให้ส่องดู...ผมยังใหม่เลยเช่ามาแค่ 20 องค์ ส่วนที่มีอยู่ส่วนมากไม่ใช่พระสมเด็จพิมพ์นิยมแต่เป็นพิมพ์พิเศษ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2008
  18. มูริญโญ่

    มูริญโญ่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +583
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong
    สำหรับพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นและนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวง ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หลังปี พ.ศ.2428-2451) เป็นพระพิมพ์ที่ไม่ธรรมดาเช่นกัน เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิต มีมากมายเช่น หลวงปู่สมเด็จกรมพระยาปวเรส ,หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ,หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ,หลวงปู่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เป็นต้น ซึ่งเมื่อเทียบกับในยุคปัจจุบันแล้ว นับได้ว่าหาเทียบได้ยาก

    อีกทั้งประธานฝ่ายฆาราวาส เป็นถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ท่านจัดทำและสร้างพระราชพิธีหลวงในปี พ.ศ.2451 อย่างยิ่งใหญ่ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองที่พระราชบิดา(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ครองราชย์ครบ 40 ปี และเฉลิมฉลองพระบรมรูปทรงม้าด้วย


    คุณ sithiphong ครับผมเรียนถามเพื่อเพิ่มความรู้สักนิดนะครับ พอดีผมยังสงสัย
    คือ ..... จากข้อความที่คุณ sithiphong โพสข้อความไว้ไม่มีชื่อของหลวงพ่อเดิม
    วัดหนองโพ เลยแสดงว่าท่านไม่ได้ร่วมพิธีด้วยใช่มั้ยครับที่ผมเรียนถามเพราะว่า
    ผมเคยอ่านประวัติท่านๆอยู่ในยุคเดียวกับหลวงปู่ศุขและหลวงพ่อเงิน ?
    ผมนำพระสมเด็จปรกโพธิ์ที่คุณ sithiphong มอบให้ผมเลี่ยมตลับพุกห้อยคอครับ
    ดีขึ้นหลายอย่างครับแล้วอีกไม่นานผมจะเล่าให้ฟังครับ อนาคตคงต้องนิมนต์ท่าน
    เข้าตลับทองครับ ส่วนปางที่ยืนปิดตาถ้าความเข้าใจผมไม่ผิดคงจะเป็นพิมพ์
    หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ใช่มั้ยครับ ไม่ทราบจะห้อยรวมกับสมเด็จปรกโพธิ์
    ได้มั้ยครับ ? คือ สมเด็จปรกโพธิ์ 2 องค์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1 องค์
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ ท่านก็เป็นพระอภิญญาใหญ่เช่นกัน แต่เท่าที่ผมทราบมานั้น พระพิมพ์ที่องค์พระอภิญญาใหญ่ท่านอธิษฐานจิต ยังไม่เคยพบว่า มีหลวงพ่อเดิมท่านอธิษฐานจิตร่วมด้วย

    แต่เนื่องจากผมเอง เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบพระพิมพ์ที่อยู่ในพระราชพิธีหลวง ปี พ.ศ.2451 เท่าไหร่ ก็เลยไม่ค่อยได้สนใจมากนัก ยกเว้นจะเป็นประเภทอื่นๆครับ

    ส่วนพระสมเด็จปรกโพธิ์ และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร สามารถห้อยรวมกันได้ ไม่มีปัญหาอะไรครับ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ประวัติหลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์
    http://www.toprich24ince.com/index.php?mo=3&art=185486

    <?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    [​IMG]
    ต้นตระกูลของหลวงพ่อเป็นชาวนา อยู่ในหมู่บ้านหนองโพ ต้นรากเดิม
    โยมบิดาของท่านได้ถือกำเนิดที่บ้านเนินมะกอก (อยู่เลยหมู่บ้านหนองโพ
    ไปประมาณสองสถานี) ต่อมาได้แต่งงานอยู่กินกับโยมมารดาของหลวงพ่อ
    เดิมซึ่งเป็นชาวบ้านหนองโพและย้ายมาประกอบการอาชีพอยู่ที่บ้านโพ
    โยมบิดาของท่าน ชื่อ เนียม ส่วนโยมมารดาชื่อ ภู่ ในระยะที่โยมบิดามารดา
    ของท่านประกอบอาชีพอยู่นั้นตรงกับสมัยหลวงตาชมเป็นเจ้าอาวาสวัด
    หนองโพ นามสกุลของหลวงพ่อคือ ภู่มณี<O:p></O:p>
    หลวงพ่อเดิมถือกำเนิด <O:p></O:p>
    ในปี พ.ศ. ๒๔๐๓ วันพุธ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๓ ปีวอก จ.ศ. ๑๒๒๒ ตรงกับวันที่๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๐๓ ฟ้าก็ได้ส่งให้หลวงพ่อมาจุติในโลกมนุษย์เพื่อยังความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่พุทธศาสนิกชนคู่วัดหนองโพ และจังหวัดนครสวรรค์ เมื่อท่านถือกำเนิดมาเป็นลูกผู้ชายของตระกูล ย่อมเป็นที่ยินดีปรีดาของโยมบิดามารดา เป็นที่ยิ่ง จึงขนานนามท่านว่า "เดิม" <O:p></O:p>
    สำหรับนามของท่านนี้มีนัยสันนิษฐานได้สองทางซึ่งจะยกมากล่าวได้คือ<O:p></O:p>
    ก. ประการแรก ด้วยท่านเป็นบุตรชายคนหัวปีของโยมบิดามารดา สมใจที่ตั้งไว้จึงมีจิตนิยมยกย่องว่า เป็นประเดิม แต่ครั้นจะตั้งชื่อว่า "ประเดิม" ก็จะยาวไป จึงตั้งเสียว่า "เดิม" ซึ่งชาวบ้านเชื่อประการนี้มากที่สุด<O:p></O:p>
    ข. ประการที่สอง มีเรื่องเล่ากันว่าท่านเคยเกิดมาแล้วครั้งหนึ่ง เป็นบุตรชายของโยมมารดาบิดาท่าน แต่หากเสียชีวิตเสียแต่เมื่อยังเด็ก โยมมารดาบิดาเสียใจมาก ก่อนจะนำไปฝังได้นำเอามีดมากรีดที่ฝ่าเท้า ไว้เป็นตำหนิเพื่อว่าถ้ากลับมาเกิดอีกจะได้จำได้ ซึ่งเมื่อเกิดมาก็มีรอยอย่างนี้จริงๆ สำหรับประการหลังนี้ ขัดข้อเท็จจริง เพราะบิดามารดานั้นรักบุตรและธิดามากแม้เมื่อมีชีวิตอยู่และตายแล้ว ดังนั้นการจะเอามีดคมๆ มากรีดมาเฉือนเท้าของลูกนั้นเป็นไปได้ยาก และคำเล่าลืออันนี้คงจะเป็นเพราะรอยเท้าของหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ก็เป็นได้ เลยกลายเป็นเรื่องเล่าให้เขวไปอีกด้านหนึ่งก็อาจเป็นได้<O:p></O:p>
    พี่น้องร่วมท้องของหลวงพ่อ หลวงพ่อมีพี่น้องร่วมท้องดังลำดับได้คือ
    ๑. นางทองคำ คงหาญ
    ๒. นางพู ทองหนุน
    ๓. นายดวน ภู่มณี
    ๔. นางพันธ์ จันทร์เจริญ
    ๕. นางเปรื่อง หมื่นนราเดชจั่น<O:p></O:p>
    ชีวิตเมื่อเยาว์วัยของหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    เนื่องจากหลวงพ่อเดิมเกิดในตระกูลชาวนาน เมื่อเยาวัยท่านก็ได้รับการนำเข้าไปหาพระหาวัด โดยการศึกษาของชาวนาหนองโพในตอนนั้นมีศูนย์กลางคือวัดหนองโพ เมื่อพ่อแม่ต้องการให้ลูกของตัวมีความรู้ก็นำดอกไม้ธูปเทียนเข้าไปถวายเจ้าอาวาส น้อมถวายบุตรแห่งตนเข้าเรียนในสำนักโดยกล่าวคำปวารณาว่า "ขอฝากลูกของกระผม หรือดิฉัน ไว้ในปกครองดูแล จะดุด่าว่าตี สั่งสอนอย่างไร ก็แล้วแต่ขรัวเจ้าจะเห็นสมควร" ระยะที่จะนำบุตรมาฝากวัดก็อยู่ในฤดูแล้ง คือระหว่าง เดือน ๙ เดือน ๑๐ และเดือน ๑๑ เพราะว่าระยะนั้นว่างจากงานไร่นา เด็กจะได้ไม่เอาเวลาว่างไปเที่ยวเกะกะเกเรเข้าพวกพ้องการศึกษาในสมัยนั้นจากบันทึกกล่าวไว้ว่า กระดานชะนวนหายาก พ่อแม่จึงหาไม้กระดานใสให้เรียบแล้วทำกรอบให้ถือถนัดมือ ลมไฟให้ดำ และเอาเขม่าดินหม้อทาให้ดำ และใช้ดินสอพองอย่างชนิดผสมคล้ายๆชอล์คในปัจจุบันเขียนลงไป เมื่อเวลาพระให้เขียนแล้วอ่าน เมื่อเขียนเต็มแล้วก็เอาน้ำลายลบเวลาลบถ้าสีดำที่ทาไว้ลอก ก็ต้องหาดินหม้อผสมกันแล้วทาทับตากให้แห้งจึงนำเอามาเขียนต่อ การเรียนเขียนอ่านมักจะทำเวลากลางวันเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพระบ้าง ฆราวาสบ้าง ช่วยกันสอนให้เขียนอ่านตกเย็นถึงกลางคืนหลังจากกลับบ้านไปกินข้าวกินปลาแล้ว พระทำวัตรเย็นเสร็จก็พากันมาวัดต่อการเรียนกับพระที่วัด สิ่งที่สอนกลางคืนก็คือ การสวดมนต์บทต่างๆ อันเป็นพระพุทธมนต์ เช่น พระอิติปิโสถวายพรพระ และพระคาถาต่างๆ วิธีการเรียนก็คือเข้าไปหาพระตามกุฎิแล้วขอเรียน โดยท่านจะสอนให้วันละท่อนสองท่อนแล้วแต่สติปัญญาของเด็กแต่ละคน ใครหน่วนก้านดีก็ต่อมากหน่อย ใครท่าทางปัญญาทึบก็สอนน้อยหน่อย ท่องต่อหน้าท่านแล้วก็กลับบ้าน วันรุ่งขึ้นก็มาใหม่เมื่อได้เวลาก็มาหาท่านแล้วท่องตอนที่สอนให้ไปท่องให้คล่องไม่ผิดอักขระวิธีแล้ว ก็ต่อท่อนต่อไปให้ ถ้าท่องไม่ได้ก็ต้องท่องให้ได้ หรือไม่ก็ต้องกินไม้เรียวแทน เรียกว่าใครไม่เอาใจใส่ก็มีแนวโน้มไม้เรียวไปอวดพ่อแม่แน่ <O:p></O:p>
    แต่สิ่งที่ดีก็คือจะได้รับการอบรมจากพระให้มีจิตใจสะอาด ไม่ข่มเหงใคร ให้รู้จักศีล รู้จักธรรม บางครั้งท่านก็เล่านิทานธรรมะให้ฟัง เช่น เรื่องในนิทานชาดกต่างๆ สนุกสนาน จนลืมนอนก็มี <O:p></O:p>
    การสอนนั้นบางองค์ก็ใจดี เด็กๆ ชอบเรียน บางองค์ก็ดุเพราะวิชาอาคมแข็งเรียกว่าร้อนวิชาเด็กก็มักจะกลัว แต่พ่อแม่ชอบว่าพระดุดี กำหราบจอมแก่นแทนพ่อแม่ได้ และมักจะสอนดี มีคนมาฝากลูกหลานเข้าเรียนกันมากจนรับไม่ไหว<O:p></O:p>
    การสอนหนังสือไทยสอนจนอ่านออกเขียนได้ตามความจำเป็นในการดำรงชีวิต จึงให้หัดหนังสือขอม(หนังสือใหญ่) คือหัดเขียน หัดอ่านหนังสือขอม อันเป็นภาษาที่จารึกพระเวทย์วิทยาดั้งเดิมเป็นส่วนใหญ่ ท่องสูตร สนธิ การเรียกนาม เรียกสูตร มูลกัจจาย์เป็นช่วงๆ ไป พอถึงหน้าทำนาทำไร่ คือ เดือน ๖ เป็นต้นไป ก็เรียกลูกกลับจากวัด มาช่วยงานในไร่ในนา เพราะลูกชายเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำงานตั้งแต่ตัวเล็กๆ เพราะพ่อแม่ก็ต้องทำมาหากินควบไปด้วย เรียกว่าช่วยกันทำช่วยกันกิน<O:p></O:p>
    เป็นอยู่อย่างนี้ทำให้การศึกษาไม่ติดต่อเหมือนปัจจุบันนี้ เรียนบ้างหยุดบ้าง พอจะเรียนได้ก็ลืมเสียกลับมาเรียนใหม่ก็ต้องเริ่มใหม่เรียกว่ายากลำบากเหลือเกินในการหาความรู้ บางคนเรียนมาถึงอายุ ๑๕-๑๖ ปี พ่อแม่ก็ให้บวชเณรเป็นระยะเพื่อเรียนวิชา ที่บวชแล้วเรียนเรื่อยไปถึงบวชพระก็มี<O:p></O:p>
    เมื่อได้บวชเป็นพระในวัดก็แบ่งออกเป็นสองแผนก คือ พระองค์ไหนบวชใหม่แล้วมีปัญญาดีชอบทางอักษรศาสตร์ ก็จะเล่าเรียนบาลี การแปรพระธรรมบท และอักขระเลขยันต์ คาถาอาคม ตลอดจนการปลุกเสก วิปัสสนากรรมฐาน พระเวทย์วิทยามนต์ การแพทย์แผนโบราณ เรียกว่าเรียนเพื่อเป็นพระอาจารย์เขา มีทั้งลบผง เสกผง และอุปเทห์ต่างๆ ตามคำภีร์โบราณ ซึ่งการเรียนอย่างนี้ส่งผลให้เกิดพระอาจารย์เจ้าที่มีอาคมขลังมามากต่อมาแล้ว ประเภทนี้โดยมากบวชแล้วไม่ยอมสึกตลอดชีวิต<O:p></O:p>
    อีกแผนกหนึ่งบวชแล้วปัญญาไม่ดี หรือไม่ประสงค์จะเรียนทางวิชาอักษรศาสตร์ ก็เรียนทางการช่างต่างๆ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างปั้น การช่างฝีมือสารพัด เรียกว่าเมื่อครบพรรษาแล้วสึกออกมาก็มีความรู้ติดตัวออกมาประกอบอาชีพได้สารพัด ประเภทหลังนี้มักจะบวชชั่วคราวเพียงพรรษาเดียว หรือสองพรรษา แล้วก็สึกไปทำมาหากิน<O:p></O:p>
    ตามที่กล่าวมาแล้วนั้น คือ การให้ศึกษาของวัดหนองโพต่อบุตรหลานของบ้างหนองโพ แต่หลวงพ่อเดิมมิได้ไปศึกษาดังเช่นเขาอื่น เพราะเป็นบุตรคนหัวปีของพ่อแม่ จึงไม่ค่อยจะได้เข้าวัดเรียนหนังสืออาจจะเรียนบ้าง แต่เนื่องจากความลำบากในการเรียนที่กล่าวมาแล้ว หลวงพ่อเลยไม่ยอมเข้าเรียนก็เป็นได้<O:p></O:p>
    ชีวิตในวัยรุ่นของหลวงพ่อเดิม<O:p></O:p>
    เมื่อกล่าวถึงชีวิตในเยาวัยของหลวงพ่อแล้ว ก็จะขอว่าถึงชีวิตในวัยรุ่นของหลวงพ่อ ดังปรากฏในบันทึกว่า<O:p></O:p>
    ก. ชอบเลี้ยงสัตว์ เมื่อท่านอยู่ในวัยรุ่นท่านชำนาญในเรื่องนกเขามาก เรียกว่าดูลักษณะและฟังเสียงได้คล่อง เข้าใจว่าเรียนมาจากนายพรานดักนกในหมู่บ้าน ท่านชอบดักนก และต่อนกเขามาก มีนกต่อเสียงดีหลายตัว ทำการต่อนกเขามาเลี้ยง มีบางครั้งท่านเห็นใครมีนกดีก็เอาของไปแลกกับเขา ถ้าชอบใจแล้วเป็นไม่บ่น รักสัตว์ทุกชนิดมาแต่รุ่นหนุ่ม จึงติดมาถึงเมื่อบวชแล้วก็รักสัตว์และเลี้ยงสัตว์ไว้ใช้งานก่ไปแลกนกเขา เรื่องรักสัตว์นี้ มีเรื่องเล่าอยู่ว่าครั้งหนึ่งโยมบิดาได้ซื้อตุ้มหูระย้าให้ข้างหนึ่งให้ใส่หู ท่านได้นำตุ้มหูไปแลกนกเขา ความรู้ไปถึงหูโยมบิดามารดา จึงถูกว่ากล่าวเอาบ้าง ท่านก็ลงทุนไปเหลาเพลาเกวียนขายเพื่อรวบรวมเงินมาคืนให้โยมบิดามารดาจบครบ ไม่ยอมเสียนกเขา<O:p></O:p>
    ข. ลักษณะพิเศษประจำตัว (ผ้าขาวม้าโพกศรีษะ) ปกติหลวงพ่อเดิมเมื่อรุ่นหนุ่มจะไปไหน มักจะเอาผ้าขาวม้าโพกศรีษะอยู่เสมอ เรื่องนี้เล่าว่า โบราณเขาว่า คนผมหยิก หน้ากร้อ คอสั้น ฟันขาว มักจะไม่มีใครคบ แต่หลวงพ่อเองแม้จะมีผมบนศรีษะหยิก แต่ท่านกลับมีผิวขาว สูงโปร่ง หน้ายาว ศรีษะนูนอันผิดกับตำรา แต่เมื่อท่านมีผมหยิกท่านจึงเอาผ้าโพกเสียเพื่อไม่ให้ถูกล้อเลียน อาจจะเป็นปมด้อยของท่านท่านอาจจะคิดไปว่าคนคงจะไม่ชอบจึงตัดปัญหาเสียด้วยการปิดบังศรีษะ)<O:p></O:p>
    ค. ไม่มีนิสัยติดโลกีย์ ในวัยหนุ่มสาวนั้นหนุ่มสาวในหมู่บ้านหนองโพมักจะไปร่วมงานต่างๆ เช่น ช่วยบ้านสาวปั่นด้าย ทอผ้า ช่วยทำนา ช่วยทำงานรอบกองไฟในเวลากลางคืน หมายตาสาวๆ ไว้เพื่อเป็นคู่หมั้นคู่หมายต่อๆ ไป เรียกว่า มีโอกาสก็เกี้ยวพาราศีกันตามทำนอง อยู่ในศีลธรรมอันดี ซึ่งสมัยโบราณเขารักษาประเพณีอันดีงามไว้ ผิดกับสมัยนี้มาก แต่ในจำนวนนั้นไม่มีหลวงพ่อเดิมอยู่ด้วย เพราะท่านไม่ชอบ คืออาจะเป็นกุศลประจำตัวของท่านที่จะได้บวชเรียนทำประโยชน์ให้แก่พระพุทธศาสนา เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้วท่านอาจจะไม่ได้เป็นหลวงพ่อเดิมให้เราได้พึ่งบารมีก็ได้ ในระหว่างที่หนุ่มสาวเขานั่งคุยกัน ช่วยกันทำงานนั้น หลวงพ่อจะทำบ้างก็คือ มักจะแอบเข้าไปใกล้ๆ แล้วเอาก้อนดินบ้าง คันยิงกระสุนบ้าง หรือท่อนไม้บ้าง มาปาใส่กองไฟ เพื่อให้เขาตกใจเอะอะกันพอเขาวุ่นวายท่านก็ชอบใจแอบไปหัวเราะคนเดียวใครๆ เขาก็รู้ว่าเป็นฝีมือท่านเขาก็ให้อภัย เพราะรู้ว่าท่านชอบสนุกและไม่มีเจตนาจะทำให้ใครแตกกับใครหรือหันมารักท่าน<O:p></O:p>
    ง. ไม่เคยศึกษามาก่อนเลยในวัยรุ่น เป็นการแน่นอนว่าเมื่อท่านยังอยู่ในวัยรุ่นนั้น ท่านมิได้เล่าเรียนมาก่อนเลย แต่หากเรียนทีหลังทั้งนั้น(เมื่อบวชแล้ว) ท่านศึกษาเอาจากประสพการณ์ทั้งทางด้านช่างด้านการเลี้ยงสัตว์ ด้านการทำของต่างๆที่จำเป็น เรียกว่าแม้จะไม่เรียนหนังสือแต่ก็หาประสพการณ์เอาไว้หลายด้าน<O:p></O:p>
    สรุปแล้วหลวงพ่อเดิมท่านออกจะแปลกกว่าคนอื่น ในรุ่นเดียวกันคือไม่ติดในกิเลสความรักของหนุ่มสาว ในวัยอันสมควร ไม่ยินดียินร้าย จึงเป็นสาเหตุให้ท่านบวชได้นานจนตลอดชีวิต โดยมิได้เคยมีความรักหรือรู้จักความรักมาก่อนเลยในชีวิต เรียกว่าบริสุทธิ์ผุดผ่องมาก่อนจะเข้าอุปสมบท มีบุญเก่ามาเกื้อหนุนให้ท่านได้ดำเนินตามรอยพระพุทธบาทจวบจนสิ้นอายุขัยของท่าน<O:p></O:p>
    สู่ความเป็นพระพุทธบุตร<O:p></O:p>
    เมื่อท่านอายุครบบวชแล้ว โยมบิดามารดาได้สอบถามความสมัครใจของท่านในการจะอุปสมบทท่านไม่ขัดข้อง โยมบิดามารดาจึงจัดเตรียมอัฐบริขารการอุปสมบท นำไปอุปสมบทหลวงพ่อเข้าเป็นพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนา<O:p></O:p>
    ท่านได้เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดเขาแก้ว อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ เมื่อวันอาทิตย์ แรม ๑๓ ค่ำ เดื อน ๑๑ ปีมะโรง โทศก ตรงกับวันที่ ๓๑ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๒๓ โดยมี<O:p></O:p>
    ๑. หลวงพ่อแก้ว วัดอินทราราม (วัดใน) เป็นอุปัชฌาย์
    ๒. หลวงพ่อเงิน(พระครูพยุหานุศาสก์)วัดพระปรางค์เหลือง ตำบลท่าน้ำอ้อย อำเภอยุพหะคีรี (ครูสวด)
    ๓. หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล ตำบลสระทะเล อำเภอพยุหะคีรี (คู่สวด) ได้รับฉายาทางพระพุทธศาสนาก็คือ "พุทธสโร" <O:p></O:p>
    เมื่อุปสมบทแล้วได้เดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ ณ วัดหนองโพ เพื่อศึกษาเล่าเรียนตามทางที่พระนวกะ จะพึ่งได้รับ<O:p></O:p>
    ความยิ่งยงแห่งพระอุปัชฌาย์และคู่สวดของทาง<O:p></O:p>
    ๑. หลวงพ่อแก้ว วัดอินทราราม (วัดใน) เป็นพระเถระที่มีความคงขลังเป็นที่เคารพนับถือ ของชาวจังหวัดนครสวรรค์ เชี่ยวชาญพระเวทย์วิทยาการ การวิปัสสนากรรมฐาน อิทธิปฏิหารย์มากมาย หลวงพ่อเดิมไปศึกษากับทางหลายอย่าง (โดยเฉพาะ นะ ปัดตลอด)<O:p></O:p>
    ๒. หลวงพ่อเงิน วัดพระปรางค์เหลือง เป็นเจ้าคณะอำเภอพยุหะคีรี เป็นผู้มีความยิ่งยงในพุทธาคมเป็นอันมากเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งของหลวงพ่อเฒ่า ( รอด) วัดหนองโพ เชี่ยวชาญทางด้านอาคม ทางวิปัสสนา มีวิชาที่ยอดเยี่ยมเป็นเอกคือ น้ำมนต์จินดามณีสารพัดนึก ใครได้รดน้ำมนต์จากท่านแล้วจะมีโชคชัย เคราะห์ร้ายหายดี ปราถนาทุกประการได้ดั้งประสงค์ เมื่อคราวล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ เสด็จประภาสหัวเมืองเหนือ ได้แวะที่วัดพระปรางค์เหลือง และโปรดให้รดน้ำมนต์ถวาย ดังมีพระราชหัตถ์จดหมายเหตุประภาสต้น เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๔๔๙ <O:p></O:p>
    ๓. หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล เป็นพระเถระที่เป็นอมตะ อาคมขลัง วาจาสิทธิ์ เป็นที่ยำเกรงดีทางวิปัสสนา และน้ำมนต์ ตลอดจนมหาอุตม์ ไม่เคยออกของมงคลเป็นรูปท่านนอกจากพระเครื่องบ้างเป็นครั้ง ว่ากันว่าเมื่อท่านมรณะภาพไปแล้ว รูปหล่อก็ถ่ายรูปไม่ติด และมีการแห่รูปของท่านไปดูงิ้วในงานประจำปีนครสวรรค์เป็นประจำ มีเกร็ดว่า ทางกรรมการวัดทำเหรียญของท่านไปให้หลวงพ่อเดิมปลุกเศกเพื่อให้เกิดความขลัง เอาใส่ห่อผ้าขาววางไว้บนพานนำไปถวายท่านหลวงพ่อเดิมรับมาแล้วไม่ได้แก้ห่อออกยกขึ้นเหนือศรีษะของท่าน แล้วส่งคืนกำชับว่า "ของดีแล้วไม่ต้องปลุกเสก ดีอยู่ที่ตัว"ทั้งที่กรรมการวัดก็ได้บอกท่านเลยว่าเป็นของหลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล กรรมการวัดไม่เชื่อเอากลับไปลองยิงปรากฏว่าปืนด้านหมด<O:p></O:p>
    การศึกษาหาความรู้ของหลวงพ่อเดิม <O:p></O:p>
    ดังได้กล่าวไว้แต่ต้นไว้แล้วว่าตั้งแต่วัยเด็กมาจนกระทั่งรุ่นหนุ่ม หลวงพ่อมิเคยได้รับการศึกษาเป็นชิ้นเป็นอันมาก่อนจนกระทั่งได้บวชเรียน และนำมาจำพรรษาอยู่ที่วัดหนองโพ ท่านจึงมาเรียนเป็นล่ำเป็นสัน ท่าในมีความมานะพยายามเล่าเรียนศึกษาดังได้เล่าให้ผู้ใกล้ชิดฟังว่า<O:p></O:p>
    ๑. เล่าเรียนคัมภีร์พระธรรมวินัย และท่องคัมภีร์พระธรรมวินัย ๑๐ ผูก อันเป็นหลักสำคัญของพระนวกะ ในสมัยนั้นจะต้องเรียน เป็นรากฐานการศึกษาต่อไปในการเป็นนักเทศนา แตกฉานในภาษาบาลีอันเป็นแกนไปสู่การกระทำวิปัสสนากรรมฐานต่อไป ท่านเล่าเรียนวิชาการนี้กับหลวงตาชม เจ้าอาวาสวัดหนองโพ ซึ่งเป็นศิษย์เอกของหลวงพ่อเฒ่ารอด หลวงตาชมชื่นชอบความมานะพยายามของหลวงพ่อเดิมมาก ได้ทุ่มเทพลังการอบรมวิชาความรู้ที่มีอยู่ให้หลวงพ่อเดิม อย่างหมดไส้หมดพุง และยังแนะนำสถานศึกษาที่จะเพิ่มเติมให้อีกด้วย รวมเวลาเรียน ๗ พรรษา นับแต่บวชพรรษาแรก<O:p></O:p>
    ๒. เล่าเรียนพระปริยัติธรรม และคาถาอาคมเบื้องต้น นอกจากจะศึกษากับหลวงตาชมแล้วหลวงพ่อยังได้ไปมอบตัวเป็นศิษย์ของอาจารย์พันธ์ ชูพันธ์ ซึ่งเป็นฆราวาส เป็นลูกศิษย์สายตรงของหลวงพ่อเฒ่าดังกล่าวแล้วเบื้องต้นอาจารย์พันธ์ เชี่ยวชาญมากทางปริยัติในสมัยนั้นในละแวกใกล้เคียง หาตัวจับยาก เมื่อหลวงพ่อได้รับการศึกษาจากอาจารย์พันธ์(ฆราวาส) เป็นบันไดก้าวแรก และก็ทำให้หลวงพ่อเดิมแตกฉานยิ่งขึ้นแต่เป็นที่น่าเสียด้ายว่า เมื่อหลวงพ่อเดิมได้เล่าเรียนได้ไม่นานนัก อาจารย์พันธ์ก็ถึงแก่กรรมหลวงพ่อจึงคงเล่าเรียนกับหลวงตาชม จนในที่สุดก็ได้รับการแนะนำให้ไปเรียนกับ <O:p></O:p>
    ๓. หลวงพ่อมี วัดบ้านบน ต.ม่วงหัก อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ ท่านได้เล่าเรียนต่อทางพระปริยัติต่อกับหลวงพ่อมี ได้รับการถ่ายทอดจนก้าวหน้าแตกฉานออกไปอีกจนสิ้น ความรู้ของหลวงพ่อมีท่านก็ไม่ละความพยายาม ได้เสาะแสวงหาสำนักเรียนต่อ หลังจากเรียนกับอาจารย์มี ๒ พรรษา ได้ย้ายต่อไป<O:p></O:p>
    ๔. อาจารย์แย้ม (ฆราวาส) วัดสระทะเล ได้เข้าเรียนพระปริยัติขั้นสูงต่อไปกับอาจารย์แย้ม (ฆราวาส) ซึ่งหลวงพ่อได้ตั้งอกตั้งใจเรียนจนเข้าใจแจ่มแจ้ง สามารถแปลเข้าสอบเปรียญในสนามหลวงได้ทีเดียว แต่ท่านกลับหลีกเลี่ยงการแปลธรรมในสนามหลวง ท่านได้เรียนเพื่อศึกษาหาความรู้เท่านั้นมิได้หวังเปรียญ หรือเป็นมหาแต่อย่างใด เมื่อเรียนพระปริยัติได้สมบูรณ์แล้ว ท่านรับการแนะนำให้ไปเรียนการเทศนา เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่ท่านได้เรียนมาให้ญาติโยมสาธุชน พ่อแม่ พี่ป้า น้าอา ได้สดับท่านได้ไปศึกษาวิชาการเป็นนักเทศน์กับ<O:p></O:p>
    ๕. พระอาจารย์นุ่ม วัดเขาทอง เมื่อได้รับมอบตัวเป็นศิษย์ของพระอาจารย์นุ่ม วัดเขาทองแล้วก็ได้รับการสั่งสอนถึงการเทศน์ การอ่านใบลานเทศน์และทำนองเทศน์อันเป็นอักขระภาษาบาลี เป็นหลักสำคัญเนื่องจากท่านมีรากฐานความมั่นคงอยู่แล้วทำให้ง่ายแก่การเรียน ท่านเล่าเรียนอย่างเอาใจใส่จนหมดความรู้ของหลวงพ่อนุ่ม ท่านจึงเดินทางกลับสู่วัดหนองโพตามเดิม <O:p></O:p>
    ๖. หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล เมื่อหลวงพ่อเรียนปริยัติแล้ว ได้ไปศึกษาหาความรู้ทางวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล อันเป็นพระคู่สวดของท่าน ได้รับการถ่ายทอดวิชาการทางวิปัสสนาคาถาอาคม การปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ตามที่หลวงพ่อเทศ ถนัดทุกประการ จะเรียนอะไรบ้างนั้น หลวงพ่อมีได้บอกไว้ละเอียด คงรู้แต่เพียงว่าท่านเรียนกับหลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล<O:p></O:p>
    ๗. หลวงพ่อเงิน วัดพระปรางค์เหลือง ทางวิปัสสนากรรมฐานและการเจริญกษิน และที่แน่นอนคือ " วิชาน้ำมนต์จินดามณีสารพันนึก" เพราะน้ำมนต์ของหลวงพ่อเดิมต่อมาก็คล้ายกับหลวงพ่อเงินวัดพระปรางค์เหลือง <O:p></O:p>
    ๘. หลวงพ่อวัดเขาห่อ อ.ชนแดน บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ ไม่ทราบชื่อหลวงพ่อแน่นอนแต่ท่านได้ศึกษาวิชาด้วย วิชาใดไม่ปรากฏ เพียงแต่ท่านพูดถึงอยู่เสมอ<O:p></O:p>
    ๙. หลวงพ่อขำ วัดเขาแก้ว ได้ยินมาจากบางที่ว่าท่านไปเรียนวิชามีดหมอกับหลวงพ่อขำ วัดเขาแก้ว เพราะต่อมาท่านชำนาญในเรื่องมีดหมอและมีชื่อเสียงมาก พอท่านเรียนสำเร็จหลวงพ่อขำก็มรณะภาพขาดทายาทสืบต่อไประยะหนึ่ง ต่อมาหลวงพ่อกัน วัดเขาแก้วจึงตามมาเรียนกับหลวงพ่อเดิม และกลับไปทำมีดหมอที่วัดเขาแก้ว <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    การเรียนวิชาของหลวงพ่อนับแต่ปริยัติ คาถาอาคม วิปัสสนา และการทำของขลัง สรุปรวมแล้วกินเวลาถึง ๑๒ ปี นับแต่บวชมาทำให้ท่านมีความรู้มากมาย เป็นที่เคารพรักของชาวหนองโพทุกคน ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่มักจะคิดกันว่า หลวงพ่อเฒ่ารอด กับชาติมาเกิดเพื่อดูแลวัดของท่าน<O:p></O:p>
    ปฏิปทา วัตรปฏิบัติของหลวงพ่อเดิม<O:p></O:p>
    เมื่อได้กล่าวถึงการเล่าเรียนของท่านแล้ว จะได้กล่าวถึงองค์ท่านต่อไปอีก เพื่อท่านผู้อ่านจะได้เห็นภาพพจน์ของหลวงพ่อได้ถนัด<O:p></O:p>
    หลวงพ่อเดิม ท่านเป็นพระที่รูปร่างสูงใหญ่ผิวค่อนข้างขาว ศรีษะของท่านยาวและเป็นสง่าไม่ว่าท่านจะนั่ง ยืน เดิน ดูแล้วน่าเลื่อมใส่ เจรจาพาทีมีแต่คำหวานหู ไม่แช่งด่าใคร เมตตา ปราณี แววตาของท่านฉายแววสันติ และเปี่ยมด้วยความกรุณา ต่อสัตว์ผู้ยากทุกตัวตน ลักษณะพิเศษของท่านคือ นั่งยืดตัว ลำตัวตรง ไม่ค้อมเอียงไปด้านใด หรือหลังค่อม ยิ้มแย้มแจ่มใส่เป็นนิจไม่เคยเห็นท่านหน้าบึ้งเลยแม้ว่าจะมีอารมณ์โกรธ ขอให้ดูภาพถ่ายของท่านประกอบ ต่อไปจะว่าถึงรายละเอียดเกี่ยวกับตัวท่านต่อไป<O:p></O:p>

    ก. มานะ อดทน พากเพียร
    เรื่องนี้จะเห็นได้จากการเล่าเรียนของท่านในพรรษาต้นๆ ท่านผู้อ่านได้อ่านเรื่องราวมาแล้ว ว่าหลวงพ่อเดิมไม่เคยเล่าเรียนมาก่อน ตั้งแต่เด็กจนกระทั่งอุปสมบทเป็นพระภิกษุ พึ่งจะเริ่มเรียนเอาเมื่อบวช คนที่ไม่มีรากฐานมาก่อนเลยตั้งแต่เด็ก แม้แต่เณรก็มิได้บวชเพื่อเล่าเรียนเสียก่อน ท่านจึงใช้ความวิริยะ อุตสาหะ พากเพียรมาก เมื่อเรียนพระคำภีร์กับหลวงตาชมและเรียนพระปริยัติกับอาจารย์พันธ์ (ฆราวาส) ท่านหมั่นท่องจำตามคำสอนของพระอาจารย์ หนักเอาเบาสู่ ไม่ให้เป็นที่อิดหนาละอาใจต่อผู้สั่งสอน สอนอะไรก็จดจำเอาไว้ คิดไปค้นไป ไม่เข้าใจถาม ถามแล้วก็ไม่ถามอีกพยายามจดจำ ซึ่งท่านเคยพูดให้ลูกหลานของท่านฟังว่า " ท่านมีนิสัยทำอะไรแล้วต้องทำให้สำเร็จ ไม่สำเร็จเป็นไม่ละคิดอะไรไม่ได้ก็ต้องคิดไปจนคิดได้ เห็นอะไรไม่ได้เรื่องไม่ได้ความก็คิดค้นดัดแปลงแก้ไขไปจนกระทั่งสำเร็จเป็นรูปเป็นร่าง" ซึ่งความอดทนของหลวงพ่อทำให้หลวงพ่อได้รับความรู้ความชำนาญจากอาจารย์ผู้สอน ซึ่งถ้าท่านไม่ความอดทนแล้ว ท่านคงจะเลิกเรียนกลางคันเป็นแน่ หลักฐานพิสูจน์ความมานะพยายามของท่านคือ ระยะเวลา ๗ ปี แห่งความพากเพียรเรียนหนังสือของท่านแล้ว <O:p></O:p>
    ข. เป็นพระธรรมกถึกเอก เมื่อท่านได้เล่าเรียนมา ๗ พรรษาแล้วชำนาญในพระธรรมวินัย จึงเริ่มเป็นนักเทศน์ ทั้งเทศน์เดี่ยวและปุจฉาวิสัชนา ฝีปากของท่านในการเทศน์ว่ากันว่าเป็นเยี่ยม ไปเทศน์ที่ใดญาติโยมมาฟังกันแน่น ทั้งเข้าใจง่ายทั้งสนุกไม่ชวนเบื่อ เนื่องจากหลวงพ่อมีพระอาจารย์ดี ไม่ว่าจะเป็นเทศน์มหาชาติ เทศน์ชาดก หรืออะไรก็ตาม ท่านได้รับนิมนต์ไม่ว่างเว้น พอกลับมาถึงวัดเจ้าภาพก็มาคอยอยู่แล้ว ถวายของเพื่อให้รับนิมนต์ เรียกว่าไม่ได้อยู่ติดวัด ใครๆ ก็อยากฟังหลวงพ่อเทศน์ หาพระธรรมกถึกมาเทียบหลวงพ่อยากในสมัยนั้น ท่านเทศนาสั่งสอนเขามากเข้าๆ ในที่สุดบารมีเก่าของท่านก็ส่งตามมาส่งเสริม<O:p></O:p>
    ค. เทศน์สั่งสอนเขา สอนตัวเราบ้าง วันหนึ่งจะเป็นด้วยกุศลของท่านที่จะส่งให้ท่านเป็นพระอาจารย์ที่เป็นที่เคารพบูชา ของคนทั้งประเทศก็เป็นได้ บุญเก่าของท่านตามมา ท่านได้หยุดรับนิมนต์เทศน์เสียเฉยๆ ทำให้ญาติโยมที่มานิมนต์ท่านผิดหวัง แต่ท่านก็ได้จัดพระที่วัดหนองโพไปเทศน์แทนท่านทุกคราวไป เมื่อท่านเลิกเทศน์แล้ว มีลูกศิษย์ลูกหามาถามท่านว่าทำไมไม่เทศน์เหมือนเก่าเล่าขอรับ ท่านตอบเป็นปริศนาว่า "สอนคนอื่นให้เขาทำดีมามากมแล้ว ต้องหันมาสอนตัวเองเสียบ้าง" หลังจากนั้นท่านจึงได้เดินทางรอนแรมไปศึกษาวิชากับพระอาจารย์ที่เคยอุปสทบทท่าน เช่น หลวงพ่อเงิน วัดพระปรางค์เหลืองหลวงพ่อแก้ว วัดอินทราราม เป็นต้น ทางวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อสอนตัวเอง คือทำให้ท่านมีความลุ่มลึกในพระธรรมวินัย และญาณอันแก่กล้าตามแนวทางที่พระเถราจารย์เจ้าแต่โบราณาได้ใช้ให้เป็นประโยชน์สืบต่อมา เพราะถ้าท่านเป็นนักเทศน์อยู่แล้ว เราท่านอาจจะไม่ได้รู้จักหลวงพ่อเดิมเหมือนที่เราได้รู้จักท่านอยู่เดี่ยวนี้ก็เป็นได้ <O:p></O:p>
    ง. สันโดษ ไม่ลุ่มหลงในลาภยศ สรรเสริญ เมื่อท่านได้เป็นเจ้าอาวาสนั้นท่านก็เป็นไปตามธรรมดา ไม่มุ่งหวังในยศศักดิ์ ครองจีวรเก่าคร่ำคร่า ไม่ชอบครองจีวรใหม่ จะครองต่อเมื่อมีญาติโยมมาถวายเพื่อให้ญาติโยมเหล่านั้นได้ชื่นใจในกุศลที่ตั้งใจถวาย พอลับหลังแล้วท่านก็ถอดเก็บเอาไว้ เมื่อมีพระในวัดหรือวัดอื่นที่ขาดแคลนท่านก็ให้ต่อไป จีวรของท่านบางครั้งถึงกับประชุนก็มี ลาภสักการะของถวาย ของทานต่างๆ ที่เขาถวายมา ท่านก็ไม่แยแส ใครมาขอก็ให้ไป ของนั้นจะมีค่ามากหรือน้อยไม่สำคัญ ใครขอเป็นให้ อาทิ นาฬิกา ตะเกียงลาน ปั้นน้ำชา กระโถน ถ้วยชามลายครามของกินของใช้ต่างๆ หมอนปัก หมองอิง มาถึงวัดใครมาขอก็ให้ แต่มีกฏว่าขอแล้วต้องเอาไปเลย เพราะถ้าทิ้งไว้กับท่านแล้วมีคนมาขอต่อท่านก็ให้ไป เมื่อมีเจ้าของที่ขอท่านแล้วกลับมา ของท่านก็บอกว่าให้คนอื่นไปแล้วก็นึกว่าจะไม่เอา เมื่อท่านแจกไม่มีใครจะทัดท่านเพราะเกรงใจ<O:p></O:p>
    จากคำบอกเล่าของท่านพระครูนิพันธ์ธรรมคุต เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันกรุณาเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า ตอนนั้นหลวงพ่อเดิมท่านแจกของเขาไปจนเกือบจะหมดอยู่แล้ว ท่านจึงได้ขอเอาไว้บ้างไม่ใช้เพื่อท่านเอง แต่เพื่อจะเหลือของไว้เป็นอนุสรณ์ของหลวงพ่อบ้าง เป็นตู้ไม้สักแกลายแบบเก่าหนึ่งตู้ภายในบรรจุของที่มีผู้ถวายเขียนไว้ที่ตู้ว่า ต้นทานของท่านพระครูนิวาสธรรมขันธ์ อยู่ที่กุฏิของท่านเดี๋ยวนี้ ถ้าท่านไม่ขอคงจะไม่มีอะไรเหลือแล้ว<O:p></O:p>
    อีกอย่างหนึ่งที่ท่านพระครูนิพันธ์ธรรมคุต ได้เล่าให้ผู้เขียนฟังเพิ่มเติมก็มี ว่ามีคุณหลวงทางกรุงเทพ ถวายโต๊ะหมู่ไม้ชิงชันประดับมุกไฟอย่างดีหนึ่งชุด พร้อมนาฬิกาปารีสประดับมุกเหมือนกัน หลวงพ่อรับถวายไว้ยังไม่มีใครมาขอ วันหนึ่งท่านพระครูจึงคลานเข้าไปกราบหลวงพ่อแล้วเอ่ยปากว่า "หลวงพ่อขอรับ ผมขอโต๊ะหมู่และนาฬิกาเป็นสมบัติของวัดหนองโพ" หลวงพ่อเดิมท่านถอยหายใจมีสีหน้าแช่มชื่นกล่าวตอบ "อ้ายพ่อคุณเอ๋ย อยากให้ขอมานานแล้ว" ถ้าช้าไปวัดอื่นที่เขายากจนมาขอก่อนก็จะให้เขาไปของที่กล่าวมานี้ปัจจุบันไปดูได้ที่วัดหนองโพ ให้เห็นเท็จและจริง<O:p></O:p>
    แม้แต่เงินทองที่เขามาถวายท่านหรือมาเช่าวัตถุมงคลท่านก็ไม่ใส่ใจ ท่านมีหน้าที่อย่างเดียว คือแจกและปลุกเสก เงินทองที่เขาถวายก็เอาใส่ตู้ไว้ ท่านไม่หยิบไม่ต้อง ไม่เกี่ยว กรรมการวัดจัดการเอาเองท่านพระครูเจ้าอาวาสกล่าวว่า วันหนึ่งๆ มีรายได้เข้าในตู้ประมาณไม่ต่ำกว่าหมื่นกว่าบาททุกวัน เมื่อท่านจะต้องการเงินไปช่วยเหลือวัดอื่นๆ สร้างถาวรวัตถุท่านจะขอจากกรรมการวัดไปมอบให้วัดนั้นๆ หรือไม่ท่านก็ไปเป็นประธานแล้วทำวัตถุมงคลออกเช่าจำหน่ายจ่ายแจก ที่วัดนั้นๆ เอาเงินมาสร้างถาวรวัตถุต่างๆ นายธนิต อยู่โพธิ์ กล่าวไว้อย่างเหมาะสมที่สุดว่า "เงินทองกระทบเพียงแต่นัยน์ตาของหลวงพ่อเท่านั้นมิได้กระเทือนเข้าไปถึงข้างใน (จิตวางเฉยไม่ยินดี)"<O:p></O:p>
    จ. ยศศักดิ์ไม่ยินดี เรื่องนี้หลวงพ่อมีความสมถะแต่ไหนแต่ไรมาแล้ว เมื่อเป็นเจ้าอาวาสแล้วก็ยังคงเหมือนก่อนที่เคยเป็นมา แม้แต่เมื่อทางราชการได้เห็นคุณงามความดีของท่าน ได้ช่วยกิจการพระพุทธศาสนา มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ท่านมีสมณศักดิ์เป็นที่ "พระครูนิวาสธรรมขันธ์" เจ้าอาวาสวัดหนองโพและ เจ้าคณะอำเภอหยุหคีรี แทนที่พระครูพยุหานุศาสก์(สิทธิ์) ซึ่งมรณภาพลง ท่านก็วางเฉย ลูกศิษย์ลูกหาต้องเป็นธุระไปรับพัดยศ และแห่แหนไปให้ท่านถึงวัด ซึ่งท่านก็วางเฉยไม่ยินดียินร้าย เมื่อได้มาก็เอาไว้เป็นที่ชื่มชมของบรรดาศิษย์ทั้งหลาย ส่วนหลวงพ่อคงยินดีแต่จะให้เรียกท่านว่า "ท่านอธิการเดิม" "หลวงพ่อเดิม" หรืออย่างมากที่สุดก็แค่ พระครูเดิม เท่านั้น ท่านถือว่าสมณศักดิ์เป็นของทางโลกกีดขวางทางสงบ "พระครูนิวาสธรรมขันธ์" นั้นคือพัดยศ แต่ท่านก็คือหลวงพ่อเดิม แม้แต่ในเหรียญรุ่นแรกที่ท่านอนุญาตให้สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ ก็ระบุเพียง "หลวงพ่อพระครูเดิม วัดหนองโพ" ดังนั้นพวกเราทุกคนจึงรู้จักท่านในนามของ "หลวงพ่อเดิม" มากกว่ายศของท่าน คือท่านพระครูนิวาสธรรมขันธ์<O:p></O:p>
    จ. มีความเป็นอยู่เรียบง่ายไม่ชอบความสบาย จำเดิมแต่ท่านได้เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองโพต่อจากหลวงตาชม ท่านไม่ชอบอยู่กุฏิ ท่านชอบอยู่ที่ศาลาเล็กของท่านโปร่งทั้งสี่ด้านมีเพียงเสื่อลำแพนกั้นกันลมกันฝนเท่านั้น สมบัติมีค่าของท่านไม่มี เพราะมีแจกให้เขาหมด มีคนศรัทธาปลูกกุฏิให้ท่านก็ไม่อยู่ท่านบ่ายเบี่ยง เมื่อสร้างศาลาการเปรียญก็มาอยูศาลาการเปรียญ ในที่สุดท่านก็กลับไปศาลาเล็กของท่านอีกไม่อยู่กุฏิ จนในที่สุดพรรษาหลังๆ ที่ท่านชราภาพมากแล้ว ลูกศิษย์ขอร้องงรบเร้าท่านจึงใจอ่อน ด้วยลูกศิษย์ใช้วิธีขออนุญาติรื้อศาลาเล็กของท่านไปเป็นศาลาข้างเมรุเผาศพเสีย เพื่อให้ประโยชน์แก่บรรดาญาติผู้ตายในการทำฌาปนกิจ แล้วช่วยกันนิมนต์ท่านไปอยู่กุฏิที่ปลูกให้จนมรณะภาพ อันที่จริงท่านบอกว่าท่านไม่ค่อยได้อยู่วัดเพราะต้องไปช่วยเขาก่อสร้างมากกว่า และอีกประการหนึ่งท่านพอใจในความเป็นอยู่ง่ายๆ ดังพุทธพจน์ที่ว่า "บุตรตถาคถต้องเป็นคนเลี้ยงง่าย"<O:p></O:p>
    ช. พุทโธวาทเตือนตนจนชั่วชีวิต เรื่องนี้ยืนยันได้หลายคนที่ได้มีโอกาสใกล้ชิดปรนนิบัติหลวงพ่อเดิม จะเห็นว่าตอนเช้าเวลาประมาณตีสี่ตีห้า อันเป็นเวลาสงบงัดเงียบ ท่านจะตื่นขึ้นมาทำวิปัสสนา และก่อนนั้นท่านจะอ่านหนังสือใบลานสั้นๆ อยู่เล่มหนึ่ง ที่ว่าเป็นเล่มนั้นมิใช้เล่มหนังสือปัจจุบัน แต่หากว่าเป็นการเอาใบลานมาตัดแล้วจารย์อักษรลงไป ท่านอ่านอยู่อย่างนั้นตั้งแต่หนุ่มๆ จนกระทั่งถึงพรรษาสุดท้าย นายธนิต อยู่โพธิ์ ได้สอบถามจากคนรุ่นก่อนตัวเขาเอง หลังจากที่ได้ไปเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อนอนอยู่ปลายเท้าหลวงพ่อ และตื่นมาเห็นหลวงพ่ออ่านหนังสือใบลานสั้นๆ อยู่ก็ได้ความตรงกันว่า ไม่ว่าหลวงพ่อจะอยู่วัดหรือเข้าป่าไปตัดไม้ ไปธุดงค์ หรือไปกิจนิมนต์ที่ใดก็ตาม ท่านจะติดหนังสือนี้ไปตลอดเวลาคู่ชีวิตท่าน แต่ไม่มีใครกล้าขอท่านดูเพราะเกรงใจ จนกระทั่งหลวงพ่อมรณภาพแล้วรดน้ำศพของท่าน นายธนิต อยู่โพธิ์ได้ขึ้นไปค้นดู พบหนังสือนี้เข้าจึงนำมาเปิดดูโดยขอขมาลาโทษดวงวิญญาณของท่าน จึงได้ความจริงว่าหนังสือที่หลวงพ่ออ่านทุกเมื่อเชื่อวัน <O:p></O:p>
    จนตลอดชีวิตนั้นคือ คัมภีร์ปริศนาธรรมสำนวนเก่าทั้งปุจฉาและวิสัชนาเกี่ยวกับคำสอนอันลุ่มลึกขององค์พระชินสีห์มีอยู่ ๖๒ ลาน (จารย์ลงในใบลานสั้น ๖๒ ใบ) คือ มูลกันมัฏฐานและวัปัสนา อีกคัมภีร์หนึ่งคือพะรอธิธรรมภายใน มีอยู่ ๑๖ ลาน จึงแจ่มแจ้งว่าหลวงพ่อท่านสอนตัวท่านเองด้วยพุทโธวาท จนตลอดชีวิตสมดังที่ท่านกล่าวกับศิษย์ก่อนจะเลิกเป็นพระธรรมกถึกเอกว่า "สอนคนอื่นมากมาย ต้องสอนตัวเองเสียทีหนึ่ง และมิใช่ว่าสอนเพียงวันสองวันแต่หากตลอดชีวิตของท่านเลยทีเดียว"<O:p></O:p>
    เมื่อสรุปความจากปฏิปทาของหลวงพ่อเดิมที่กล่าวมาทำให้เห็นว่า หลวงพ่อเป็นผู้มีความเพียรเป็นเลิศ บำเพ็ญเพียรจนหน่ายกิเลศ ไม่ติดในลาภสักการะ โลกธรรมแปด เป็นผู้สำรวมระวังในศีลาจารวัตรจนตลอดชีวิต เป็นผู้บำเพ็ญประโยชน์โดยแท้จริง เป็นผู้ให้แต่เพียงอย่างเดียว แต่ไม่เป็นผู้ที่ชอบรับ ถึงรับมาให้ต่อเขาไปหมด เงินทองท่านไม่ยินดี ลาภยศสรรเสริญไม่อยู่ติด ความเป็นอยู่เรียบง่าย เมตตาเพื่อนมนุษย์ผู้ตกยาก จึงทำให้พระกิตติคุณของท่านขจรขจายมาถึงปัจจุบันนี้<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    หลวงพ่อรับสมณศักดิ์ <O:p></O:p>
    เนื่องจากคุณงามความดีของหลวงพ่อเดิมเป็นที่เลื่องลือมาก ทางการจึงกราบบังคมทูลขอพระราชทานสมณศักดิ์เป็นที่ "พระครูนิวาสธรรมขันธ์" เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เนื่องในวันเฉลิมพระชนม์พรรษา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการนี้ท่านมิได้ไปรับพัดยศเอง คงให้ลูกศิษย์ลูกหาที่เคารพนับถือ เช่นนายอำเภอ และกรรมการวัดไปรับมา เมื่อมาถึงสถานีรถไฟมีการแห่แหนสัญญาบัตรพัดยศ ด้วยขบวนช้างม้า ตลอดจนพ่อค้าประชาชน และลูกศิษย์ลูกหาที่พากันชื่นชมยิรดี หลวงพ่อท่านรับพัดเก็บไว้ในที่อันสมควรแล้ว จึงให้ศิษย์ทั้งหลายรดน้ำท่านเป็นการแสดงมุทิตาจิต และแจกของที่ระลึกให้ทั่วกัน และย้ำให้ลูกศิษบ์ลูกหาทราบทั่วกันว่า ท่านยินดีที่ได้มาแสดงมุทิตาจิตกัน แต่สำหรับท่านแล้วคือ พระครูเดิม หรือหลวงพ่อเดิม หรือหลวงปู่เดิม ของลูกศิษย์เหมือนเดิมที่เคยมา พระครูนิวาสธรรมขันธ์ นั้นคือ สัญญาบัตรพัดยศเท่านั้น และหลวงพ่อเองก็ดำเนินชีวิตตามธรรมดาของท่านไป โดยมิได้ใยดีในลาภยศแต่ประการใด<O:p></O:p>
    ต่อมาท่านพระครูพยุหานุศาสก์ (สิทธิ์) เจ้าคณะอำเภอพยุหะคีรีมรณภาพลง ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอว่างลง ทางการได้ประชุมเจ้าคณะสงฆ์ประจำจังหวัดเพื่อเสาะหาพระครูสัญญาบัตรที่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งแทน มติของที่ประชุมเป็นเอกฉันท์ให้ ท่านพระครูนิวาสธรรมขันธ์ เจ้าอาวาสวัดหนองโพผู้เชี่ยวชาญในพระเวทย์และมีพระกิตติคุณเป็นที่เลื่อมใส ของบรรดาผู้คนทั้งในและนอกจังหวัดเป็นเจ้าคณะอำเภอพยุหคีรีต่อไป เมื่อท่านดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอแล้วก็ได้สร้างความเจริญเป็นเอนกประการ<O:p></O:p>
    ท่านได้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอมาไม่นานนัก พระอุปัชฌาย์ในเขตพยุหะคีรีไม่เพียงพอกับจำนวนกุลบุตรที่จะอุปสมบท และหลวงพ่อเดิมมีอายุพรรษาและความเคารพนับถืออย่างกว้างขวาง ทำให้ทางคณะสงฆ์มอบตำแหน่งพระอุปัชฌาย์ให้กับหลวงพ่อ เพื่อทำการอุปสมบทกุลบุตร นับแต่ท่านได้รับตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านก็ได้รับนิมนต์ไปนั่งอุปัชฌาย์ไม่เว้นว่าง ทำให้หลวงพ่อเหน็ดเหนื่อยเป็นอันมาก และให้การอุปสมบทตั้งแต่พ่อมาจนถึงลูกก็มี ด้วยท่านอายุพรรษากาลมาก มาได้รับการยกเป็นกิติศักดิ์เมื่อมีอายุได้ ๙๐ ปี เพราะท่านชราภาพ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p><O:p></O:p>
    ล่วงรู้วาระสุดท้าย <O:p></O:p>
    ทุกคนก็พยายามประคับประคองหลวงพ่อเพื่อให้หลวงพ่ออยู่เป็นมิ่งขวัญให้นานที่สุดถึง ๑๐๐ ปีได้ยิ่งดีใหญ่ แต่หลวงพ่อก็ยังแข็งแรงดีไม่มีวี่แววจะเจ็บป่วยแต่อย่างใด ทุกคนก็ไม่มีใครคาดคิดว่าหลวงพ่อจะจากไปในเวลาอันใกล้นี้<O:p></O:p>
    ต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๔ หลวงพ่อมีอายุได้ ๙๒ ปี พอดี วันหนึ่งหลวงพ่อได้เรียกกรรมการวัดตลอดจนถึงญาติโยมที่ใกล้ชิด ของท่านมาประชุมพร้อมกัน เมื่อทุกคนมาพร้อมหน้ากันแล้วหลวงพ่อได้กล่าวขึ้นในที่ประชุมปรารภถึงมรณสัญญาณท่าน ซึ่งทำให้ทุกคนตะลึง แต่ก็ไม่มีใครเชื่อว่าหลวงพ่อจะมรณภาพเร็วถึงปานฉะนี้ หลวงพ่อมีคำขอร้องต่อผู้ที่มาร่วมประชุมว่า<O:p></O:p>
    ๑. ขอมอบภารกิจในการบริหารกิจการของวัดหนองโพ ตามที่หลวงพ่อได้กระทำมา (เป็นการปลงบริขาร) ให้กับหลวงพ่อ (ต่อมาได้เป็นท่านพระครูนิพันธ์ธรรมคุต) เจ้าอาวาสวัดหนองโพในปัจจุบัน ให้ดูแลรักษาแทนทานให้มีความเจริญรุ่งเรืองต่อไป ขอให้ชาวบ้านช่วยกันอุปถัมย์หลวงพ่อน้อยช่วยกิจการวัดตามเคยที่ช่วยท่านมา เพื่อให้เกิดความประสานสามัคคีระหว่างวัดและชาวบ้าน<O:p></O:p>
    ๒. หลวงพ่อจะมรณภาพในไม่ช้านี้แล้ว อย่าเสียใจในมรณะกรรมของท่าน เพราะเป็นกฎแห่งกรรม ขอให้ช่วยกันต่อโลงศพให้หลวงพ่อเพื่อจะได้ไม่เป็นธุระรบกวน หรือยุ่งยากจัดหาเมื่อท่านมรณภาพไปแล้ว คนข้างหลังจะได้ไม่เดือดร้อน เพราะการเตรียมล่วงหน้าเป็นการไม่ประมาทในการทั้งปวง ดังพระดำรัสแห่งพระบรมศาสดา<O:p></O:p>
    ๓. ให้ช่วยกันสร้างเมรุเพื่อพระราชทานเพลิงศพหลวงพ่อ ตามกำลังศรัทธาของญาติโยม เวลาท่านมรณภาพแล้วจะได้สะดวก ไม่ต้องมาทำทีหลังให้เป็นการเร่งรีบและเหน็ดเหนื่อย โดยใช้เหตุสำหรับข้อสามนี้กรรมการวัดคิดว่า หลวงพ่อคงจะไม่มรณภาพในเวลาอันใกล้ จึงมิได้สั่งจัดทำเสียพร้อมกับโลงศพ จนหลวงพ่อแสดงอาการว่าจะมรณภาพแน่แล้วจึงสิ่งทำเมรุนั้นจึงเสร็จ หลังจากหลวงพ่อมรณภาพไปแล้ว<O:p></O:p>
    <O:p></O:p><O:p></O:p>
    มรณสัญญาณมาถึงหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    จากเดือนมกราคมเรื่อยมาจนถึงเดือนเมษายน งานสงกรานต์สรงน้ำหลวงพ่อผ่านไปแล้ว หลวงพ่อก็ยังแข็งแรง และยังคงไปเป็นประธานสร้างพระอุโบสถวัดอินทรารามดังกล่าวแล้ว ท่านเคยพูดแย้มๆ ว่างานนี้จะเป็นงานสุดท้ายในชีวิตของหลวงพ่อ เพื่อสนองคุณพระอุปัชฌาย์ ล่วงมาถึงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๔ ตรงกับวันอังคาร ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๖ หลวงพ่อกลับมาจากการเป็นประธานในการก่อสร้างพระอุโบสถวัดอินทรารามถึงวัดหนองโพ ท่านก็มีอาการโรคลมปัจจุบันเข้าแทรกทำให้หลวงพ่อถึงกับล้มหมอนนอนเสื่อลุกไปไหนมาไหนไม่ได้ และมีอาการโรคชราเข้าแทรกด้วย ลูกศิษย์ลูกหาญาติโยมได้จัดหาหมอทั้งแผนโบราณมารักษาอาการของท่าน ผู้คนอื่นทราบข่าวหลวงพ่อเดิมอาพาธหนักก็พากันมาเยี่ยมท่านมีอาการทรงกับทรุดอยู่ตลอดเวลาไม่ดีขึ้น จนกระทั่ง<O:p></O:p>
    หลวงพ่อเดิมมรณภาพ <O:p></O:p>
    ถึงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ตรงกับวันอังคาร แรม ๒ ค่ำ เดือน ๖๖ อาการของหลวงพ่อทรุดหนักลงตั้งแต่ตอนเช้า ญาติโยมเข้าพยาบาลอยู่ใกล้ชิด มีเหตุการณ์ประหลาดเกิดขึ้นคือ วันนั้นช้างของหลวงพ่อที่ทำงานอยู่ในป่าได้ดิ้นรนไม่ยอมทำงาน ทั้งๆ ที่ควาญช้างก็บังคับอย่างเต็มความสามารถเพื่อให้มัยทำงาน แต่มันกลับหันหลังมุ่งหน้าเดินจะมาวัดหนองโพ ควาญช้างซึ่งทราบอาการของหลวงพ่อดีก็ปรึกษากันแล้วเลิกงาน ช้างก็พากันเดินดุ่มมาวัดหนองโพอย่างรีบร้อน มาถึงวัดก็ตอนที่หลวงพ่ออาพาธหนักหมดทางเยียวยารักษาแล้ว มันหงอยเหงาอย่างเห็นได้ชัดไม่ยอมกินหญ้ากินอะไรทั้งนั้น คงวงเวียนอยู่ใกล้ๆ กับกุฏิที่หลวงพ่อนอนป่วยอยู่ไม่ได้ส่งเสียงร้องให้ได้ยินถึงหลวงพ่อ เหมือนมันจะรู้วาระมรณะภาพของหลวงพ่อว่า หลวงพ่อชุบเลี้ยงมันมาดุจบิดานั้นกำลังจะจากมันไปแล้ว อย่างไม่มีวันกลับมาอีกในเวลาอันใกล้นี้<O:p></O:p>
    อภินิหารครั้งสุดท้ายของหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    ในวันนั้นหลวงพ่อมีอาการเพียบหนัก แต่สติของหลวงพ่อยังดีอยู่ คงหลับตานอนอยู่กับที่พร้อมกับเจริญภาวนาเป็นลำดับ สลับกับการลืมตาถามเวลาว่าเวลาเท่าใดแล้วเป็นระยะๆ ไป ไม่แสดงอาการกระสับกระสายให้เห็นเลย คงมีความอดทนอย่างเยียมยอดสมกับเป็นนักปฏิบัติธรรมอย่างเยี่ยม เป็นเวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. หลวงพ่อลืมตาแล้วถามเวลาเป็นครั้งสุดท้าย คราวนี้หลวงพ่อถามว่าน้ำในสระทั้งสองลูกมีระดับเป็นอย่างไร พอกินกันไหม เพราะหลวงพ่อไม่ได้ออกไปตรวจตรา จึงเป็นห่วง ด้วยน้ำในสระนั้นคือเส้นโลหิตใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตของชาวบ้านหนองโพด้วยเป็นที่ดอนกันดารน้ำ หลวงพ่อพยายามขยายสระให้กว้างขึ้นเป็นลำดับเพื่อเก็บกักน้ำ ผู้ดูแลท่านจึงตอบว่าแห้งขอดลงไปแล้วเพราะฝนไม่ตกมาเป็นระยะนานแล้งมาก ถ้าฝนไม่ตกลงมาในวันสองวันนี้น่ากลัวจะอดน้ำกันแน่นอน เมื่อหลวงพ่อได้ยินดังนั้นก็ไม่กล่าวว่าอะไร สองมือของท่านประคองขึ้นไว้บนหน้าอกของท่าน นัยน์ตาของท่านหลับสนิทมองเห็นทรวงอกของท่านสะท้อนขึ้นลงแผ่วๆ ในลักษณะการเข้าสมาธิเป็นลำดับ ทันใดนั้นเหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้นเป็นที่เล่าสืบกันมาถึงทุกวันนี้<O:p></O:p>
    กล่าวคือฟ้าที่สว่างไม่มีเค้าแห่งเมฆฝนเลยแม้แต่น้อย กลับมืดครึ้มลงเป็นลำดับด้วยเมฆฝนที่ตั้งเค้า พร้อมกับสายลมกระโชกแรงขึ้น และฝนก็พร่างพรมลงจากฟากฟ้าดุจเทพมนต์ ตกหนักมากตกอย่างไม่ลืมหูลืมตา เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในระยะเวลาอันสั้นไม่มีใครคิดเหนือความคาดหมายว่าฟ้าที่สว่างๆ ไม่มีวี่แววฝนนั้นจะมีเมฆฝนและฝนตกลงมาก่อนเลย ฝนตกลงมาจนกระทั่งน้ำไหลลงไปในสระได้ครึ่งสระทั้งสองลูกเป็นระยะเวลาประมาณ ๓๐ นาที ฝนจึงเริ่มขาดเม็ดลง พร้อมกันนั้นลมหายใจของหลวงพ่อก็ขาดหายไปพร้อมกับสายฝนเป็นอัศจรรย์ อันเป็นสิ่งที่แสดงว่าหลวงพ่อได้บันดาลให้ฝนตกลงมาเพื่อต่อชีวิตชาวหนองโพไม่ให้อดน้ำ โดยอาศัยบารมีศีลอันบริสุทธิ์ของท่าน และอำนาจฌาณสมาบัติอันสูงส่งของหลวงพ่อเป็นอภินิหารครั้งสุดท้าย ที่หลวงพ่อแสดงให้เห็นประจักษ์ชัดถึงบารมีของท่าน ด้วยเมตตาบารมีที่ท่านมีต่อสัตว์ผู้ยากคือชาวหนองโพที่จะอดน้ำกันเดือดร้อน นี่แหละเมตตาธรรมของท่านแม้ชีวิตท่านจวนจะดับสูญแล้วยังอุตส่าห์เป็นห่วงเป็นใยในผู้ที่อาศัยบารมีท่าน ร่มโพธิ์ใหญ่ในวัดหนองโพล้มลงแล้ว ร่มโพธิ์ที่เคยให้ร่มเงากับศานุศิษย์ได้ถูกพายุแห่งการเวลาพัดกระโชกจนถึงการล่มสลาย เป็นที่น่าเสียดาย<O:p></O:p>
    เมื่อผู้ใกล้ชิดจับชีพจรดูจนแน่ใจว่าหลวงพ่อมรณภาพจึงแจ้งข่าว กับผู้อยู่ข้างนอกและต่อกันออกไปจนถึงในหมู่บ้าน วงปี่พาทย์ประจำวัดประโคมขึ้นพร้อมกัน กลองเภรีประจำวัดลั่นตูมขึ้นรัวกระหน่ำ ช้างของหลวงพ่อส่งเสียงร้องกันลั่น ราวแผ่นดินจะถล่นทะลาย น้ำตาไหลพรากทุกตัว ต่างเดินมาเอางวงจับหน้ากุฏิของหลวงพ่อเหนี่ยวไว้ร้องระรัวอาลัย ในมรณะกรรมของหลวงพ่อที่เคยดูแลมันมาแต่น้อยคุ้มใหญ่<O:p></O:p>
    ขณะนั้นชาวบ้านกำลังง่วงอยู่กับงานในหมู่บ้าน และละแวกใกล้เคียง จู่ๆ ก็ได้ยินเสียงกลองเภรีดังรัวขึ้น และมีเสียงบอกกันต่อๆไปว่า หลวงพ่อมรณภาพไปแล้ว เท่านั้นเองทุกคนทิ้งงานทุกอย่าง เหมือนนัดกันไว้พากันรีบมาที่วัดหนองโพ เพื่อแสดงความไว้อาลัยในการมรณภาพของหลวงพ่อ ที่เป็นหญิงก็ร้องไห้โฮอย่างไม่อายใคร ที่เป็นชายใจแข็งก็ได้แต่ตาแดงๆ แต่ในส่วนลึกของหัวใจอาลัยหลวงพ่อยิ่งนัก ทางคณะกรรมการได้จัดศพหลวงพ่อไว้ในกุฏิเพื่อจะจัดพิธีอาบน้ำศพขึ้นในวันรุ่นขึ้น ชาวบ้านก็ได้แต่เข้าไปกราบศพของหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    คณะกรรมการได้จัดกุฏิของหลวงพ่อได้จัดกุฏิของหลวงพ่อให้เข้ารูป พร้อมทั้งค้นดูของหลวงพ่อมีอะไรเป็นของมีค่า ที่จะเก็บรักษาไว้เป็นสมบัติของวัดต่อไป จากการค้นตรวจสอบทั่วทุกตารางนิ้ว ไม่ปรากฏว่ามีของมีค่าหรือเงินทองอยู่แม้แต่สลึก ในย่ามของหลวงพ่อก็ไม่มี มีอยู่สิ่งเดียวที่นายธนิต อยู่โพธิ์ กล่าวว่ามีค่าที่สุดของหลวงพ่อก็คือคัมภีร์ใบลานเก่าๆ เล่มเล็กๆ ที่หลวงพ่อใช้อ่านสอนตัวเองอยู่จนตลอดชีวิต จากการนี้เองทำให้ทุกคนประจักษ์ความจริงว่า หลวงพ่อเป็นพระแท้ เป็นพระที่เป็นผู้ให้ไม่สะสม ไม่ติดในลาภสักการะและโลกธรรมแปด <O:p></O:p>
    เป็นพระพุทธบุตรที่ซื่อตรงต่อคำสั่งสอนแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดา และดำเนินตามทางมรรคผลนิพพาน ที่องค์พระบรมครูวางไว้ทุกประการ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    จีวรไม่พอครองศพหลวงพ่อ <O:p></O:p>
    วันรุ่งขึ้นคณะกรรมการได้จัดพิธีอาบน้ำศพหลวงพ่อขึ้น เมื่อเริ่มพิธีผู้คนหลั่งใหลมาจากทั่วสารทิศ มีทั้งผู้แทนจังหวัดนครสวรรค์ นายเกษม บุญศรี ตลอดพ่อค้า คหบดีชาวกรุงเทพฯ และชาวบ้านใกล้เคียง เมื่อรดน้ำศพแล้วต่างพากันแย่งชิงฉีกจีวรที่ครองศพหลวงพ่ออยู่ คณะกรรมการสุดจะโต้แย้งเพราะผู้คนมากมายก็ได้แต่ขอเวลาเปลี่ยนจีวรหลวงพ่อใหม่ กี่ชุดๆ ก็ไม่พอเพราะคนรุมฉีกทิ้งกันเพื่อเอาไปเป็นที่ระลึก จนในที่สุดเห็นว่าจีวรจะไม่พอครององค์หลวงพ่อจึงได้ประกาศห้ามฉีก จึงสามารถรักษาจีวรให้ครองติดศพหลวงพ่อได้ แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาที่ประชาชนมีต่อหลวงพ่อแม้ยามที่มรณภาพไปแล้ว<O:p></O:p>
    น้ำอาบศพเป็นน้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์<O:p></O:p>
    ในตอนรดน้ำศพหลวงพ่อเดิมนั้น พวกหนุ่มๆ และคนแก่ ที่นับถือองค์หลวงพ่อได้พากันไปอยู่ใต้ถุนศาลาอาบน้ำศพหลวงพ่อ พร้อมทั้งเอาขัน เอาแก้ว หรือบางคนก็แหงนหน้ารองน้ำอาบศพหลวงพ่อ ต่างน้ำมนต์กลืนกินเข้าไปอย่างไม่รังเกียจด้วยศรัทธาสูงสุด ข้างบนก็ฉีกทิ้งจีวรหลวงพ่อให้ชุลมุน ข้างล่างก็รองน้ำศพให้วุ่นหมด ลานวัดคนเดินกันเกลื่อนแทบจะหลีกกันไม่พ้น เหมือนหลวงพ่อจะแสดงปาฏิหารย์คนที่กินน้ำอาบศพหลวงพ่อกลุ่มหนึ่ง เมื่อเดินออกมานอกวัด ก็เจอกับอริอีกกลุ่มหนึ่งพอดี ได้เข้าตะลุมบอนกันเป็นพักใหญ่ กลุ่มที่กินน้ำอาบศพหลวงพ่อไม่เป็นอะไรเลยเป็นแต่หัวร้างข้างโน บวม ปูด ส่วนอริหัวร้างข้างแตกกันเป็นระนาว พอข่าวแพร่ คนก็ไปกินน้ำอาบศพหลวงพ่อกันอีก ท่านผู้อ่านก็ลองวาดภาพดูก็แล้วกันครับว่าเป็นอย่างไร นี่แหละครับบารมีหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    ต้องมีเวรยามรักษาศพหลวงพ่อ<O:p></O:p>
    หลังจากรดน้ำศพก็ได้มีการตั้งศพหลวงพ่อสวดพระอภิธรรม มีเจ้าภาพจองกันยาวยืดจนครบร้อยวันในวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๔๙๔ และได้เก็บศพของหลวงพ่อไว้เพื่อรอพิธีพระราชทานเพลิงศพ ในตอนนี้ได้มีผู้ศรัทธาในหลวงพ่อต้องการได้อัฐิของหลวงพ่อเดิม ได้พยายามลอบเข้าไปเพื่อจะดึงอัฐิของหลวงพ่อก่อนที่ยังมิได้พระราชทานเพลิง ด้วยความเลื่อมใสถือเป็นเครื่องรางของขลัง กรรมการวัดรู้เข้าก็ต้องจัดเวรยามดูแล เพราะไม่เช่นนั้นกว่าจะพระราชทานเพลิงศพแล้วสรีระของหลวงพ่อคงไม่เหลืออยู่แน่ เป็นที่น่าเศร้าสลดใจของผู้ที่จะได้รู้ข่าวจึงได้ป้องกันไว้ก่อนจะสายไป ครั้นจะห้ามเสียเลยก็จะเป็นการทำลายน้ำใจผู้ศรัทธาจึงหาทางอื่นที่นุ่มนวลคือเฝ้าระวังกันเอา
    อัฐเถ้าอังคารคนแย่งกันทั้งยังร้อนระอุ<O:p></O:p>
    ในวันพระราชทานเพลิงศพหลวงพ่อ มีมหรสพทุกชนิด ที่ลูกศิษย์ลูกหาพากันมาแสดง เพื่อเป็นการไว้อาลัยหลวงพ่อเป็นครั้งสุดท้าย เมื่อไฟพระราชทานมาถึงแล้ว ประธานในพิธีได้จุดไฟพระราชทานต่อจากนั้น ก็เป็นขบวนของชาวบ้านร้านตลาด ตั้งแต่บ่ายยันค่ำคนไม่ลดน้อยลงไปเลย ใส่ไฟแล้วก็ไม่ไปไหนคงซุ่มอยู่แถวนั้น เมื่อไฟพระราชทานได้เผาสรีระของหลวงพ่อมอดไหม้ไปแล้วท่ามกลางฝนที่โปรยปรายลงมา เป็นละอองเบาๆก่อความเย็นให้แก่ผู้คนที่เบียดเสียดเยียดยัดกัน กรรมการวัดได้ขึ้นเก็บอัฐิและเถ้าอังคารส่วนหนึ่ง เพื่อนำไปบรรจุในเจดีย์เพื่อเป็นที่เคารพสักการะของชาวบ้านหนองโพ และผู้ได้มาเยี่ยมเยือนในภายหลัง เมื่อคณะกรรมการเก็บอัฐิแล้ว ไฟยังไม่ทันจะหายร้อน บรรดาชาวบ้านและผู้เคารพนับถือ ต่างก็เฮละโลกันขึ้นไปบนเมรุเบียดเสียดเยียดยัดกัน เหยียบกัน ล้มคว่ำคะมำหงาย เพื่อแย่งชิงอัฐิของหลวงพ่อเดิม เพื่อนำไปสักการะบูชา ที่แข็งแรงไปถึงก่อนก็ได้อัฐิไป ที่มาทีหลังหรือเข้าไม่ถึงก็ได้เถ้าอังคาร ตามแต่จะเก็บได้ หลังจากคลื่นฝูงชนซาลงไปแล้วปรากฏว่าไม่มีอัฐิ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>หรือเถ้าอังคารของหลวงพ่อติดเมรุอยู่เลยแม้แต่น้อย เป็นที่น่าอัศจรรย์ว่าทั้งๆ ที่ไฟบนเมรุยังร้อนอยู่ แต่คนที่แย่งชิงกันนั้น ไม่มีใครมือพองเพราะความร้อนของเมรุแม้แต่น้อยเลย<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    สรุปความท้ายประวัติ <O:p></O:p>
    สิ้นไปแล้วดวงประทีปแห่งหนองโพ หลวงพ่อผู้ทรงความเมตตากรุณา หลวงพ่อผู้เป็นผู้ให้แต่อย่างเดียว ถึงแม้จะรับบ้างแต่ก็ให้ไปจนหมดสิ้น หลวงพ่อผู้ช่วยทุกข์ของสัตว์ผู้ยากที่บากหน้ามาหา หลวงพ่อที่ถือเอาพระพุทธพจน์เป็นหลักประจำจนตลอดชีวิต หลวงพ่อผู้มีเวทย์มนต์อันเรืองรองด้วยพระพุทธคุณหลวงพ่อ ผู้สรรสร้างความเจริญทั้งในพระพุทธศาสนาและแก่ชาวบ้าน หลวงพ่อผู้ถือคติทำดีกว่าพูด และผลงานคือข้อพิสูจน์คุณงามความดีของท่าน สิ่งที่ยังคงเหลือเตือนใจคนรุ่นหลังให้ระลึกถึงท่านคือ คุณงามความดีคำสั่งสอน รูปหล่อครั้งเมื่อมีชีวิตอยู่ ตลอดจนวัตถุมงคลที่ท่านปลุกเสกแจกให้กับศิษยานุศิษย์ที่คุ้มครองป้องกันชีวิตพวกเขาเหล่านั้นมาจนทุกวันนี้ ดังจะได้พูดถึงในภาควัตถุมงคลตอนต่อไปจากนี้ เพื่อท่านผู้อ่านทั้งหลายที่สนใจจะได้เสาะหาและเก็บไว้เพื่อเป็นที่ระลึกถึงท่าน และป้องกันชีวิตของท่านจากเหล่าอันธพาลมิจฉาชีพ ตลอดจนอริราชศัตรูที่รุกรานอยู่รอบบ้านเมืองของเราในปัจจุบัน<O:p></O:p>

    วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ เวลา ๑๗.๔๕ น. สิริรวมอายุ
    ได้ ๙๒ ปี พรรษาที่ ๗๐
    <O:p></O:p>
    [​IMG]
    หลวงพ่อชาตะ เมื่อวันพุธ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๓ ปีวอก จ.ศ. ๑๒๒๒


    ตรงกับวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๐๓
    <O:p></O:p>


    หลวงพ่อมรณภาพเมื่อวันอังคาร แรม ๒ ค่ำ เดือน ๖
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • derm-jpg.JPG
      derm-jpg.JPG
      ขนาดไฟล์:
      105.8 KB
      เปิดดู:
      1,094
    • derm1-jpg.JPG
      derm1-jpg.JPG
      ขนาดไฟล์:
      18.4 KB
      เปิดดู:
      759
    • rclwzofh5.jpe
      rclwzofh5.jpe
      ขนาดไฟล์:
      86.6 KB
      เปิดดู:
      150

แชร์หน้านี้

Loading...